ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
- san
- Verified User
- โพสต์: 1675
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 31
มาด้วยคนครับ อิอิอิ
>> Doomsday of VI ชิมิๆ <<
>> Doomsday of VI ชิมิๆ <<
ขอบคุณ รุ่นพี่ๆ รุ่นน้องๆ ครูบา อาจารย์ ในนี้ ที่แนะนำเรื่อง วิธีการลงทุนที่ดี นะครับ
อ. โจ กับ พี่พอใจ ยังเป็นขวัญใจ เสมอครับ
วันนี้ อ. โจ ได้ลง นสพ ด้วย .....อิอิอิ
อ. โจ กับ พี่พอใจ ยังเป็นขวัญใจ เสมอครับ
วันนี้ อ. โจ ได้ลง นสพ ด้วย .....อิอิอิ
- dome@perth
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4740
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 34
เป็นไตรมาสที่ SET ทะลุ 1000 จุด
ขอเสนอ " 1000 จุด พันใจ VI สังสรรค์ "
เอ.....
ถ้าเป็นวันสองวันนี้
" 1000จุด รูดไหล VI ผวา" 555
แซวเล่น เอาอันแรก แล้วกัน
ขอเสนอ " 1000 จุด พันใจ VI สังสรรค์ "
เอ.....
ถ้าเป็นวันสองวันนี้
" 1000จุด รูดไหล VI ผวา" 555
แซวเล่น เอาอันแรก แล้วกัน
"ไม่มีสุตรสำเร็จ ไม่มีทางลัด ไม่ใช่แค่โชค
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
- centrady
- Verified User
- โพสต์: 243
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 36
ผมส่งด้วยครับ
"ขุดคุ้ยคุยหุ้น ลงทุน VI"
"ขุดคุ้ยคุยหุ้น ลงทุน VI"
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 37
มาปั่นหุ้นกันเถอะครั้งที่ 1
มุขฝึดไปหน่อยครับ :oops:
ผมไปไม่กี่ครั้ง เท่าที่สังเกตจากที่ไป ผมอาจผิดนะครับ ปีกย่อยของงาน รายะเอียดอาจต่างกัน ขึ้นกับสถานที่และคนในงานที่ไปไม่ซ้ากัน แต่ภาพรวม ไม่ว่างานไหน จะเปี่ยนชื่อสักกี่ครั้ง ถ้าเอาแป้งมาโรยที่พื้น จะเห็นรูปแบบการก้าวขาของคนในงานที่ไม่เคยเปี่ยน ก้าวของเท้าอาจจะกระจัดกระจายในตอนแรก แต่จะมีแนวโน้มที่รวมตัวกันเข้าสู่ CRITICAL MASS
ผมไปรื้อดูว่ามีงานไหนเอาชื่อนี้ไปใช้บ้าง มีครับ งานใหญ่ซะด้วย
Critical Mass is a bicycling event typically held on the last Friday of every month in over 300 cities around the world.[1] The ride was originally founded in 1992 in San Francisco with the idea of drawing attention to how unfriendly the city was to cyclists.[2] In fact, the purpose of Critical Mass is not usually formalized beyond the direct action of meeting at a set location and time and traveling as a group through city or town streets on bikes. Although for some bigger scale events like the one in Budapest, Hungary there is an activist group formed around it, organizing the rides and communicating the desires and problems of the cyclists to the city council.
