THAI VI Index
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 2
ดัชนีตลาดหุ้นนอกจากจะเป็นตัวเลขสะท้อนภาพเศรษฐกิจแล้ว
มันยังเป็นตัวเลขทางจิตวิทยาด้วย
เมื่อมันเบี่ยงเบนสูงมันจะทำให้เกิดความกล้าและกลัวได้มาก
Hedge Fund เข้าใจเรื่องนี้ได้ดี
ซื้อตัวไหนจะให้ดัชนีขึ้น ขายตัวไหนจะให้ดัชนีตก
เขาดันดัชนีขึ้น คนก็เกิดความกล้า มาไล่ซื้อหุ้น
เขาทุบดัชนีลง คนก็เกิดความกลัว มาแย่งกันขายหุ้น
ไม่มีหุ้นตัวใดไม่ถูกปั่น หรือพยายามจะปั่น
ไม่มีตลาดหุ้นใดไม่ถูกปั่น หรือพยายามจะปั่น
ดัชนีที่เบี่ยงเบนสูง จะอ่อนแอสูง และถูกปั่นได้ง่าย
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 3
ดูเอกสารจากคุณ jaychou แล้วก็เห็นว่า THAI VI Index เป็นดัชนีราคา (price weighted index)
ผมว่าดีนะครับ... เพราะประเทศไทยมี TISCO Index เป็นดัชนีราคาเพียงตัวเดียว
ผมว่าดีนะครับ... เพราะประเทศไทยมี TISCO Index เป็นดัชนีราคาเพียงตัวเดียว
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 4
เมื่อก่อนนี้โบรเกอร์ก็มีดัชนีเป็นของตัวเองคือ BCI (book club index)
ซึ่งเป็นดัชนีมูลค่าตลาด... market capitalization weighted index)
หลังจากเกิดวิกฤติปี 2537 ..แพแตกทั้งประเทศ ..ก็เลยไม่เห็นรายงานต่อ
ซึ่งเป็นดัชนีมูลค่าตลาด... market capitalization weighted index)
หลังจากเกิดวิกฤติปี 2537 ..แพแตกทั้งประเทศ ..ก็เลยไม่เห็นรายงานต่อ
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 5
ผมลองเอาราคาหุ้นมาแจกแจงดู
เฉพาะหุ้นสามัญมีทั้งหมด 405 ตัว (ไม่รวม rehabco)
ของตลาดหลักทรัพย์เขาใช้ rehabco มาคำนวณด้วย
ถ้ารวม rehabco ก็เป็นหุ้นสามัญ 499 ตัว
เฉพาะหุ้นสามัญมีทั้งหมด 405 ตัว (ไม่รวม rehabco)
ของตลาดหลักทรัพย์เขาใช้ rehabco มาคำนวณด้วย
ถ้ารวม rehabco ก็เป็นหุ้นสามัญ 499 ตัว
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 6
แก้คำผิด ที่ถูกคือ 449 ตัว
ของตลาดหลักทรัพย์เขาใช้ rehabco มาคำนวณด้วย
ถ้ารวม rehabco ก็เป็นหุ้นสามัญ 449 ตัว
ของตลาดหลักทรัพย์เขาใช้ rehabco มาคำนวณด้วย
ถ้ารวม rehabco ก็เป็นหุ้นสามัญ 449 ตัว
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 7
ลองตรวจสอบคุณสมบัติของกลุ่มราคาหุ้นทั้ง 405 ตัว(29 เมษายน 2548)
ได้ดังรายละเอียดดังต่อไปนี้..........
