ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
- thaloengsak
- Verified User
- โพสต์: 2716
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 31
ต้องดูนโยบายภาครัฐช่วงที่เขาศึกษาไว้หน่อยนะครับ
ผมคิดว่าข้อมูลในหนังสือนั้นมันเป็นช่วงก่อนที่เขาจะยกเลิกการผูกค่าเงินดอลลาร์กับทองคำนะครับ
ในความคิดของผม จึงมองว่าต่อไปนี้โอกาสเกิดภาวะเงินฝืดจะเกิดได้ยากกว่าภาวะเงินเฟ้อได้มาก
และถ้าเศรษฐกิจไม่ดีก็ต้องมีการเพิ่มเงินในระบบเป็นตัวเร่งเงินเฟ้ออีกนะครับ
เห็นแย้ง หรือเสริมเช่นไร ทักท้วงผมได้เลย
ผมยินดีแลกเปลี่ยนความเห็นครับ
ผมคิดว่าข้อมูลในหนังสือนั้นมันเป็นช่วงก่อนที่เขาจะยกเลิกการผูกค่าเงินดอลลาร์กับทองคำนะครับ
ในความคิดของผม จึงมองว่าต่อไปนี้โอกาสเกิดภาวะเงินฝืดจะเกิดได้ยากกว่าภาวะเงินเฟ้อได้มาก
และถ้าเศรษฐกิจไม่ดีก็ต้องมีการเพิ่มเงินในระบบเป็นตัวเร่งเงินเฟ้ออีกนะครับ
เห็นแย้ง หรือเสริมเช่นไร ทักท้วงผมได้เลย
ผมยินดีแลกเปลี่ยนความเห็นครับ
ลงทุนเพื่อชีวิต
-
- Verified User
- โพสต์: 1155
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 32
หลักทีผมใช้คือสามัญสำนึก หุ้นก็คือสินค้าเงินก็คือสินค้า
เมื่อเงินเฟ้อแปลว่าค่าเงินตก เมื่อเอาหุ้นเทียบกับเงินหุ้นต้องขึ้น
แต่สิ่งที่คุณ chaitorn โพสต์เป็นสถิติเป็นสิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
มีหลักฐานเป็นตัวเลขอ้างอิงชัดเจน
ถ้าอ่านสิ่งที่ คุณchaitorn โพสต์ ให้ละเอียดจะมีประโยชน์
ในการลงทุนมาก
ผมขอนำความรู้ที่คุณchaitorn โพสต์ มาแสดงความเห็นเพิ่มเติมดังนี้
1. เมื่อ ศก ดีเงินก็จะเริ่มเฟ้อ หุ้นก็ขึ้น
2. หุ้นยิ่งขึ้นเงินก็ยิ่งเฟ้อ ความเฟ้อจะรุนแรงขึ้น พร้อมกับหุ้นที่ขึ้นไป
3. เมื่อเงินเฟ้อมากๆก็จะเกิดฟองสบู่คือภาวะที่หุ้น อสังหา โภคภัณฑ์
ราคาสูงมาก จนเริ่มทำรายธุรกิจต่าง ใครๆก็สนใจแต่เก็งกำไร
4. เมื่อ ศก ฟองสบู่ถึงจุดวิกฤติ ก็จะเกิดต้มยำกุ้ง(สำหรับประเทศเล็ก เช่น
ประเทศไทย ก็คือ อสังหา หุ้น คนไทยเจ้ง ดอกเบี้ยขึ้นมหาศาล )
แต่ถ้าเกิดกับ USA ก็จะเป็นเหมือน supprime คือ หุ้น อสังหา ลดไป
มากแต่ไม่เจ้ง ดอกเบี้ยลด)
ก่อนปี 2540 หุ้นและที่ดินขึ้นเร็วมาก(ทาวเอ้าส์จองปุ๊บ อีก 7 วันขายกำไร
5%-10% วางเงินจองประมาณ 5% แปลว่ากำไร 100%-200%จากเงิน
ลงทุน
สิ่งที่ได้จากคุณchaitorn คือ ถ้าเงินเฟ้อมากๆหายนะทาง ศก กำลังจะมา
ส่วนจะเป็นกี่% ก็ขอให้อ่านสิ่งที่คุณchaitorn โพสต์แล้วประเมินเอา
เมื่อเงินเฟ้อแปลว่าค่าเงินตก เมื่อเอาหุ้นเทียบกับเงินหุ้นต้องขึ้น
แต่สิ่งที่คุณ chaitorn โพสต์เป็นสถิติเป็นสิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
มีหลักฐานเป็นตัวเลขอ้างอิงชัดเจน
ถ้าอ่านสิ่งที่ คุณchaitorn โพสต์ ให้ละเอียดจะมีประโยชน์
ในการลงทุนมาก
ผมขอนำความรู้ที่คุณchaitorn โพสต์ มาแสดงความเห็นเพิ่มเติมดังนี้
1. เมื่อ ศก ดีเงินก็จะเริ่มเฟ้อ หุ้นก็ขึ้น
2. หุ้นยิ่งขึ้นเงินก็ยิ่งเฟ้อ ความเฟ้อจะรุนแรงขึ้น พร้อมกับหุ้นที่ขึ้นไป
3. เมื่อเงินเฟ้อมากๆก็จะเกิดฟองสบู่คือภาวะที่หุ้น อสังหา โภคภัณฑ์
ราคาสูงมาก จนเริ่มทำรายธุรกิจต่าง ใครๆก็สนใจแต่เก็งกำไร
4. เมื่อ ศก ฟองสบู่ถึงจุดวิกฤติ ก็จะเกิดต้มยำกุ้ง(สำหรับประเทศเล็ก เช่น
ประเทศไทย ก็คือ อสังหา หุ้น คนไทยเจ้ง ดอกเบี้ยขึ้นมหาศาล )
แต่ถ้าเกิดกับ USA ก็จะเป็นเหมือน supprime คือ หุ้น อสังหา ลดไป
มากแต่ไม่เจ้ง ดอกเบี้ยลด)
ก่อนปี 2540 หุ้นและที่ดินขึ้นเร็วมาก(ทาวเอ้าส์จองปุ๊บ อีก 7 วันขายกำไร
5%-10% วางเงินจองประมาณ 5% แปลว่ากำไร 100%-200%จากเงิน
ลงทุน
สิ่งที่ได้จากคุณchaitorn คือ ถ้าเงินเฟ้อมากๆหายนะทาง ศก กำลังจะมา
ส่วนจะเป็นกี่% ก็ขอให้อ่านสิ่งที่คุณchaitorn โพสต์แล้วประเมินเอา
Blueplanet
- champ_st
- Verified User
- โพสต์: 533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 34
ดูหนังจีนแก้เบื่อ 555RONNAPUM เขียน:เปลี่ยนคำถามเล่นๆว่า
แล้วถ้าหุ้นตก คุณจะทำอะไร
"สิ่งที่ถูกต้องก็คือถูกต้อง แม้ไม่มีใครทำสิ่งนั้น สิ่งที่ผิดก็คือผิด แม้ทุกคนจะทำสิ่งนั้น" ศาสตราจารย์สังเวียน อินทรวิชัย
-
- Verified User
- โพสต์: 100
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 35