"Critical Mass" ภารกิจปั่นประท้วง ปฏิวัติสังคมจักรยาน
ยานพาหนะคับคั่งในวันที่เสรีภาพทางการเงินของคนเมืองมีบทบาทสูงสุด ภาพมหานครที่ถูกครอบครองด้วยการจราจรพิการและมลภาวะอันเลวร้าย จะเกิดอะไรขึ้นถ้าในวัน และเวลา ที่บนถนนมีรถกำลังติดขัดแบบวินาศสันตโรนั้นกลับมีคาราวาน 2 ขา 1 คัน นัดหมายกันตรงใจกลางเมืองเพื่อปั่นจักรยานไปบนท้องถนนที่ไม่มีการสงวนสิทธิ์ให้คนขี่จักรยานแต่อย่างใด โดยแสดงให้เห็นถึงความหลุดพ้นจากพันธนาการบนท้องถนนด้วยการปั่นจักรยาน และเพื่อต้องการเรียกร้องให้สังคมหันมาสนใจความต้องการมีส่วนร่วมในการแบ่งพื้นที่บนท้องถนนให้กับนักปั่นจักรยาน เพื่อให้สังคมมองคนขี่จักรยานอย่างเป็นมิตรมากยิ่งขึ้น คาราวานรถจักรยานของเหล่านักปั่นจึงพร้อมใจกัน ทำกิจกรรมดังกล่าวในรูปแบบที่ถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "Critical Mass"
ปั่นประท้วง
ข้อมูลจากวิกิพีเดียระบุว่า Critical Mass ปกติจัดขึ้นทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน ในเมืองต่างๆ ทั่วโลก โดยนักปั่นจักรยาน, skateboard, inline skaters, roller skaters และพาหนะที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง (ไม่มีเครื่องยนต์) จะวิ่งบนถนนในเมืองเป็นกลุ่มใหญ่ๆ เหตุผลเริ่มแรกเกิดจากผู้ใช้จักรยานตระหนักถึงเมืองที่ไม่เป็นมิตรต่อคนใช้จักรยาน
นักปั่น Critical Mass จึงก่อตัวขึ้นมาเองโดยไม่มีวัตถุประสงค์ทางการค้า ไม่มีการแข่งขัน ดำเนินงานอย่างกระจัดกระจาย และการตัดสินใจที่ไม่เป็นทางการ มีผู้นำกลุ่มที่เป็นอิสระ บ่อยครั้งที่ไม่มีการขออนุญาตล่วงหน้า และการอนุมัติอย่างเป็นทางการจากเทศบาลเมือง โดยทั่วไปเป็นเพียงแค่การนัดหมายสถานที่ วัน และเวลา ในบางเมืองเรื่องเส้นทางจุดสิ้นสุดหรือสถานที่สำคัญระหว่างทางอาจจะเป็นการวางแผนกันเฉพาะหน้า
การปั่น Critical Mass ถูกรับรู้กันว่าเป็นเช่นกิจกรรมการประท้วง บทความนิตยสาร New Yorker ปี 2006 อธิบายกิจกรรม Critical Massใน New York ว่า การปั่นประท้วงประจำเดือนและลักษณะของ Critical Mass ยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนไหวทางสังคมด้วย อย่างไรก็ดีผู้เข้าร่วม Critical Mass ยืนยันว่า เหตุการณ์นี้ควรถูกมองว่าเป็น การพบปะสังสรรค์ และการรวมกลุ่มที่เป็นไปเองโดยธรรมชาติ ไม่ใช่การประท้วงหรือการเดินขบวนที่ถูกจัดการ การปั่น Critical Massในเมืองเล็กๆ ทุกเดือนอาจมีคนมาร่วมน้อยกว่า 20 คนแต่ขณะเดียวกันในบางประเทศก็อาจมีคนใช้จักรยานเข้าร่วมกว่าหมื่นคน
การปั่น Critical Mass ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ 25 กันยายน 1992 เวลา 6 โมงเย็นในSan Franciscoปัจจุบันประมาณกันว่ามีการปั่นจักรยานแบบ Critical Mass มากกว่า 325 เมืองทั่วโลก
ปลายทางเพื่อเส้นทางจักรยาน