ราคาหุ้น 405 ตัว
Mean 26.8298
standard deviation 51.3151
CV 1.9126
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 8
จากนั้นผมก็เอาราคาหุ้นมาเรียงลำดับจากทากไปหาน้อย
แล้วตัดหุ้นที่มีราคาสูงสุดออก 20 ตัว
"""แล้วก็เลือกตัวรองๆลงไปมา 320 ตัวเพื่อจะนำมาสร้างทำเป็นดัชนี"""
หุ้นราคาต่ำที่เหลือจากเลือก... ถูกตัดทิ้งไป 65 ตัว
วิธีนี้จะทำให้ได้กลุ่มข้อมูลที่มี stanadard deviation และ CV ต่ำลง
คุณสมบัติของกลุ่มข้อมูลหุ้น 320 ตัวเป็นดังนี้คือ
Mean 20.2349
stanadrd deviation 18.8907
CV 0.9335
จะเห็นว่า mean ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก
แต่ Standard deviation และ CV ต่ำกว่ากันมาก
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 9
สร้างดัชนีจำเป็นต้องมีค่า constant
ซึ่งตัว divisor ที่ใช้ในการคำนวณ DJIA30 และ NIKKEI225 ก็คือค่า constant นั่นเอง
แต่เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการแตกพาร์ หรือเพิ่มทุน
เพื่อที่จะทำให้ตัวเลขของดัชนีมีความต่อเนื่อง ไม่กระโดด เมื่อหุ้นบางตัวมีการแตกพาร์หรือเพิ่มทุ่น
ค่า constant เริ่มต้นของ THAI VI Index คือ 49.4195519191002 (29 เมษายน 2548)
เมื่อนำ constant ไปคูณกับ mean(20.2340) ก็จะทำให้ได้ค่า 1,000 พอดี
นั่นคือดัชนีเริ่มต้นเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2548 ของ THAI VI Index คือ 1,000 จุด
(เท่ากับ SET100 Index ของตลาดหลักทรัพย์พอดี)
ซึ่งตัว divisor ที่ใช้ในการคำนวณ DJIA30 และ NIKKEI225 ก็คือค่า constant นั่นเอง
แต่เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการแตกพาร์ หรือเพิ่มทุน
เพื่อที่จะทำให้ตัวเลขของดัชนีมีความต่อเนื่อง ไม่กระโดด เมื่อหุ้นบางตัวมีการแตกพาร์หรือเพิ่มทุ่น
ค่า constant เริ่มต้นของ THAI VI Index คือ 49.4195519191002 (29 เมษายน 2548)
เมื่อนำ constant ไปคูณกับ mean(20.2340) ก็จะทำให้ได้ค่า 1,000 พอดี
นั่นคือดัชนีเริ่มต้นเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2548 ของ THAI VI Index คือ 1,000 จุด
(เท่ากับ SET100 Index ของตลาดหลักทรัพย์พอดี)
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 10
นี่คือ THAI VI Index ช่วง 8 วันที่ผ่านมา
date open high low close volume
20050429 1000.9 1006.9 992.57 10000 1048145800
20050503 1000.8 1011.5 997.6 1007.7 896224200
20050504 1008.9 107.5 1002.8 1012.8 1116009200
20050506 1086.9 1097 1083.2 1093.5 2486124800
20050509 1020.9 1026.4 1012.8 1018.9 1848279700
20050510 1017.6 1023.5 1008.7 1014.5 1970663300