เิงินเฟ้อแบบอ่อนๆ เป็นผลดีต่อศก.และหุ้น เพราะทำให้ศก.ขยายตัว
แต่ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าเงินเฟ้อจะขึ้นไปสู่ระดับรุนแรง ซึ่งเป็นแบบ cost push คือต้นทุนสูงขึ้น
ด้านน้ำมันราคาก็ขึ้น ส่วนภูมิอากาศโลกแปรปรวน อาหารก็แพงขึ้น
เมื่อของแพงแทบจะยกแผง อำนาจซื้อของประชาชนลด
อำนาจซื้อลด แล้วบริษัทต่างๆจะขายของได้มากเท่าเดิมได้ยังไงล่ะครับ
รวมถึงต้นทุนของกิจการก็ขยับตามวัตถุดิบไปด้วยแล้ว
อาจทำให้กำไรลดลงอย่างมากก็เป็นได้
แต่ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าเงินเฟ้อจะขึ้นไปสู่ระดับรุนแรง ซึ่งเป็นแบบ cost push คือต้นทุนสูงขึ้น
ด้านน้ำมันราคาก็ขึ้น ส่วนภูมิอากาศโลกแปรปรวน อาหารก็แพงขึ้น
เมื่อของแพงแทบจะยกแผง อำนาจซื้อของประชาชนลด
อำนาจซื้อลด แล้วบริษัทต่างๆจะขายของได้มากเท่าเดิมได้ยังไงล่ะครับ
รวมถึงต้นทุนของกิจการก็ขยับตามวัตถุดิบไปด้วยแล้ว
อาจทำให้กำไรลดลงอย่างมากก็เป็นได้
-
- Verified User
- โพสต์: 270
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 36
วันนี้ดร.นิเวศน์ พูดที่วิทยุ 96.5 กับคุณสุนันท์เรื่องเงินเฟ้อ ใครทำlink เป็นเอามาไว้ที่นี่ก็ดีครับ
ผมฟังดร.พูดว่า ระยะสั้นๆ อาจจะเป็นผลดีกับบริษัทที่สามารถต้านเงินเฟ้อได้ แต่ระยะยาว
ไม่เป็นผลดีกับทุกบริษัทครับ ทำนองนี้ครับ
ผมฟังดร.พูดว่า ระยะสั้นๆ อาจจะเป็นผลดีกับบริษัทที่สามารถต้านเงินเฟ้อได้ แต่ระยะยาว
ไม่เป็นผลดีกับทุกบริษัทครับ ทำนองนี้ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2938
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 38
ถ้าเงินเฟ้อ เพิ่มขึ้นมากๆ ผมว่ามีหุ้นบางกลุ่มที่ไม่สามารถจะต้านทานไหวแน่ๆ
คงต้องมาดูมั้งว่าเงินเฟ้อมันเพิ่มขึ้นจากส่วนไหน
เงินเฟ้อเคยขึ้นสูงเพราะราคาน้ำมัน หุ้นก็ไม่ตก แต่มันขึ้นแค่กลุ่มน้ำมัน
แต่พอเวลาผ่านไปนานๆหุ้นก็ตก เพราะราคาน้ำมันสูงเกินไป ราคาน้ำมันจึงต้องลดลง
และเงินก็เฟ้อน้อยลง เวียนไปวนมา
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ย ก็มีโอกาสสูงตาม ก็คงต้องมาดูรายกลุ่มอีกแหละว่ากลุ่มไหนมันกระทบมากน้อยแค่ไหน เช่นกลุ่มอสังหา
เห็นบางโบรกเชียร์ว่ากลุ่มธนาคารดี ผมก็งงเหมือนกันว่าดียังไง ในเมื่อต้นทุนการดำเนินงานสูงขึ้น
ไงก็ต้องมาดูผลตอบแทนการลงทุนอีก ว่ามันคุ้มไม๊
โดยส่วนตัวถ้าเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นสูงๆ ดอกเบี้ยเงินฝากถึงซัก5% เมื่อไรที่ราคาหุ้นระดับนี้
ผมคงไม่ลังเลใจที่จะเอาเงินไปฝากแบง หรือพันธบัตร มากขึ้น
ง่ายๆก็คือ ถ้าเงินเฟ้อ มันสูงขึ้นมากๆ จนอัตราดอกเบี้ยมันสูงมาก ที่การลงทุนไม่คุ้ม
หรือคนไม่อยากใช้เงิน เอาเงินมาฝากดีกว่า แบงเจ๊งก็ไม่จ่ายคืนอีก (สงสัยเอาฝังดินไว้ดีกว่า)
ถึงตอนนั้น ตลาดคงวายมั้ง
ถ้าดอกเบี้ยระยะสั้นสูงกว่าระยะยาว อาจเป็นเหตุนึงที่ว่าคนไม่นำเงินมาลงทุนแล้ว
เล่นเอาไปฝากระยะสั้นกันอย่างเดียว คงมีผลต่อสภาวะลงทุนโดยรวม
ผมก็คิดเช่นนั้น
โดยส่วนตัวก็คิดว่าถ้าเงินเฟ้อสูงมากๆจะมีผลกระทบต่อกำลังซื้อ
บริษัทที่cost plusได้จริงๆแล้วผู้บริโภค ยังจำเป็นต้องใช้สินค้า แบบว่าไงก็ต้องใช้ คิดว่ามีไม่เยอะมาก เช่นน้ำประปา
คงต้องมาดูมั้งว่าเงินเฟ้อมันเพิ่มขึ้นจากส่วนไหน
เงินเฟ้อเคยขึ้นสูงเพราะราคาน้ำมัน หุ้นก็ไม่ตก แต่มันขึ้นแค่กลุ่มน้ำมัน
แต่พอเวลาผ่านไปนานๆหุ้นก็ตก เพราะราคาน้ำมันสูงเกินไป ราคาน้ำมันจึงต้องลดลง
และเงินก็เฟ้อน้อยลง เวียนไปวนมา
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ย ก็มีโอกาสสูงตาม ก็คงต้องมาดูรายกลุ่มอีกแหละว่ากลุ่มไหนมันกระทบมากน้อยแค่ไหน เช่นกลุ่มอสังหา
เห็นบางโบรกเชียร์ว่ากลุ่มธนาคารดี ผมก็งงเหมือนกันว่าดียังไง ในเมื่อต้นทุนการดำเนินงานสูงขึ้น
ไงก็ต้องมาดูผลตอบแทนการลงทุนอีก ว่ามันคุ้มไม๊
โดยส่วนตัวถ้าเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นสูงๆ ดอกเบี้ยเงินฝากถึงซัก5% เมื่อไรที่ราคาหุ้นระดับนี้
ผมคงไม่ลังเลใจที่จะเอาเงินไปฝากแบง หรือพันธบัตร มากขึ้น
ง่ายๆก็คือ ถ้าเงินเฟ้อ มันสูงขึ้นมากๆ จนอัตราดอกเบี้ยมันสูงมาก ที่การลงทุนไม่คุ้ม
หรือคนไม่อยากใช้เงิน เอาเงินมาฝากดีกว่า แบงเจ๊งก็ไม่จ่ายคืนอีก (สงสัยเอาฝังดินไว้ดีกว่า)