และเวลานี้กิจกรรม Critical Mass เกิดขึ้นจริงแล้วในเมืองไทย โดยในครั้งแรกคาราวานนักปั่นได้เริ่มก่อตัวขึ้นเมื่อเย็นวันศุกร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา บริเวณหน้าสยามดิสคัฟเวอร์รี แยกปทุมวัน ถือเป็น Critical Mass ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย โดยการริเริ่มความคิดจาก ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย และ thaiMTB.com เพราะสภาพการจราจรในปัจจุบันที่ไม่เอื้ออำนวยแก่จักรยาน ผู้ที่ใช้ถนนยังไม่รู้จักการใช้ถนนร่วมกับจักรยาน อีกทั้งภาครัฐฯไม่ได้สนับสนุนหรือส่งเสริมเพียงพอในเรื่องช่องทางสำหรับจักรยานบนถนน ทำให้ในครั้งนั้นมีนักปั่นให้การตอบรับร่วมรณรงค์และปลูกจิตสำนึกในการแบ่งปันด้วยการจัดกิจกรรม Critical Mass เป็นจำนวนกว่า 400 คน
สัจจา ขุทรานนท์ ที่เพื่อนๆ นักปั่นเรียกกันว่า น้าเป็ด จากชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย หรือ Thailand Cycling Club เรียกสั้นๆ ว่า TCC ไขข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำ Critical Mass ในบ้านเราให้ให้ฟังว่า
จากนี้ไป Critical Mass จะเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นทุกเดือน เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงการถือสิทธิ์ในการใช้ถนนได้ ถนนไม่ใช่รถยนต์เพียงอย่างเดียว เพื่อกระตุ้นให้ภาครัฐฯ หันมาสนใจสร้างทางจักรยาน เพื่อชักชวนให้ประชาชนหันมาใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน และเพื่อเป็นทางเลือกรัฐฯจึงต้องสร้างทางจักรยานให้ผู้สัญจรที่ใช้จักรยานเป็นการเฉพาะเพื่อลดอุบัติเหตุจากการที่ผู้ขับขี่รถยนต์ประมาทชนคนขับขี่จักรยาน
เป้าหมายหลักของ Critical Mass คือการรณรงค์ให้คนหันมาปั่นจักรยานกันเยอะขึ้นเรื่อยๆ ส่วนเป้าหมายแฝงนั้นคือ การให้ได้ทางจักรยานของจริง คือพวกเราอยากเห็นทางจักรยานเกิดขึ้นใน กทม. จะให้มาโดยง่ายนั้นคิดว่ายาก จึงมารวมกันเรียกร้องสิทธิ์นี้ขึ้น เพื่อไม่ให้หน่วยงานใดที่เกี่ยวกับการทำถนนลืมว่า จักรยานนั้นมีสิทธิ์ที่จะใช้เส้นทางบนถนนเช่นเดียวกัน ผมปรารถนาและมุ่งมั่นที่จะเห็นทางจักรยานใน กทม.
ย้อนกลับไปก่อนเกิด Critical Mass ในบ้านเรา เราก็ทราบกันอยู่ว่า ก่อนหน้านี้การขอทางจักรยานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยวิธีการต่างๆ นาๆ ได้ทำกันมานักต่อนักแล้วแต่ไม่เป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่ที่ทำกันก็คือ การขอกันแบบตรงๆ จากนั้นเราก็ทราบว่า โอกาสจะได้นั้นน้อยมากเต็มที เหตุนี้เองจึงได้มีการเปลี่ยนวิธีคิด วิธีทำใหม่ โดยคิดว่า หากให้คนมาปั่นจักรยานกันเยอะๆ จนถึงปริมาณหนึ่งที่มากพอจนกลายเป็น Critical Mass จนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะทนเพิกเฉยอยู่ไม่ได้ จะถูกบังคับให้สร้างทางจักรยาน และนั่นคือที่มา และผลลัพธ์ที่เกิดจากการจัด Critical Mass ซึ่งไม่ค่อยเหมือนประเทศอื่นๆ ที่เขามีทางจักรยานอยู่บ้างแล้ว
สรุปแล้วเป้าหมายปลายทางของ Critical Mass จริงๆ คือ การให้ได้มาซึ่ง ทางจักรยานของจริง เพียงแต่เราเอารูปแบบของ Critical Mass เป็นภาพวางไว้ข้างหน้าเท่านั้น
โดยน้าเป็ดได้ขยายความถึงคำว่า ทางจักรยานของจริง ในแนวคิดส่วนตัวให้ฟังด้วยว่า