20050511 1011.9 1020.1 1008.1 1016.4 1777509300
20050512 1018.8 1026.5 1012.8 1019.5 1693006900
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 13
เอาใหม่ ... อันนี้น่าจะถูกต้อง(พิมพ์ด้วยมือ ผิดประจำ)
date...........open.....high.....low......close.....volume
20050429 1000.9 1006.9 992.57 1000 1048145800
20050503 1000.8 1011.5 997.6 1007.7 896224200
20050504 1008.9 1017.5 1002.8 1012.8 1116009200
20050506 1012.9 1023.1 1009.4 1019.7 1833312100
20050509 1020.9 1026.4 1012.8 1018.9 1848279700
20050510 1017.6 1023.5 1008.7 1014.5 1970663300
20050511 1011.9 1020.1 1008.1 1016.4 1777509300
20050512 1018.8 1026.5 1012.8 1019.5 1693006900
แก้ไขล่าสุดโดย indexthai เมื่อ ศุกร์ พ.ค. 13, 2005 9:57 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
-
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 16
งงนิดหน่อยครับ Divisor นี่ต้องเป็น Divisor ประจำแต่ละหุ้น เพื่อปรับราคาหุ้นให้เป็นดัชนี หรือว่าใช้ Divisor ตัวเดียว กับค่าเฉลี่ยของราคาหุ้นทุกตัว
ถ้าใช้ divisor ตัวเดียว เวลาคำนวณค่าเฉลี่ย หุ้นราคาน้อยๆ จะไม่โดนหารเกลี้ยงจนหมดน้ำหนักเหรอครับ
ถ้าใช้ divisor ตัวเดียว เวลาคำนวณค่าเฉลี่ย หุ้นราคาน้อยๆ จะไม่โดนหารเกลี้ยงจนหมดน้ำหนักเหรอครับ
-
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 17
ผมมองโดยวิธีแบ่งเงินครับ คิดว่าแบ่งเงินลงทุนเท่าๆกันในแต่ละหุ้น
สมมุติลงทุนใน 50 หุ้น หุ้นละ 1000 บาท ...หุ้นราคา 200 ก็ซื้อได้ 5 หุ้น (divisor ของหุ้นตัวนี้คือ 5) .. หุ้นราคา 2 บาท ซื้อได้ 500 หุ้น (divisor ของตัวนี้คือ 500)
สุดท้าย เอามูลค่าของหุ้นแต่ละตัวในพอร์ตนี้มาเฉลี่ย ก็จะได้ดัชนีตัวหนึ่ง
พอหุ้นราคา 200 แตกพาร์ ก็คูณdivisor ขึ้นตามอัตราส่วนที่แตกพาร์ ก็จะได้มูลค่าของหุ้นเท่าเดิมครับ
อาจจะได้ผลไม่เหมือนกัน รบกวนพี่ดัชนีไทยแนะนำความแตกต่างของสองวิธีด้วยครับ
ขอบคุณครับ
สมมุติลงทุนใน 50 หุ้น หุ้นละ 1000 บาท ...หุ้นราคา 200 ก็ซื้อได้ 5 หุ้น (divisor ของหุ้นตัวนี้คือ 5) .. หุ้นราคา 2 บาท ซื้อได้ 500 หุ้น (divisor ของตัวนี้คือ 500)
สุดท้าย เอามูลค่าของหุ้นแต่ละตัวในพอร์ตนี้มาเฉลี่ย ก็จะได้ดัชนีตัวหนึ่ง
พอหุ้นราคา 200 แตกพาร์ ก็คูณdivisor ขึ้นตามอัตราส่วนที่แตกพาร์ ก็จะได้มูลค่าของหุ้นเท่าเดิมครับ
อาจจะได้ผลไม่เหมือนกัน รบกวนพี่ดัชนีไทยแนะนำความแตกต่างของสองวิธีด้วยครับ
ขอบคุณครับ
- DIYB
- Verified User
- โพสต์: 47
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 19
ผมไม่เข้าใจสถิติครับ ค่า SD, CV แสดงอะไร ถ้าต่ำส่งผลยังไงindexthai เขียน:
จากนั้นผมก็เอาราคาหุ้นมาเรียงลำดับจากทากไปหาน้อย
แล้วตัดหุ้นที่มีราคาสูงสุดออก 20 ตัว
"""แล้วก็เลือกตัวรองๆลงไปมา 320 ตัวเพื่อจะนำมาสร้างทำเป็นดัชนี"""
หุ้นราคาต่ำที่เหลือจากเลือก... ถูกตัดทิ้งไป 65 ตัว
วิธีนี้จะทำให้ได้กลุ่มข้อมูลที่มี stanadard deviation และ CV ต่ำลง
คุณสมบัติของกลุ่มข้อมูลหุ้น 320 ตัวเป็นดังนี้คือ
Mean 20.2349
stanadrd deviation 18.8907
CV 0.9335
จะเห็นว่า mean ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก
แต่ Standard deviation และ CV ต่ำกว่ากันมาก
ทำไมถึงเลือกกรอบข้อมูลที่ 320 ตัว
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 20
Mean = ราคาเฉลี่ย คือเอาประชากรหุ้น (ราคา) ทุกตัวบวกกัน หารจำนวนตัว
SD = Standard Diviation = ความเบี่ยงเบนหรือ "ความห่าง" ของ
ราคาแต่ละตัว (รากที่สองของผลรวมของผลต่างระหว่าง Mean กับราคา ยกกำลังสอง)
CV = Coefficient Variation = SD / Mean
โดยรวมคือ ถ้า SD แคบๆ CV ต่ำๆ การจะทำให้ mean สูงขึ้น ต้องทำให้ "ราคา"
หลายๆ ตัวสูงขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง การทำให้ sample อันเดียว (หุ้นตัวเช่น)
วิ่งขึ้นมากๆ จะไม่ทำให้ mean (หรือ index) ขึ้นเร็ว หรือลงเร็วในทางกลับกัน
ในทางทฤษฎีคือ ปั่นยากขึ้นนั่นเอง (แต่ในทางปฏิบัติ ก็ทำได้อยู่ดี)
ตอบคำถามคุณนักดูดาว
เป็นเทคนิกเดียวกับกันให้คะแนนจากกรรมการตัดสินที่แฟร์ครับ เพื่อไม่ให้
กรรมการคนนึงหรือสองคน bias แกล้งให้คะแนนคนนึงมากๆ อีกคนนึงน้อยๆ
ถ้าเอาคะแนนของทุกคนมาเฉลี่ย จะทำให้การ bias เกิดผลต่อคะแนนรวม
แต่ถ้าตัด highest กับ lowest ออกไป คะแนนที่เหลือจะ fair กว่า
ซึ่งถ้าหลายๆ คน bias ก็ไม่แฟร์อยู่ดี แต่ทำได้ยากกว่าในทางทฤษฎี
SD = Standard Diviation = ความเบี่ยงเบนหรือ "ความห่าง" ของ
ราคาแต่ละตัว (รากที่สองของผลรวมของผลต่างระหว่าง Mean กับราคา ยกกำลังสอง)
CV = Coefficient Variation = SD / Mean
โดยรวมคือ ถ้า SD แคบๆ CV ต่ำๆ การจะทำให้ mean สูงขึ้น ต้องทำให้ "ราคา"
หลายๆ ตัวสูงขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง การทำให้ sample อันเดียว (หุ้นตัวเช่น)
วิ่งขึ้นมากๆ จะไม่ทำให้ mean (หรือ index) ขึ้นเร็ว หรือลงเร็วในทางกลับกัน
ในทางทฤษฎีคือ ปั่นยากขึ้นนั่นเอง (แต่ในทางปฏิบัติ ก็ทำได้อยู่ดี)
ตอบคำถามคุณนักดูดาว
หุ้นราคาน้อยๆ โดนตัดออกไปหมดแล้วครับ เช่นเดียวกับหุ้นราคามากๆหุ้นราคาน้อยๆ จะไม่โดนหารเกลี้ยงจนหมดน้ำหนักเหรอครับ
เป็นเทคนิกเดียวกับกันให้คะแนนจากกรรมการตัดสินที่แฟร์ครับ เพื่อไม่ให้
กรรมการคนนึงหรือสองคน bias แกล้งให้คะแนนคนนึงมากๆ อีกคนนึงน้อยๆ