ถึงตอนนั้น ตลาดคงวายมั้ง
ถ้าดอกเบี้ยระยะสั้นสูงกว่าระยะยาว อาจเป็นเหตุนึงที่ว่าคนไม่นำเงินมาลงทุนแล้ว
เล่นเอาไปฝากระยะสั้นกันอย่างเดียว คงมีผลต่อสภาวะลงทุนโดยรวม
ผมก็คิดเช่นนั้น
โดยส่วนตัวก็คิดว่าถ้าเงินเฟ้อสูงมากๆจะมีผลกระทบต่อกำลังซื้อ
บริษัทที่cost plusได้จริงๆแล้วผู้บริโภค ยังจำเป็นต้องใช้สินค้า แบบว่าไงก็ต้องใช้ คิดว่ามีไม่เยอะมาก เช่นน้ำประปา
เฝ้าดูไป โดยใจที่เป็นกลาง
-
- Verified User
- โพสต์: 2938
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 39
ส่วนเงินเฟ้อระดับไหน ที่เรียกว่าสูง จนกระทบหนักๆ ผมเองก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ส่วนตัวคงดูผลตอบแทนของเงินฝากแบง และพันธบัตรต่างๆเป็นเกณฑ์ความพอใจ
หรือ ถ้ามีหุ้นที่มันถูกมากๆ คุ้มพอจะเสี่ยงลงทุนได้ ก็คงลงทุนไปตามสภาพ
ส่วนตัวคงดูผลตอบแทนของเงินฝากแบง และพันธบัตรต่างๆเป็นเกณฑ์ความพอใจ
หรือ ถ้ามีหุ้นที่มันถูกมากๆ คุ้มพอจะเสี่ยงลงทุนได้ ก็คงลงทุนไปตามสภาพ
เฝ้าดูไป โดยใจที่เป็นกลาง
- กล้วยไม้ขาว
- Verified User
- โพสต์: 1074
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 40
มานั่งลองคิดดู เงินเฟ้อแล้วจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง
ถ้าทั้งโลกมีเงินเพิ่มขึ้น -> โลกเป็นระบบปิด
ปริมาณผลผลิตของโลกไม่ได้เพิ่มขึ้นเร็วเท่า -> ราคาสินค้าสูงขึ้น
ผู้ผลิต -> ขึ้นราคาสินค้า -> กำไรมากขึ้น -> เพิ่มการผลิต
ผู้บริโภค -> เงินเดือนขึ้นช้ากว่า -> ซื้อของได้น้อยลง
ปริมาณสินค้าในโลกมากขึ้น -> ความสามารถในการซื้อลดลง
สินค้าเริ่มขายไม่ออก -> ลดราคาแข่งกัน -> เจ๊งไปบ้าง -> ปริมาณสินค้าในระบบลดลง
เงินเดือนเริ่มขึ้น -> ราคาสินค้าเริ่มเหมาะสม -> กลับสู่สถานการณ์ปกติ
ผมว่าช่วงที่จะได้ผลดีมันเป็นแค่ช่วงสั้นๆ แต่ผลที่ไม่ดีหลังจากนั้นมันกินเวลานานกว่านะ
ถ้าทั้งโลกมีเงินเพิ่มขึ้น -> โลกเป็นระบบปิด
ปริมาณผลผลิตของโลกไม่ได้เพิ่มขึ้นเร็วเท่า -> ราคาสินค้าสูงขึ้น
ผู้ผลิต -> ขึ้นราคาสินค้า -> กำไรมากขึ้น -> เพิ่มการผลิต
ผู้บริโภค -> เงินเดือนขึ้นช้ากว่า -> ซื้อของได้น้อยลง
ปริมาณสินค้าในโลกมากขึ้น -> ความสามารถในการซื้อลดลง
สินค้าเริ่มขายไม่ออก -> ลดราคาแข่งกัน -> เจ๊งไปบ้าง -> ปริมาณสินค้าในระบบลดลง
เงินเดือนเริ่มขึ้น -> ราคาสินค้าเริ่มเหมาะสม -> กลับสู่สถานการณ์ปกติ
ผมว่าช่วงที่จะได้ผลดีมันเป็นแค่ช่วงสั้นๆ แต่ผลที่ไม่ดีหลังจากนั้นมันกินเวลานานกว่านะ
-
- Verified User
- โพสต์: 60
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 41
5-6 ปีที่ผ่านมาผมรู้สึกได้ถึงราคาสินค้าต่างๆสูงขึ้นมาก และคาดว่าเงินเฟ้อน่าจะยังคงพุ่งสูงขึ้นไปอีกเรื่อยๆ ในช่วงเวลาต่อจากนี้ไปอีกหลายปี เหตุหลักน่าจะมาจาก demand ของประเทศยักษ์ใหญ่อย่างจีนและอินเดียที่ประชากรเยอะ มีการกระจายรายได้ดีขึ้น คนทั้งโลกเลยต้องแย่งทรัพยากรที่มีจำกัดกัน ประกอบกับการปั๊มเงินมากเกินไปจากหลายๆประเทศ(ผมคิดว่าเกือบทุกประเทศในโลกเลยล่ะ) ถ้าหาหุ้นที่ได้ประโยชน์จากเงินเฟ้อเท่าที่คิดได้ก็น่าจะเป็น
1.พวกหนี้สินต่ำ เพราะถ้าหนี้สูงต้นทุนน่าจะสูงขึ้น จากมาตราการขึ้นดอกเบี้ยเพื่อสกัดเงินเฟ้อ
2.มีสินทรัพย์ในตัวที่สามารถขึ้นตามสภาวะเงินเฟ้อได้ดี ผมว่าบริษัทที่มีสินทรัพย์ประเภทนี้อยู่อาจไม่ต้องทำอะไรมาก รอให้สินทรัพย์นั้นราคาสูงแล้วค่อยมาทำประโยชน์ อาจดีกว่าที่จะไปดิ้นรนทำธุรกิจในตอนนี้เสียอีก
3.สามารถขายสินค้าที่สามารถปรับราคาตามเงินเฟ้อได้ โดยไม่กระทบกับจำนวนขายและ margin มากนัก
1.พวกหนี้สินต่ำ เพราะถ้าหนี้สูงต้นทุนน่าจะสูงขึ้น จากมาตราการขึ้นดอกเบี้ยเพื่อสกัดเงินเฟ้อ
2.มีสินทรัพย์ในตัวที่สามารถขึ้นตามสภาวะเงินเฟ้อได้ดี ผมว่าบริษัทที่มีสินทรัพย์ประเภทนี้อยู่อาจไม่ต้องทำอะไรมาก รอให้สินทรัพย์นั้นราคาสูงแล้วค่อยมาทำประโยชน์ อาจดีกว่าที่จะไปดิ้นรนทำธุรกิจในตอนนี้เสียอีก
3.สามารถขายสินค้าที่สามารถปรับราคาตามเงินเฟ้อได้ โดยไม่กระทบกับจำนวนขายและ margin มากนัก
-
- Verified User
- โพสต์: 1401
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 43