ทางจักรยานของจริง นั้นควรจะต้องประกอบด้วย ลักษณะทางที่เป็นมาตรฐาน ที่ประเทศอื่นๆ ส่วนใหญ่เขาทำกัน เป็นเครือข่ายเชื่อมโยง หรือต่อกัน ยิ่งได้มากเท่าไรก็เป็น ของจริงมากขึ้นเท่านั้น ให้ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ มีการใช้เกิดขึ้นในปริมาณที่คุ้มต่อการสร้างทาง มีการบริหารจัดการ เช่น การออกระเบียบ กฎหมาย มีการบำรุงรักษาสม่ำเสมอ มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และข้อสุดท้ายที่เป็นของจริงแท้ คือเป็นทางตัวอย่างที่ประเทศอื่นๆ ต้องมาดูนำไปใช้
ทางจักรยานในบางกอกเมืองหลวงของเรานั้นต้องทำแผนรองรับขึ้นมาได้ในขณะนี้แล้ว เพราะตั้งแต่ตอนนี้เป็นต้นไปเป็นจังหวะของเรื่องน้ำมันขึ้นราคา
เท่าที่ทราบ กทม.เขาส่งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเดินทางไปดูงานต่างประเทศแล้วหลายคน อันนี้มีใครรู้จักบ้างอยากจะขอบอกผ่านไปยังท่านผู้ว่าด้วย ว่าให้เขาไปดูงานแล้ว กลับมาแล้วไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเลย คิดแล้วมันน่าเสียดายเวลา น้าเป็ดเล่าให้ฟัง
ส่วนตัวผมไม่รู้จักหรอกนะว่าสิ่งที่พวกนักปั่นจักรยานทำกันอยู่นี้เรียกว่าอะไร ผมไม่มีความรู้เรื่อง Critical Mass มาก่อนด้วย ผมเพียงแค่คิดว่าที่เขาทำกันอยู่นี้เป็นการนึกสนุกอยากปั่นจักรยานเป็นทีมมากกว่า คงเป็นการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกาย หรือเพื่อการท่องเที่ยวในกรุงเทพฯ ผมยังไม่รู้สึกถึงการรณรงค์เรื่องอะไรที่ชัดเจน
"ส่วนเรื่องการแบ่งพื้นที่บนท้องถนนไปใช้หรือการทำให้รถติดนั้นผมว่ามันเป็นเรื่องเล็กน้อยมาก เพราะถ้าไม่มีพลพรรคปั่นจักรยานเหล่านี้รถก็ยังติดอยู่ และเท่าที่ผมเห็นเหตุการณ์คือ พวกเขาก็ปั่นไปเรื่อยๆ ไม่ได้หยุดกีดขวางหรือทำการสกัดกั้นการจราจราแต่อย่างได้ เพียงแต่ต้องรอให้พวกเขาออกตัวไปก่อนก็เท่านั้น ทุกอย่างก็เป็นปกติ
แต่ก็มีรถยนต์บางคันเหมือนกันที่ผมเห็นถึงความไม่พอใจในเหล่านักปั่นเหล่านี้ แล้วบีบแตรไล่ เขาคงเป็นห่วงรถยนต์ราคาแพงของเขาโดยอาจจะกลัวได้รับการขีดข่วน หรือกลัวการเกิดอุบัติเหตุเสียมากว่า กรณีอย่างนี้ผมมองว่าควรจะเห็นอกเห็นใจกันคนละครึ่งทาง เพราะการปั่นจักรยานนั้นก็ดี ในสภาวะที่น้ำมันแพงอย่างนี้ ศุภโชค กล่าว
Critical Mass ความพยายามที่จะสร้างทัศนคติใหม่ของคนใช้รถใช้ถนน มหานครนี้คงจะน่าอยู่ขึ้นหากคนเริ่มแบ่งปันถนนให้คนได้ใช้จักรยานกันมากขึ้น ประโยชน์ก็เห็นๆ ด้วยราคาน้ำมันที่แพงขึ้น และภาวะโลกร้อน กับผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย อย่างไรก็ตามการขี่จักรยานเพื่อการคมนาคมก็เป็นทางหนึ่งที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้
http://runnercorner.blogspot.com/2008/0 ... -mass.html
มุขฝึดไปหน่อยครับ :oops:
ผมไปไม่กี่ครั้ง เท่าที่สังเกตจากที่ไป ผมอาจผิดนะครับ ปีกย่อยของงาน รายะเอียดอาจต่างกัน ขึ้นกับสถานที่และคนในงานที่ไปไม่ซ้ากัน แต่ภาพรวม ไม่ว่างานไหน จะเปี่ยนชื่อสักกี่ครั้ง ถ้าเอาแป้งมาโรยที่พื้น จะเห็นรูปแบบการก้าวขาของคนในงานที่ไม่เคยเปี่ยน ก้าวของเท้าอาจจะกระจัดกระจายในตอนแรก แต่จะมีแนวโน้มที่รวมตัวกันเข้าสู่ CRITICAL MASS