ถ้าเอาคะแนนของทุกคนมาเฉลี่ย จะทำให้การ bias เกิดผลต่อคะแนนรวม
แต่ถ้าตัด highest กับ lowest ออกไป คะแนนที่เหลือจะ fair กว่า
ซึ่งถ้าหลายๆ คน bias ก็ไม่แฟร์อยู่ดี แต่ทำได้ยากกว่าในทางทฤษฎี
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 21
ข้อดีข้อเสีย
ดัชนีแบบที่คุณ JC ว่าปกติใช้เป็น index ในการวัด performance ของ
ผู้จัดการกองทุนได้ ข้อดีคือ "ถ้า" ราคาของจุดเริ่มต้นเป็น fair value
ของหุ้นทุกตัวที่เอามาคำนวณ ดัชนีจะสะท้อนการเติบโตโดยรวมได้ดี
แต่ถ้ามีหุ้น over value มากๆ หรือ under value มากๆ ตอนเริ่มดัชนี
ในระยะยาวดัชนีจะไม่ได้สะท้อนภาพรวม แต่จะสะท้อนภาพของหุ้น
ที่ over value หรือ under value ตอนเริ่มต้นมากกว่า
ดัชนีของคุณดัชนีไทยมีข้อดีคือแทบจะไม่ bias เลย เพราะใช้ตัวที่
เกาะกลุ่มตรงกลางเป็นหลัก การปั่นดัชนีจะทำยากเพราะต้องทำ
กับหุ้นหลายๆ ตัวพร้อมๆ กันถึงจะเห็นผล (เสียเวลา แต่อาจะไม่
ได้ใช้เงินมาก)
ดัชนี SET Index ในทางทฤษฎีโอเค เพราะให้น้ำหนักกับหุ้นที่
market cap สูงมากกว่า market cap ต่ำ ซึ่งในตลาดที่ efficient
สุดๆ และ free float ใกล้เคียงกันหมด จะสะท้อนภาพตลาดได้ดี
มาก เพราะการปั่นดัชนีทำได้ยาก เนื่องจากต้องใช้เงินจำนวนมาก
ไปสวนทางกับความคิดของคนส่วนใหญ่ในตลาด
เป็นที่น่าเศร้าว่าตลาดหุ้นไทยนอกจากไม่ efficient แล้ว free float
ยังมีปัญหา เช่น ptt มี free float ไม่มากนัก เพราะจาก market cap
ทั้งหมด ไปอยู่ในมือกระทรวงการคลังเสียเยอะ การซื้อเพราะให้
ขึ้นแรงๆ ทำได้ง่ายกว่าความเป็นจริง (เทียบกับ market cap)
ถ้าจะให้ดี ผมว่า SET Index ควรปรับให้คิด weighted จาก free float
แทนที่จะเป็น market capitalization
ดัชนีแบบที่คุณ JC ว่าปกติใช้เป็น index ในการวัด performance ของ
ผู้จัดการกองทุนได้ ข้อดีคือ "ถ้า" ราคาของจุดเริ่มต้นเป็น fair value
ของหุ้นทุกตัวที่เอามาคำนวณ ดัชนีจะสะท้อนการเติบโตโดยรวมได้ดี
แต่ถ้ามีหุ้น over value มากๆ หรือ under value มากๆ ตอนเริ่มดัชนี
ในระยะยาวดัชนีจะไม่ได้สะท้อนภาพรวม แต่จะสะท้อนภาพของหุ้น
ที่ over value หรือ under value ตอนเริ่มต้นมากกว่า
ดัชนีของคุณดัชนีไทยมีข้อดีคือแทบจะไม่ bias เลย เพราะใช้ตัวที่
เกาะกลุ่มตรงกลางเป็นหลัก การปั่นดัชนีจะทำยากเพราะต้องทำ
กับหุ้นหลายๆ ตัวพร้อมๆ กันถึงจะเห็นผล (เสียเวลา แต่อาจะไม่
ได้ใช้เงินมาก)
ดัชนี SET Index ในทางทฤษฎีโอเค เพราะให้น้ำหนักกับหุ้นที่
market cap สูงมากกว่า market cap ต่ำ ซึ่งในตลาดที่ efficient
สุดๆ และ free float ใกล้เคียงกันหมด จะสะท้อนภาพตลาดได้ดี
มาก เพราะการปั่นดัชนีทำได้ยาก เนื่องจากต้องใช้เงินจำนวนมาก