ชูจั๊กกะแร้เชียร์ครับ.. ขึ้นอยู่กับว่า มันจะเป็น cost push หรือ demand pull ถ้าเป็น cost push ต้นทุนราคาสูงขึ้น ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่ดี แต่ถ้าเป็น demand pull จะดึงให้มูลค่าหุ้นสูงขึ้น จนกว่าทุกอย่างจะเข้ารูปเข้ารอยJoga Bonito เขียน:เงินเฟ้อมีสองแบบครับ
Demand pull แบบที่เงินหมุนในระบบมากๆนั้นดีต่อธุรกิจส่วนใหญ่ครับเพราะคนมีเงินก็พยายามหาทางใช้จ่าย
แต่อีกแบบที่กลัวๆกัน คือ cost push ต้นทุนพุ่งครับ แบบนี้แน่นอนจะไปกดดันกำไรของบริษัทฯครับ เพราะต้นทุนจะเดิ่ม
เราวีไอเชื่ออยู่แล้วว่าราคาหุ้นวิ่งตามผลประกอบการ เพราะฉะนั้น เงินเฟ้อแบบนี้มันจะกดดันราคาหุ้นแน่นอนครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1155
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 44
แล้วเงินเฟ้อเนื่องจาก monney supply เพิ่มละ
มันคือ cost push หรือ demand pull
ผมว่า ที่เราเจอเงินเฟ้อครั้งนี้ เนื่อง จาก นโยบาย QE ของ USA
มันคือ cost push หรือ demand pull
ผมว่า ที่เราเจอเงินเฟ้อครั้งนี้ เนื่อง จาก นโยบาย QE ของ USA
Blueplanet
-
- Verified User
- โพสต์: 191
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 47
ถ้าคิดแบบง่ายๆ ถ้าผมมีรายได้ 15,000 บาทเท่าเดิม แต่ราคาสินค้าในการดำรงชีพเริ่มเพิ่มสูงขึ้น ผมก็คงต้องประหยัดมากขึ้น หรือไม่ถ้าประหยัดไม่ได้ผมก็ต้องเริ่มกู้มาบริโภค ซึ่งในอนาคตผลที่ได้ก็คือ สินค้าขายได้น้อยลง หรือไม่สินค้าขายได้เท่าเดิม แต่ยอดเงินกู้เพิ่มสูงขึ้น
แล้วถ้าผมมีรายได้เพิ่มขึ้น การบริโภคก็คงเหมือนเดิมหรืออาจจะบริโภคเพิ่มสูงขึ้นด้วย ดังนั้นผมคิดว่าก็ควรพิจารณาด้วยว่ารายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่? ถ้าเพิ่มขึ้นเท่ากับอัตราเงินเฟ้อ ผมก็ไม่คิดว่าจะมีผลกระทบอะไรกับตลาดหุ้น และน่าจะทำให้ราคาหุ้นเพิ่มขึ้นอีกเนื่องจากบริษัทต่างๆขายสินค้าได้ราคาเพิ่มขึ้น กำไรก็จะเพิ่มขึ้นไปด้วยนั่นเอง แต่ถ้ารายได้เพิ่มไม่เท่าเงินเฟ้อ ก็สะท้อนแน่นอนว่าบริษัทต่างๆก็จะขายสินค้าได้น้อยลง กำไรน้อยลง ในอนาคต แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าจะกระทบทันที หรือว่าค่อยๆกระทบ เพราะเราสามารถกู้เงินมาบริโภคได้
แล้วเงินเฟ้อมาจากไหน มันก็มาจากการเพิ่มปริมาณเงินเข้ามาในระบบของ USA แต่เราก็ต้องพิจารณาต่อนะครับว่าแล้วเงินส่วนใหญ่ไปไหน ไปสู่การลงทุนในส่วนของธุรกิจ หรือไหลไปสู่การเก็งกำไร ในปัจจุบันผมว่าน่าจะเป็นการเก็งกำไรมากกว่า ซึ่ง ณ จุดๆหนึ่งก็น่าจะหมดความน่าสนใจ เพราะผลตอบแทนที่ได้เริ่มน้อยลง ภาวะฟองสบู่ที่ทำให้ราคาสูงกว่าความเป็นจริงก็จะเริ่มลดลง เพราะถ้าผลตอบแทนจากการเก็งกำไรเริ่มน้อยกว่าอัตราดอกเบี้ยการเก็งกำไรก็จะลดลง และหันไปตลาดตราสารหนี้แทน แต่ต้องอยู่ในสมมติฐานที่เศรษฐกิจโลกไม่พังไปก่อน
แล้วถ้าผมมีรายได้เพิ่มขึ้น การบริโภคก็คงเหมือนเดิมหรืออาจจะบริโภคเพิ่มสูงขึ้นด้วย ดังนั้นผมคิดว่าก็ควรพิจารณาด้วยว่ารายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่? ถ้าเพิ่มขึ้นเท่ากับอัตราเงินเฟ้อ ผมก็ไม่คิดว่าจะมีผลกระทบอะไรกับตลาดหุ้น และน่าจะทำให้ราคาหุ้นเพิ่มขึ้นอีกเนื่องจากบริษัทต่างๆขายสินค้าได้ราคาเพิ่มขึ้น กำไรก็จะเพิ่มขึ้นไปด้วยนั่นเอง แต่ถ้ารายได้เพิ่มไม่เท่าเงินเฟ้อ ก็สะท้อนแน่นอนว่าบริษัทต่างๆก็จะขายสินค้าได้น้อยลง กำไรน้อยลง ในอนาคต แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าจะกระทบทันที หรือว่าค่อยๆกระทบ เพราะเราสามารถกู้เงินมาบริโภคได้
แล้วเงินเฟ้อมาจากไหน มันก็มาจากการเพิ่มปริมาณเงินเข้ามาในระบบของ USA แต่เราก็ต้องพิจารณาต่อนะครับว่าแล้วเงินส่วนใหญ่ไปไหน ไปสู่การลงทุนในส่วนของธุรกิจ หรือไหลไปสู่การเก็งกำไร ในปัจจุบันผมว่าน่าจะเป็นการเก็งกำไรมากกว่า ซึ่ง ณ จุดๆหนึ่งก็น่าจะหมดความน่าสนใจ เพราะผลตอบแทนที่ได้เริ่มน้อยลง ภาวะฟองสบู่ที่ทำให้ราคาสูงกว่าความเป็นจริงก็จะเริ่มลดลง เพราะถ้าผลตอบแทนจากการเก็งกำไรเริ่มน้อยกว่าอัตราดอกเบี้ยการเก็งกำไรก็จะลดลง และหันไปตลาดตราสารหนี้แทน แต่ต้องอยู่ในสมมติฐานที่เศรษฐกิจโลกไม่พังไปก่อน
อย่าเชื่อสิ่งที่พระเจ้าบอก แต่จงคิดและเลือกที่จะเชื่อด้วยตัวท่านเอง !!