ผมไปรื้อดูว่ามีงานไหนเอาชื่อนี้ไปใช้บ้าง มีครับ งานใหญ่ซะด้วย
Critical Mass is a bicycling event typically held on the last Friday of every month in over 300 cities around the world.[1] The ride was originally founded in 1992 in San Francisco with the idea of drawing attention to how unfriendly the city was to cyclists.[2] In fact, the purpose of Critical Mass is not usually formalized beyond the direct action of meeting at a set location and time and traveling as a group through city or town streets on bikes. Although for some bigger scale events like the one in Budapest, Hungary there is an activist group formed around it, organizing the rides and communicating the desires and problems of the cyclists to the city council.
"Critical Mass" ภารกิจปั่นประท้วง ปฏิวัติสังคมจักรยาน
ยานพาหนะคับคั่งในวันที่เสรีภาพทางการเงินของคนเมืองมีบทบาทสูงสุด ภาพมหานครที่ถูกครอบครองด้วยการจราจรพิการและมลภาวะอันเลวร้าย จะเกิดอะไรขึ้นถ้าในวัน และเวลา ที่บนถนนมีรถกำลังติดขัดแบบวินาศสันตโรนั้นกลับมีคาราวาน 2 ขา 1 คัน นัดหมายกันตรงใจกลางเมืองเพื่อปั่นจักรยานไปบนท้องถนนที่ไม่มีการสงวนสิทธิ์ให้คนขี่จักรยานแต่อย่างใด โดยแสดงให้เห็นถึงความหลุดพ้นจากพันธนาการบนท้องถนนด้วยการปั่นจักรยาน และเพื่อต้องการเรียกร้องให้สังคมหันมาสนใจความต้องการมีส่วนร่วมในการแบ่งพื้นที่บนท้องถนนให้กับนักปั่นจักรยาน เพื่อให้สังคมมองคนขี่จักรยานอย่างเป็นมิตรมากยิ่งขึ้น คาราวานรถจักรยานของเหล่านักปั่นจึงพร้อมใจกัน ทำกิจกรรมดังกล่าวในรูปแบบที่ถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "Critical Mass"
ปั่นประท้วง
ข้อมูลจากวิกิพีเดียระบุว่า Critical Mass ปกติจัดขึ้นทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน ในเมืองต่างๆ ทั่วโลก โดยนักปั่นจักรยาน, skateboard, inline skaters, roller skaters และพาหนะที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง (ไม่มีเครื่องยนต์) จะวิ่งบนถนนในเมืองเป็นกลุ่มใหญ่ๆ เหตุผลเริ่มแรกเกิดจากผู้ใช้จักรยานตระหนักถึงเมืองที่ไม่เป็นมิตรต่อคนใช้จักรยาน
นักปั่น Critical Mass จึงก่อตัวขึ้นมาเองโดยไม่มีวัตถุประสงค์ทางการค้า ไม่มีการแข่งขัน ดำเนินงานอย่างกระจัดกระจาย และการตัดสินใจที่ไม่เป็นทางการ มีผู้นำกลุ่มที่เป็นอิสระ บ่อยครั้งที่ไม่มีการขออนุญาตล่วงหน้า และการอนุมัติอย่างเป็นทางการจากเทศบาลเมือง โดยทั่วไปเป็นเพียงแค่การนัดหมายสถานที่ วัน และเวลา ในบางเมืองเรื่องเส้นทางจุดสิ้นสุดหรือสถานที่สำคัญระหว่างทางอาจจะเป็นการวางแผนกันเฉพาะหน้า