ไปสวนทางกับความคิดของคนส่วนใหญ่ในตลาด
เป็นที่น่าเศร้าว่าตลาดหุ้นไทยนอกจากไม่ efficient แล้ว free float
ยังมีปัญหา เช่น ptt มี free float ไม่มากนัก เพราะจาก market cap
ทั้งหมด ไปอยู่ในมือกระทรวงการคลังเสียเยอะ การซื้อเพราะให้
ขึ้นแรงๆ ทำได้ง่ายกว่าความเป็นจริง (เทียบกับ market cap)
ถ้าจะให้ดี ผมว่า SET Index ควรปรับให้คิด weighted จาก free float
แทนที่จะเป็น market capitalization
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 23
การใช้ divisor ก็คงแล้วแต่จุดประสงค์กระมังครับjaychou เขียน:ผมมองโดยวิธีแบ่งเงินครับ คิดว่าแบ่งเงินลงทุนเท่าๆกันในแต่ละหุ้น
สมมุติลงทุนใน 50 หุ้น หุ้นละ 1000 บาท ...หุ้นราคา 200 ก็ซื้อได้ 5 หุ้น (divisor ของหุ้นตัวนี้คือ 5) .. หุ้นราคา 2 บาท ซื้อได้ 500 หุ้น (divisor ของตัวนี้คือ 500)
สุดท้าย เอามูลค่าของหุ้นแต่ละตัวในพอร์ตนี้มาเฉลี่ย ก็จะได้ดัชนีตัวหนึ่ง
พอหุ้นราคา 200 แตกพาร์ ก็คูณdivisor ขึ้นตามอัตราส่วนที่แตกพาร์ ก็จะได้มูลค่าของหุ้นเท่าเดิมครับ
อาจจะได้ผลไม่เหมือนกัน รบกวนพี่ดัชนีไทยแนะนำความแตกต่างของสองวิธีด้วยครับ
ขอบคุณครับ
แต่การใช้ divisor ในการคำนวณ DJIA30 มีหลักดังนี้
สมมุติว่ามีราคาหุ้น 3 ตัว คือ 10 20 300 นำมาคำนวนดัชนี (N=3)
mean คือ (10+20+300)/3 = 110
วันต่อมา หุ้นราคา 300 มีการแตกพาร์ จาก 10 เป็น 1
ดังนั้นราคาหุ้น 300 ก็จะเหลือ 30 บาท
ลองคำนวณดัชนีใหม่
mean คือ (10+20+30)/3 =20
จะเห็นว่าตัวเลขมันไม่ต่อเนื่องนะครับ จาก 110 ลงมาที่ 20
วิธีการก็คือ.. ต้องหาตัวหารใหม่
(10+20+30)/D = 110
D = 0.5455
นั่นคือในการคำนวณดัชนีครั้งต่อไป กลุ่มตัวเลขจะไม่ถูกหารด้วย 3(N) แล้ว
แต่จะถูกหารด้วย D(divisor) แทน
คือ (10+20+30)/0.5455 = 110
พอจะเข้าใจนะครับ
ดังนั้นที่เราเห็นว่า DJIA30 ก็ไม่ใช่เอาผลรวมของราคาหุ้นทั้ง 30 ตัวมาหารด้วย 30
แต่มันจะถูกหารด้วยตัว D (divisor)แทน
ทั้งนี้เพราะหุ้น 30 ตัวใน DJIA30 มีการแตกพาร์บ้าง เพิ่มทุนบ้าง
ทำให้ราคาเปลี่ยนไปมาก
ทุกครั้งที่มีการแตกพาร์ เพิ่มทุน ลดทุน เอาตัวใหม่เข้าไปคำนวณ ถอดตัวเก่าออกจากการคำนวณ ก็จะต้องคำนวณหา D ใหม่ทุกครั้ง
:lol:
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 24
:lol:
Contant เริ่มต้นของ THAI VI Index = 49.4195519191002
มันไม่ใช่ D(divisor) แต่มันเป็นตัวคูณ M(mutiple)
ต่อไป... หากหุ้นบางตัวหรือหลายตัวถูกกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงราคา
ก็จะต้องคำนวณหา M ใหม่เช่นเดียวกัน
:lol:
Contant เริ่มต้นของ THAI VI Index = 49.4195519191002
มันไม่ใช่ D(divisor) แต่มันเป็นตัวคูณ M(mutiple)