-
- Verified User
- โพสต์: 3350
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 49
จริงๆแล้วมันอาจจะเปนทางไหนก็ได้คับ
ส่วนใหญ่เราคุยกันในเชิงสถิติและสมมติฐาน
แต่ความเปนจริงมันจะเกิดอะไรเราบอกร้อยเปอร์เซนต์คงไม่ได้
เพราะ เครื่องมือทางการเงินสมัยนี้มันลำ้มาก
และเรื่องบางอย่างเช่น สมัยน้ำมันราคาขึ้นอย่างบ้าคลั่ง
ตอนนั้นเงินเฟ้อกับฝืดเกิดพร้อมกันอย่างแรง ตอนนั้นก็พลิกตำรากันไม่ถุก
แต่สุดท้ายนโยบายสุดท้ายสะกัดเงินเฟ้อก็ไปออกที่ดอกเบี้ยอยู่ดี
คงต้องดูและศึกษากันต่อไปคับ
อย่างซับไพร์มใครจะรู้ว่ามันผ่านมาได้อย่างเร็วและสวยงาม
ทั้งๆที่ประเมินกันในอเมริกาว่าแย่กว่า1929
ส่วนใหญ่เราคุยกันในเชิงสถิติและสมมติฐาน
แต่ความเปนจริงมันจะเกิดอะไรเราบอกร้อยเปอร์เซนต์คงไม่ได้
เพราะ เครื่องมือทางการเงินสมัยนี้มันลำ้มาก
และเรื่องบางอย่างเช่น สมัยน้ำมันราคาขึ้นอย่างบ้าคลั่ง
ตอนนั้นเงินเฟ้อกับฝืดเกิดพร้อมกันอย่างแรง ตอนนั้นก็พลิกตำรากันไม่ถุก
แต่สุดท้ายนโยบายสุดท้ายสะกัดเงินเฟ้อก็ไปออกที่ดอกเบี้ยอยู่ดี
คงต้องดูและศึกษากันต่อไปคับ
อย่างซับไพร์มใครจะรู้ว่ามันผ่านมาได้อย่างเร็วและสวยงาม
ทั้งๆที่ประเมินกันในอเมริกาว่าแย่กว่า1929
show me money.
- Joga Bonito
- Verified User
- โพสต์: 278
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 50
ประกันตรงนี้คงหมายถึงประกันชีวิตใช่ไหมครับ ที่เหนื่อยเพราะกลัวว่าลูกค้าจะย้ายเงินไปฝากแบงค์nut776 เขียน:@คุณ jango หุ้นประกันพึ่งออกข่าวมาเหนืีอยเพราะ ต้นทุนทึ่ต้องจ่ายผู้ทำประกันเพิ่ม เพื่อจุงใจไม่ให้เอาเงินไปฝากแบงค์คับ
แต่ผมกลับมองว่า ตอนนี้การฝาก เงินกับประกันก็ยังได้เปรียบเรื่องของการลดหย่อนภาษีอยู่
แถมนโยบายที่ให้วงเงินลดหย่อนเพิ่มมา น่าจะเป็นส่วนดึงดูดลูกค้าได้อยู่มังครับ
หรือหากจะกระทบประกันชีวิตจริง แต่ประกันวินาศภัย ไม่น่าจะถูกกระทบมั้งครับ
เช่นประกันรถยนต์ หากเก็บเบี้ยได้เท่าเดิม แต่ดอกเบี้ยเพิ่ม รายได้จากการลงทุนน่าจะเพิ่ม
-
- Verified User
- โพสต์: 163
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 51
พี่ๆครับ ผมสงสัยเรื่องอัตราดอกเบี้ย ระยะสั้นกับระยะยาว ครับ ดูที่ไหนครับ แล้ว ใช้อะไรแยกครับ
ระยะสั้น คือ อัตราดอกเบี้ยออมทัพย์
ระยะยาว คือ ฝากประจำ ใช่หรือป่าวครับ หรือหมายถึงพวกอัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ครับ
แล้วเราหาดูค่าได้ทางที่ไหนบ้าง
ปกติผมจากดูจากที่นี้นะครับ
http://www.bot.or.th/thai/statistics/fi ... _rate.aspx
ระยะสั้น คือ อัตราดอกเบี้ยออมทัพย์
ระยะยาว คือ ฝากประจำ ใช่หรือป่าวครับ หรือหมายถึงพวกอัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ครับ
แล้วเราหาดูค่าได้ทางที่ไหนบ้าง
ปกติผมจากดูจากที่นี้นะครับ
http://www.bot.or.th/thai/statistics/fi ... _rate.aspx
- กล้วยไม้ขาว
- Verified User
- โพสต์: 1074
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 53
ถ้าเงินเฟ้อทั่วโลกจริงๆ ทองต้องราคาขึ้นครับ เพราะเป็นตัวหลักที่ใช้ป้องกันการด้อยค่าของเงินsmallpunk เขียน:เงินเฟ้อจะกระทบกับทองไหมครับ?