การปั่น Critical Mass ถูกรับรู้กันว่าเป็นเช่นกิจกรรมการประท้วง บทความนิตยสาร New Yorker ปี 2006 อธิบายกิจกรรม Critical Massใน New York ว่า การปั่นประท้วงประจำเดือนและลักษณะของ Critical Mass ยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนไหวทางสังคมด้วย อย่างไรก็ดีผู้เข้าร่วม Critical Mass ยืนยันว่า เหตุการณ์นี้ควรถูกมองว่าเป็น การพบปะสังสรรค์ และการรวมกลุ่มที่เป็นไปเองโดยธรรมชาติ ไม่ใช่การประท้วงหรือการเดินขบวนที่ถูกจัดการ การปั่น Critical Massในเมืองเล็กๆ ทุกเดือนอาจมีคนมาร่วมน้อยกว่า 20 คนแต่ขณะเดียวกันในบางประเทศก็อาจมีคนใช้จักรยานเข้าร่วมกว่าหมื่นคน
การปั่น Critical Mass ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ 25 กันยายน 1992 เวลา 6 โมงเย็นในSan Franciscoปัจจุบันประมาณกันว่ามีการปั่นจักรยานแบบ Critical Mass มากกว่า 325 เมืองทั่วโลก
ปลายทางเพื่อเส้นทางจักรยาน
และเวลานี้กิจกรรม Critical Mass เกิดขึ้นจริงแล้วในเมืองไทย โดยในครั้งแรกคาราวานนักปั่นได้เริ่มก่อตัวขึ้นเมื่อเย็นวันศุกร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา บริเวณหน้าสยามดิสคัฟเวอร์รี แยกปทุมวัน ถือเป็น Critical Mass ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย โดยการริเริ่มความคิดจาก ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย และ thaiMTB.com เพราะสภาพการจราจรในปัจจุบันที่ไม่เอื้ออำนวยแก่จักรยาน ผู้ที่ใช้ถนนยังไม่รู้จักการใช้ถนนร่วมกับจักรยาน อีกทั้งภาครัฐฯไม่ได้สนับสนุนหรือส่งเสริมเพียงพอในเรื่องช่องทางสำหรับจักรยานบนถนน ทำให้ในครั้งนั้นมีนักปั่นให้การตอบรับร่วมรณรงค์และปลูกจิตสำนึกในการแบ่งปันด้วยการจัดกิจกรรม Critical Mass เป็นจำนวนกว่า 400 คน
สัจจา ขุทรานนท์ ที่เพื่อนๆ นักปั่นเรียกกันว่า น้าเป็ด จากชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย หรือ Thailand Cycling Club เรียกสั้นๆ ว่า TCC ไขข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำ Critical Mass ในบ้านเราให้ให้ฟังว่า
จากนี้ไป Critical Mass จะเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นทุกเดือน เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงการถือสิทธิ์ในการใช้ถนนได้ ถนนไม่ใช่รถยนต์เพียงอย่างเดียว เพื่อกระตุ้นให้ภาครัฐฯ หันมาสนใจสร้างทางจักรยาน เพื่อชักชวนให้ประชาชนหันมาใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน และเพื่อเป็นทางเลือกรัฐฯจึงต้องสร้างทางจักรยานให้ผู้สัญจรที่ใช้จักรยานเป็นการเฉพาะเพื่อลดอุบัติเหตุจากการที่ผู้ขับขี่รถยนต์ประมาทชนคนขับขี่จักรยาน
เป้าหมายหลักของ Critical Mass คือการรณรงค์ให้คนหันมาปั่นจักรยานกันเยอะขึ้นเรื่อยๆ ส่วนเป้าหมายแฝงนั้นคือ การให้ได้ทางจักรยานของจริง คือพวกเราอยากเห็นทางจักรยานเกิดขึ้นใน กทม. จะให้มาโดยง่ายนั้นคิดว่ายาก จึงมารวมกันเรียกร้องสิทธิ์นี้ขึ้น เพื่อไม่ให้หน่วยงานใดที่เกี่ยวกับการทำถนนลืมว่า จักรยานนั้นมีสิทธิ์ที่จะใช้เส้นทางบนถนนเช่นเดียวกัน ผมปรารถนาและมุ่งมั่นที่จะเห็นทางจักรยานใน กทม.