ต่อไป... หากหุ้นบางตัวหรือหลายตัวถูกกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงราคา
ก็จะต้องคำนวณหา M ใหม่เช่นเดียวกัน
:lol:
แก้ไขล่าสุดโดย indexthai เมื่อ เสาร์ พ.ค. 14, 2005 8:02 am, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 25
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 26
เป็นวิธีคิดที่แปลกดีครับ เพราะการแตกพาร์ จะทำให้ดัชนีเคลื่อนไหว
แตกต่างกับการไม่แตกพาร์ เมื่อราคาเปลี่ยนไป
ขอยกตัวอย่างดังนี้
วันก่อนแตกพาร์ หุ้นราคา 10, 20, 300 ดัชนี = 330/3 = 110
กรณีที่ (1)
ก่อนแตกพาร์ หุ้นตัวที่สามราคาขึ้นไป 10% ที่เหลือเท่าเดิม
จะได้ (10+20+330)/3 = 120
หลังแตกพาร์ หุ้นตัวสามราคาขึ้นไป 10% เหมือนกัน ที่เหลือเท่าเดิม
จะไ (10+20+33)/0.545454545 = 115.5
จริงๆ แล้ว index ควรจะขึ้นเท่ากัน เพราะการแตกพาร์ไม่มีผลต่อ
ราคาที่แท้จริงของหุ้น
หรืออย่างกรณีที่ (2)
ก่อนแตกพาร์ หุ้นตัวที่หนึ่งราคาขึ้นไป 60% ที่เหลือเท่าเดิม
จะได้ (16+20+330)/3 = 112
หลังแตกพาร์ หุ้นตัวสามราคาขึ้นไป 10% เหมือนกัน ที่เหลือเท่าเดิม
จะไ (16+20+33)/0.545454545 = 121
ผมว่าที่ DJII กับ N225 ทำแบบง่ายๆ เช่นนี้ เพราะสมัยก่อนไม่มี
Excel
ในขณะที่วิธีของคุณ JC แยก divisor (หรือ multiplier) ของ
หุ้นแต่ละตัวออกไปเลย ซึ่ง multiplier สามารถปรับไปตาม
การแตกพาร์ ลดทุน เพิ่มทุน ปันผล ปันผลเป็นหุ้น ฯลฯ ได้
โดยเสรี ซึ่งวิธีการดังกล่าวมีส่วนคล้าย market capitalization
อยู่ในระดับหนึ่ง
เช่นก่อนแตกพาร์ ( 10x0.33 + 20x0.33 + 300x0.333 ) = 110
หลังแตกพาร์ multiplier ของหุ้นตัวที่สามจะเปลี่ยนเป็น 3.333
ได้กรณีที่หนึ่ง (หุ้นตัวที่สามขึ้น 10%)
ก่อนแตกพาร์ = (10x0.33 + 20x0.33 + 330x0.33) = 120
หลังแตกพาร์ = (10x0.33 + 20x0.33 + 33x3.333) = 120
ได้กรณีที่หนึ่ง (หุ้นตัวแรกขึ้น 60%)
ก่อนแตกพาร์ = (16x0.33 + 20x0.33 + 330x0.33) = 112
หลังแตกพาร์ = (16x0.33 + 20x0.33 + 33x3.333) = 112
แตกต่างกับการไม่แตกพาร์ เมื่อราคาเปลี่ยนไป
ขอยกตัวอย่างดังนี้
วันก่อนแตกพาร์ หุ้นราคา 10, 20, 300 ดัชนี = 330/3 = 110
กรณีที่ (1)
ก่อนแตกพาร์ หุ้นตัวที่สามราคาขึ้นไป 10% ที่เหลือเท่าเดิม
จะได้ (10+20+330)/3 = 120
หลังแตกพาร์ หุ้นตัวสามราคาขึ้นไป 10% เหมือนกัน ที่เหลือเท่าเดิม
จะไ (10+20+33)/0.545454545 = 115.5
จริงๆ แล้ว index ควรจะขึ้นเท่ากัน เพราะการแตกพาร์ไม่มีผลต่อ
ราคาที่แท้จริงของหุ้น
หรืออย่างกรณีที่ (2)
ก่อนแตกพาร์ หุ้นตัวที่หนึ่งราคาขึ้นไป 60% ที่เหลือเท่าเดิม
จะได้ (16+20+330)/3 = 112
หลังแตกพาร์ หุ้นตัวสามราคาขึ้นไป 10% เหมือนกัน ที่เหลือเท่าเดิม