- กล้วยไม้ขาว
- Verified User
- โพสต์: 1074
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 54
สั้นคือไม่ถึงหนึ่งปีครับ ยาวคือหนึ่งปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ 5 ปีครับbarlonil เขียน:พี่ๆครับ ผมสงสัยเรื่องอัตราดอกเบี้ย ระยะสั้นกับระยะยาว ครับ ดูที่ไหนครับ แล้ว ใช้อะไรแยกครับ
ระยะสั้น คือ อัตราดอกเบี้ยออมทัพย์
ระยะยาว คือ ฝากประจำ ใช่หรือป่าวครับ หรือหมายถึงพวกอัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ครับ
แล้วเราหาดูค่าได้ทางที่ไหนบ้าง
ปกติผมจากดูจากที่นี้นะครับ
http://www.bot.or.th/thai/statistics/fi ... _rate.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 3350
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 55
Joga Bonito เขียน:ประกันตรงนี้คงหมายถึงประกันชีวิตใช่ไหมครับ ที่เหนื่อยเพราะกลัวว่าลูกค้าจะย้ายเงินไปฝากแบงค์nut776 เขียน:@คุณ jango หุ้นประกันพึ่งออกข่าวมาเหนืีอยเพราะ ต้นทุนทึ่ต้องจ่ายผู้ทำประกันเพิ่ม เพื่อจุงใจไม่ให้เอาเงินไปฝากแบงค์คับ
แต่ผมกลับมองว่า ตอนนี้การฝาก เงินกับประกันก็ยังได้เปรียบเรื่องของการลดหย่อนภาษีอยู่
แถมนโยบายที่ให้วงเงินลดหย่อนเพิ่มมา น่าจะเป็นส่วนดึงดูดลูกค้าได้อยู่มังครับ
หรือหากจะกระทบประกันชีวิตจริง แต่ประกันวินาศภัย ไม่น่าจะถูกกระทบมั้งครับ
เช่นประกันรถยนต์ หากเก็บเบี้ยได้เท่าเดิม แต่ดอกเบี้ยเพิ่ม รายได้จากการลงทุนน่าจะเพิ่ม
คับประกันชีวิต เพราะ ต้องเพิ่มผลตอบแทนให้จูงใจ
ไม่ให้คนหนีไปฝากแบงค์ อันนี้ผมเพิ่งอ่านเจอข่าวอาทิตย์ที่แล้ว
แต่กระบวนการจริงจะเป็นเช่นไรไม่ทราบได้ ดังนั้นถ้าข้อมูลมาไม่ครบต้องขอโทษด้วยคับ
ส่วนการพิม พิมผ่านมือถือ เลยต้องกระชับ (จนมั่ว)เพราะมันพิมยากคับ
show me money.
- Financeseed
- Verified User
- โพสต์: 1304
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 56
ขอบคุณครับ มีความรู้มากคับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2545
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 57
เอาข้อมูลมาฝากคุณ blueplanet และ เพื่อน ๆ ครับ
ผมไปเจอข้อมูลเวปนี้ ที่แสดงผลตอบแทนของดัชนีหุ้นดาวน์โจนส์ซึ่งเป็นตัวแทนของหุ้นชั้นนำ 30 ตัว ปรากฏว่าในระยะยาวนั้น ดัชนีหุ้นดาวน์โจนส์ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าผลตอบแทนระยะยาวนั้นเหนือกว่าเงินเฟ้อ (ในระยะยาวกว่า 82 ปีครับ) โดยข้อมูลนี้ผู้ศึกษาได้นำดัชนีดาวน์โจนส์มาปรับค่าเงินเฟ้อในแต่ละปีแล้ว พบว่า หุ้นดาวน์โจนส์มีผลตอบแทนระยะยาวเหนือกว่าเงินเฟ้อ ประมาณเท่ากับ 1.64% ต่อปี(เป็นอัตราทบต้นครับ) แม้ว่าในระหว่างปี ดัชนีจะปรับขึ้นปรับลงก็ตามครับ
สำหรับรายละเอียดของข้อมูลหาอ่านได้จากเวปนี้ครับ คงช่วยยืนยันความเชื่อระดับหนึ่งของคุณ blueplanet ครับ
http://www.itulip.com/realdow.htm
ผมไปเจอข้อมูลเวปนี้ ที่แสดงผลตอบแทนของดัชนีหุ้นดาวน์โจนส์ซึ่งเป็นตัวแทนของหุ้นชั้นนำ 30 ตัว ปรากฏว่าในระยะยาวนั้น ดัชนีหุ้นดาวน์โจนส์ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าผลตอบแทนระยะยาวนั้นเหนือกว่าเงินเฟ้อ (ในระยะยาวกว่า 82 ปีครับ) โดยข้อมูลนี้ผู้ศึกษาได้นำดัชนีดาวน์โจนส์มาปรับค่าเงินเฟ้อในแต่ละปีแล้ว พบว่า หุ้นดาวน์โจนส์มีผลตอบแทนระยะยาวเหนือกว่าเงินเฟ้อ ประมาณเท่ากับ 1.64% ต่อปี(เป็นอัตราทบต้นครับ) แม้ว่าในระหว่างปี ดัชนีจะปรับขึ้นปรับลงก็ตามครับ
สำหรับรายละเอียดของข้อมูลหาอ่านได้จากเวปนี้ครับ คงช่วยยืนยันความเชื่อระดับหนึ่งของคุณ blueplanet ครับ
http://www.itulip.com/realdow.htm
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 2545
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 58
และหากจะถามว่าหุ้นดัชนีดาวน์โจนส์นั้นให้ผลตอบแทนระยะยาวประมาณเท่าใด
Buffet ให้คำตอบท่านได้จากบทความนี้ครับ
http://money.cnn.com/2006/03/05/news/ne ... /index.htm
Buffett: Cut your gains!
In his 2006 letter to Berkshire Hathaway shareholders, Warren Buffett explains how costly it can be to let advisors come between you and your money.
By Warren Buffett
March 6, 2006: 5:54 AM EST
(FORTUNE Magazine) - Warren Buffett often uses his annual report to comment on subjects he believes of importance to today's markets. Here, from the report published Saturday, is an allegory about "How to Minimize Investment Returns."
It's been an easy matter for Berkshire and other owners of American equities to prosper over the years.
Between Dec. 31, 1899, and Dec. 31, 1999, to give a really long-term example, the Dow rose from 66 to 11,497. (Guess what annual growth rate is required to produce this result; the surprising answer is at the end of this piece.)
This huge rise came about for a simple reason: Over the century, American businesses did extraordinarily well and investors rode the wave of their prosperity. Businesses continue to do well. But now shareholders, through a series of self-inflicted wounds, are in a major way cutting the returns they will realize from their investments.
The explanation of how this is happening begins with a fundamental truth: With unimportant exceptions, such as bankruptcies in which some of a company's losses are borne by creditors, the most that owners in aggregate can earn between now and Judgment Day is what their businesses in aggregate earn. True, by buying and selling that is clever or lucky, investor A may take more than his share of the pie at the expense of investor B.
And, yes, all investors feel richer when stocks soar. But an owner can exit only by having someone take his place. If one investor sells high, another must buy high. For owners as a whole, there is simply no magic -- no shower of money from outer space -- that will enable them to extract wealth from their companies beyond that created by the companies themselves.
Indeed, owners must earn less than their businesses earn because of "frictional" costs. And that's my point: These costs are now being incurred in amounts that will cause shareholders to earn far less than they historically have.
To understand how this toll has ballooned, imagine for a moment that all American corporations are, and always will be, owned by a single family. We'll call them the Gotrocks. After paying taxes on dividends, this family -- generation after generation -- becomes richer by the aggregate amount earned by its companies.
Today that amount is about $700 billion annually. Naturally, the family spends some of these dollars. But the portion it saves steadily compounds for its benefit. In the Gotrocks household everyone grows wealthier at the same pace, and all is harmonious.