ย้อนกลับไปก่อนเกิด Critical Mass ในบ้านเรา เราก็ทราบกันอยู่ว่า ก่อนหน้านี้การขอทางจักรยานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยวิธีการต่างๆ นาๆ ได้ทำกันมานักต่อนักแล้วแต่ไม่เป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่ที่ทำกันก็คือ การขอกันแบบตรงๆ จากนั้นเราก็ทราบว่า โอกาสจะได้นั้นน้อยมากเต็มที เหตุนี้เองจึงได้มีการเปลี่ยนวิธีคิด วิธีทำใหม่ โดยคิดว่า หากให้คนมาปั่นจักรยานกันเยอะๆ จนถึงปริมาณหนึ่งที่มากพอจนกลายเป็น Critical Mass จนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะทนเพิกเฉยอยู่ไม่ได้ จะถูกบังคับให้สร้างทางจักรยาน และนั่นคือที่มา และผลลัพธ์ที่เกิดจากการจัด Critical Mass ซึ่งไม่ค่อยเหมือนประเทศอื่นๆ ที่เขามีทางจักรยานอยู่บ้างแล้ว
สรุปแล้วเป้าหมายปลายทางของ Critical Mass จริงๆ คือ การให้ได้มาซึ่ง ทางจักรยานของจริง เพียงแต่เราเอารูปแบบของ Critical Mass เป็นภาพวางไว้ข้างหน้าเท่านั้น
โดยน้าเป็ดได้ขยายความถึงคำว่า ทางจักรยานของจริง ในแนวคิดส่วนตัวให้ฟังด้วยว่า
ทางจักรยานของจริง นั้นควรจะต้องประกอบด้วย ลักษณะทางที่เป็นมาตรฐาน ที่ประเทศอื่นๆ ส่วนใหญ่เขาทำกัน เป็นเครือข่ายเชื่อมโยง หรือต่อกัน ยิ่งได้มากเท่าไรก็เป็น ของจริงมากขึ้นเท่านั้น ให้ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ มีการใช้เกิดขึ้นในปริมาณที่คุ้มต่อการสร้างทาง มีการบริหารจัดการ เช่น การออกระเบียบ กฎหมาย มีการบำรุงรักษาสม่ำเสมอ มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และข้อสุดท้ายที่เป็นของจริงแท้ คือเป็นทางตัวอย่างที่ประเทศอื่นๆ ต้องมาดูนำไปใช้
ทางจักรยานในบางกอกเมืองหลวงของเรานั้นต้องทำแผนรองรับขึ้นมาได้ในขณะนี้แล้ว เพราะตั้งแต่ตอนนี้เป็นต้นไปเป็นจังหวะของเรื่องน้ำมันขึ้นราคา
เท่าที่ทราบ กทม.เขาส่งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเดินทางไปดูงานต่างประเทศแล้วหลายคน อันนี้มีใครรู้จักบ้างอยากจะขอบอกผ่านไปยังท่านผู้ว่าด้วย ว่าให้เขาไปดูงานแล้ว กลับมาแล้วไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเลย คิดแล้วมันน่าเสียดายเวลา น้าเป็ดเล่าให้ฟัง
ส่วนตัวผมไม่รู้จักหรอกนะว่าสิ่งที่พวกนักปั่นจักรยานทำกันอยู่นี้เรียกว่าอะไร ผมไม่มีความรู้เรื่อง Critical Mass มาก่อนด้วย ผมเพียงแค่คิดว่าที่เขาทำกันอยู่นี้เป็นการนึกสนุกอยากปั่นจักรยานเป็นทีมมากกว่า คงเป็นการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกาย หรือเพื่อการท่องเที่ยวในกรุงเทพฯ ผมยังไม่รู้สึกถึงการรณรงค์เรื่องอะไรที่ชัดเจน