จะไ (16+20+33)/0.545454545 = 121
ผมว่าที่ DJII กับ N225 ทำแบบง่ายๆ เช่นนี้ เพราะสมัยก่อนไม่มี
Excel
ในขณะที่วิธีของคุณ JC แยก divisor (หรือ multiplier) ของ
หุ้นแต่ละตัวออกไปเลย ซึ่ง multiplier สามารถปรับไปตาม
การแตกพาร์ ลดทุน เพิ่มทุน ปันผล ปันผลเป็นหุ้น ฯลฯ ได้
โดยเสรี ซึ่งวิธีการดังกล่าวมีส่วนคล้าย market capitalization
อยู่ในระดับหนึ่ง
เช่นก่อนแตกพาร์ ( 10x0.33 + 20x0.33 + 300x0.333 ) = 110
หลังแตกพาร์ multiplier ของหุ้นตัวที่สามจะเปลี่ยนเป็น 3.333
ได้กรณีที่หนึ่ง (หุ้นตัวที่สามขึ้น 10%)
ก่อนแตกพาร์ = (10x0.33 + 20x0.33 + 330x0.33) = 120
หลังแตกพาร์ = (10x0.33 + 20x0.33 + 33x3.333) = 120
ได้กรณีที่หนึ่ง (หุ้นตัวแรกขึ้น 60%)
ก่อนแตกพาร์ = (16x0.33 + 20x0.33 + 330x0.33) = 112
หลังแตกพาร์ = (16x0.33 + 20x0.33 + 33x3.333) = 112
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 27
วิธีคิดของตุณ CK ก็ ครับ
แยกเป็นรายละเอียดแต่ละตัวเลย
น่าจะมีคนทำออกมาบ้าง
ซึ่งผมว่าเป็นงานหนัก
ตัวไหนกำไรเพิ่ม.. ตัวไหนกำไรลด.. นำมาคิดหมด
แยกเป็นรายละเอียดแต่ละตัวเลย
น่าจะมีคนทำออกมาบ้าง
ซึ่งผมว่าเป็นงานหนัก
ตัวไหนกำไรเพิ่ม.. ตัวไหนกำไรลด.. นำมาคิดหมด
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 28
มีจ่ายปันผลเป็นเงิน
ต่อไปก็มีจ่ายปันผลเป็นใบหุ้น
และก็มีการแจก warrant ด้วย ฯลฯ
ต้องคิดให้ละเอียด
เอามาคิดให้หมด
ต่อไปก็มีจ่ายปันผลเป็นใบหุ้น
และก็มีการแจก warrant ด้วย ฯลฯ
ต้องคิดให้ละเอียด
เอามาคิดให้หมด
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 29
หากต้องรายงานดัชนีในวันแตกพาร์
การคำนวณหา D หรือ M จะต้องคำนวณก่อนที่จะเปิดตลาด
เช่นเมื่อหุ้นตัวใดตัวหนึ่งแตกพาร์วันนี้
เช้านี้ก่อนเปิดตลาดก็ต้องคำนวณหา D หรือ M มาใช้ก่อน
การคำนวณหา D หรือ M จะต้องคำนวณก่อนที่จะเปิดตลาด
เช่นเมื่อหุ้นตัวใดตัวหนึ่งแตกพาร์วันนี้
เช้านี้ก่อนเปิดตลาดก็ต้องคำนวณหา D หรือ M มาใช้ก่อน
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
-
- Verified User
- โพสต์: 583
- ผู้ติดตาม: 0
THAI VI Index
โพสต์ที่ 30
ทำดัชนีให้ดูเป็นตัวอย่าง....
ดัชนีนี้จะเอาหรือไม่เอาก็ได้นะครับ
ท่านใดจะเอาดัชนีมานำเสนอที่นี่เองก็ได้นะครับ
จะได้หาวิธีส่งข้อมูลให้
ดัชนีนี้จะเอาหรือไม่เอาก็ได้นะครับ
ท่านใดจะเอาดัชนีมานำเสนอที่นี่เองก็ได้นะครับ
จะได้หาวิธีส่งข้อมูลให้
จะมีดัชนีที่เบี่ยงเบนต่ำเท่าใดอยู่ในระบบก็ตาม
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป
หากยังคงมีดัชนีที่เบี่ยงเบนสูงอยู่ในระบบด้วย
ความเสียหายก็จะเกิดกับระบบตลอดไป