But let's now assume that a few fast-talking Helpers approach the family and persuade each of its members to try to outsmart his relatives by buying certain of their holdings and selling them certain others. The Helpers -- for a fee, of course -- obligingly agree to handle these transactions. The Gotrocks still own all of corporate America; the trades just rearrange who owns what.
So the family's annual gain in wealth diminishes, equaling the earnings of American business minus commissions paid. The more that family members trade, the smaller their share of the pie and the larger the slice received by the Helpers. This fact is not lost upon these broker-Helpers: Activity is their friend, and in a wide variety of ways, they urge it on.
After a while, most of the family members realize that they are not doing so well at this new "beat my brother" game. Enter another set of Helpers. These newcomers explain to each member of the Gotrocks clan that by himself he'll never outsmart the rest of the family. The suggested cure: "Hire a manager -- yes, us -- and get the job done professionally."
These manager-Helpers continue to use the broker-Helpers to execute trades; the managers may even increase their activity so as to permit the brokers to prosper still more. Overall, a bigger slice of the pie now goes to the two classes of Helpers.
The family's disappointment grows. Each of its members is now employing professionals. Yet overall, the group's finances have taken a turn for the worse. The solution? More help, of course.
It arrives in the form of financial planners and institutional consultants, who weigh in to advise the Gotrocks on selecting manager-Helpers. The befuddled family welcomes this assistance. By now its members know they can pick neither the right stocks nor the right stock pickers. Why, one might ask, should they expect success in picking the right consultant? But this question does not occur to the Gotrocks, and the consultant-Helpers certainly don't suggest it to them.
The Gotrocks, now supporting three classes of expensive Helpers, find that their results get worse, and they sink into despair. But just as hope seems lost, a fourth group -- we'll call them the hyper-Helpers -- appears. These friendly folk explain to the Gotrocks that their unsatisfactory results are occurring because the existing Helpers -- brokers, managers, consultants -- are not sufficiently motivated and are simply going through the motions. "What," the new Helpers ask, "can you expect from such a bunch of zombies?"
The new arrivals offer a breathtakingly simple solution: Pay more money. Brimming with self-confidence, the hyper-Helpers assert that huge contingent payments -- in addition to stiff fixed fees -- are what each family member must fork over in order to really outmaneuver his relatives.
The more observant members of the family see that some of the hyper-Helpers are really just manager Helpers wearing new uniforms, bearing sewn-on sexy names like HEDGE FUND or PRIVATE EQUITY. The new Helpers, however, assure the Gotrocks that this change of clothing is all-important, bestowing on its wearers magical powers similar to those acquired by mild-mannered Clark Kent when he changed into his Superman costume. Calmed by this explanation, the family decides to pay up.
And that's where we are today: A record portion of the earnings that would go in their entirety to owners -- if they all just stayed in their rocking chairs -- is now going to a swelling army of Helpers. Particularly expensive is the recent pandemic of profit arrangements under which Helpers receive large portions of the winnings when they are smart or lucky, and leave family members with all the losses -- and large fixed fees to boot -- when the Helpers are dumb or unlucky (or occasionally crooked).
A sufficient number of arrangements like this -- heads, the Helper takes much of the winnings; tails, the Gotrocks lose and pay dearly for the privilege of doing so -- may make it more accurate to call the family the Hadrocks. Today, in fact, the family's frictional costs of all sorts may well amount to 20 percent of the earnings of American business. In other words, the burden of paying Helpers may cause American equity investors, overall, to earn only 80 percent or so of what they would earn if they just sat still and listened to no one.
Long ago, Sir Isaac Newton gave us three laws of motion, which were the work of genius. But Sir Isaac's talents didn't extend to investing: He lost a bundle in the South Sea Bubble, explaining later, "I can calculate the movement of the stars, but not the madness of men." If he had not been traumatized by this loss, Sir Isaac might well have gone on to discover the fourth law of motion: For investors as a whole, returns decrease as motion increases.
Here's the answer to the question posed at the beginning of this piece: To get very specific, the Dow increased from 65.73 to 11,497.12 in the 20th century, and that amounts to a gain of 5.3 percent compounded annually. (Investors would also have received dividends, of course.) To achieve an equal rate of gain in the 21st century, the Dow will have to rise by Dec. 31, 2099, to -- brace yourself -- precisely 2,011,011.23. But I'm willing to settle for 2,000,000; six years into this century, the Dow has gained not at all
Buffet ให้คำตอบท่านได้จากบทความนี้ครับ
http://money.cnn.com/2006/03/05/news/ne ... /index.htm
Buffett: Cut your gains!
In his 2006 letter to Berkshire Hathaway shareholders, Warren Buffett explains how costly it can be to let advisors come between you and your money.
By Warren Buffett
March 6, 2006: 5:54 AM EST
(FORTUNE Magazine) - Warren Buffett often uses his annual report to comment on subjects he believes of importance to today's markets. Here, from the report published Saturday, is an allegory about "How to Minimize Investment Returns."
It's been an easy matter for Berkshire and other owners of American equities to prosper over the years.
Between Dec. 31, 1899, and Dec. 31, 1999, to give a really long-term example, the Dow rose from 66 to 11,497. (Guess what annual growth rate is required to produce this result; the surprising answer is at the end of this piece.)
This huge rise came about for a simple reason: Over the century, American businesses did extraordinarily well and investors rode the wave of their prosperity. Businesses continue to do well. But now shareholders, through a series of self-inflicted wounds, are in a major way cutting the returns they will realize from their investments.
The explanation of how this is happening begins with a fundamental truth: With unimportant exceptions, such as bankruptcies in which some of a company's losses are borne by creditors, the most that owners in aggregate can earn between now and Judgment Day is what their businesses in aggregate earn. True, by buying and selling that is clever or lucky, investor A may take more than his share of the pie at the expense of investor B.
And, yes, all investors feel richer when stocks soar. But an owner can exit only by having someone take his place. If one investor sells high, another must buy high. For owners as a whole, there is simply no magic -- no shower of money from outer space -- that will enable them to extract wealth from their companies beyond that created by the companies themselves.
Indeed, owners must earn less than their businesses earn because of "frictional" costs. And that's my point: These costs are now being incurred in amounts that will cause shareholders to earn far less than they historically have.
To understand how this toll has ballooned, imagine for a moment that all American corporations are, and always will be, owned by a single family. We'll call them the Gotrocks. After paying taxes on dividends, this family -- generation after generation -- becomes richer by the aggregate amount earned by its companies.
Today that amount is about $700 billion annually. Naturally, the family spends some of these dollars. But the portion it saves steadily compounds for its benefit. In the Gotrocks household everyone grows wealthier at the same pace, and all is harmonious.
But let's now assume that a few fast-talking Helpers approach the family and persuade each of its members to try to outsmart his relatives by buying certain of their holdings and selling them certain others. The Helpers -- for a fee, of course -- obligingly agree to handle these transactions. The Gotrocks still own all of corporate America; the trades just rearrange who owns what.
So the family's annual gain in wealth diminishes, equaling the earnings of American business minus commissions paid. The more that family members trade, the smaller their share of the pie and the larger the slice received by the Helpers. This fact is not lost upon these broker-Helpers: Activity is their friend, and in a wide variety of ways, they urge it on.
After a while, most of the family members realize that they are not doing so well at this new "beat my brother" game. Enter another set of Helpers. These newcomers explain to each member of the Gotrocks clan that by himself he'll never outsmart the rest of the family. The suggested cure: "Hire a manager -- yes, us -- and get the job done professionally."
These manager-Helpers continue to use the broker-Helpers to execute trades; the managers may even increase their activity so as to permit the brokers to prosper still more. Overall, a bigger slice of the pie now goes to the two classes of Helpers.
The family's disappointment grows. Each of its members is now employing professionals. Yet overall, the group's finances have taken a turn for the worse. The solution? More help, of course.
It arrives in the form of financial planners and institutional consultants, who weigh in to advise the Gotrocks on selecting manager-Helpers. The befuddled family welcomes this assistance. By now its members know they can pick neither the right stocks nor the right stock pickers. Why, one might ask, should they expect success in picking the right consultant? But this question does not occur to the Gotrocks, and the consultant-Helpers certainly don't suggest it to them.
The Gotrocks, now supporting three classes of expensive Helpers, find that their results get worse, and they sink into despair. But just as hope seems lost, a fourth group -- we'll call them the hyper-Helpers -- appears. These friendly folk explain to the Gotrocks that their unsatisfactory results are occurring because the existing Helpers -- brokers, managers, consultants -- are not sufficiently motivated and are simply going through the motions. "What," the new Helpers ask, "can you expect from such a bunch of zombies?"
The new arrivals offer a breathtakingly simple solution: Pay more money. Brimming with self-confidence, the hyper-Helpers assert that huge contingent payments -- in addition to stiff fixed fees -- are what each family member must fork over in order to really outmaneuver his relatives.
The more observant members of the family see that some of the hyper-Helpers are really just manager Helpers wearing new uniforms, bearing sewn-on sexy names like HEDGE FUND or PRIVATE EQUITY. The new Helpers, however, assure the Gotrocks that this change of clothing is all-important, bestowing on its wearers magical powers similar to those acquired by mild-mannered Clark Kent when he changed into his Superman costume. Calmed by this explanation, the family decides to pay up.
And that's where we are today: A record portion of the earnings that would go in their entirety to owners -- if they all just stayed in their rocking chairs -- is now going to a swelling army of Helpers. Particularly expensive is the recent pandemic of profit arrangements under which Helpers receive large portions of the winnings when they are smart or lucky, and leave family members with all the losses -- and large fixed fees to boot -- when the Helpers are dumb or unlucky (or occasionally crooked).
A sufficient number of arrangements like this -- heads, the Helper takes much of the winnings; tails, the Gotrocks lose and pay dearly for the privilege of doing so -- may make it more accurate to call the family the Hadrocks. Today, in fact, the family's frictional costs of all sorts may well amount to 20 percent of the earnings of American business. In other words, the burden of paying Helpers may cause American equity investors, overall, to earn only 80 percent or so of what they would earn if they just sat still and listened to no one.
Long ago, Sir Isaac Newton gave us three laws of motion, which were the work of genius. But Sir Isaac's talents didn't extend to investing: He lost a bundle in the South Sea Bubble, explaining later, "I can calculate the movement of the stars, but not the madness of men." If he had not been traumatized by this loss, Sir Isaac might well have gone on to discover the fourth law of motion: For investors as a whole, returns decrease as motion increases.
Here's the answer to the question posed at the beginning of this piece: To get very specific, the Dow increased from 65.73 to 11,497.12 in the 20th century, and that amounts to a gain of 5.3 percent compounded annually. (Investors would also have received dividends, of course.) To achieve an equal rate of gain in the 21st century, the Dow will have to rise by Dec. 31, 2099, to -- brace yourself -- precisely 2,011,011.23. But I'm willing to settle for 2,000,000; six years into this century, the Dow has gained not at all
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 1155
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 59
ขอบคุณครับ คุณ chaitorn
ความเชื่อเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับมนุษย์
มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดเดียวในโลกที่ยอมตายเพื่อความเชื่อของตัวเอง
ดังนั้นสิ่งที่สำคัญมากคือเชื่อในสิ่งที่ถูกต้อง
ความเชื่อเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับมนุษย์
มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดเดียวในโลกที่ยอมตายเพื่อความเชื่อของตัวเอง
ดังนั้นสิ่งที่สำคัญมากคือเชื่อในสิ่งที่ถูกต้อง
Blueplanet
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 475
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไมเงินเฟ้อแล้วหุ้นต้องตก
โพสต์ที่ 60
ขออนุญาติยก circular flow of production and expenditure(income) จากการเรียน macroeconomics มาอธิบายนะคะ
เงินเฟ้อ (มากกว่าประเทศอื่น) >>import มากขึ้น = export น้อยลง>> production น้อยลง>>จ่ายเงินน้อยลง>>labor มีเงินใช้น้อยลง และใข้จ่ายน้อยลง
หรือเรียกอีกอย่างว่า ถ้านำเข้าเยอะ รายได้ของคนในประเทศจะลดลง ทำให้ผลิตน้อยลง แล้วการว่างงานก็จะมากขึ้น
คน save เงินน้อยลง>> ลงทุน(investment) มากขึ้น>>เงินเฟ้อในประเทศ (เพราะมีเงินอยู่ในระบบมากขึ้น)
ส่วน multiplier ก็เป็น regulation ของรัฐบาล คร่าวๆก็มีสองอย่าง
1. มาตราการทางการเงิน
2. มาตราการทางการคลัง
Ps. Ceteris paribus (other things being equal)
เงินเฟ้อ (มากกว่าประเทศอื่น) >>import มากขึ้น = export น้อยลง>> production น้อยลง>>จ่ายเงินน้อยลง>>labor มีเงินใช้น้อยลง และใข้จ่ายน้อยลง
หรือเรียกอีกอย่างว่า ถ้านำเข้าเยอะ รายได้ของคนในประเทศจะลดลง ทำให้ผลิตน้อยลง แล้วการว่างงานก็จะมากขึ้น
คน save เงินน้อยลง>> ลงทุน(investment) มากขึ้น>>เงินเฟ้อในประเทศ (เพราะมีเงินอยู่ในระบบมากขึ้น)
ส่วน multiplier ก็เป็น regulation ของรัฐบาล คร่าวๆก็มีสองอย่าง
1. มาตราการทางการเงิน
2. มาตราการทางการคลัง
Ps. Ceteris paribus (other things being equal)
HOPE FAITH LOVE