"ส่วนเรื่องการแบ่งพื้นที่บนท้องถนนไปใช้หรือการทำให้รถติดนั้นผมว่ามันเป็นเรื่องเล็กน้อยมาก เพราะถ้าไม่มีพลพรรคปั่นจักรยานเหล่านี้รถก็ยังติดอยู่ และเท่าที่ผมเห็นเหตุการณ์คือ พวกเขาก็ปั่นไปเรื่อยๆ ไม่ได้หยุดกีดขวางหรือทำการสกัดกั้นการจราจราแต่อย่างได้ เพียงแต่ต้องรอให้พวกเขาออกตัวไปก่อนก็เท่านั้น ทุกอย่างก็เป็นปกติ
แต่ก็มีรถยนต์บางคันเหมือนกันที่ผมเห็นถึงความไม่พอใจในเหล่านักปั่นเหล่านี้ แล้วบีบแตรไล่ เขาคงเป็นห่วงรถยนต์ราคาแพงของเขาโดยอาจจะกลัวได้รับการขีดข่วน หรือกลัวการเกิดอุบัติเหตุเสียมากว่า กรณีอย่างนี้ผมมองว่าควรจะเห็นอกเห็นใจกันคนละครึ่งทาง เพราะการปั่นจักรยานนั้นก็ดี ในสภาวะที่น้ำมันแพงอย่างนี้ ศุภโชค กล่าว
Critical Mass ความพยายามที่จะสร้างทัศนคติใหม่ของคนใช้รถใช้ถนน มหานครนี้คงจะน่าอยู่ขึ้นหากคนเริ่มแบ่งปันถนนให้คนได้ใช้จักรยานกันมากขึ้น ประโยชน์ก็เห็นๆ ด้วยราคาน้ำมันที่แพงขึ้น และภาวะโลกร้อน กับผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย อย่างไรก็ตามการขี่จักรยานเพื่อการคมนาคมก็เป็นทางหนึ่งที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้
http://runnercorner.blogspot.com/2008/0 ... -mass.html
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 38
โอ้ ชอบครับชื่อ Critical Mass
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
- SunShine@Night
- Verified User
- โพสต์: 2196
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 39
"อิ่มเอ่มเคล้าเสียงหัวเราะ เตรียมเคาะขวาวันจันทร์"
VI ฝึกหัด สำนักปีเตอร์ ลินช์
หวังผลต่อแทนทบต้นมากกว่า 15% ต่อปี
หวังผลต่อแทนทบต้นมากกว่า 15% ต่อปี
- crazyrisk
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4549
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 41
kelop เขียน:อีกอัน "รวมใจ vi ต้านภัย vs" :lol:
vs ในความหมายของคุณ kelop คือ
พวกเก็งกำไรรายวัน ใช่ไหมครับ
"Champions aren't made in gyms. Champions are made from something they have deep inside them: A desire, a dream, a vision.
- sathaporne
- Verified User
- โพสต์: 1657
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 42
เล่นมั่งๆ
"ปรองดองvi ซับ (น้ำตาจาก)ภัย set ร่วง"
:lol:
"ปรองดองvi ซับ (น้ำตาจาก)ภัย set ร่วง"
:lol:
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 44
พลพรรครักหุ้น
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
-
- Verified User
- โพสต์: 983
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 47
" คุยสบาย style VI " :lol: :lol: :lol:
เริ่มนับหนึ่ง...
-
- Verified User
- โพสต์: 99
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 48
เอาแบบรายการข่าวยอดฮิตในอดีตดีไหม
"คุยหุ้นข้น ขุ้ยหุ้นเค้ม กับวีไอ" :lol:
"คุยหุ้นข้น ขุ้ยหุ้นเค้ม กับวีไอ" :lol:
-
- Verified User
- โพสต์: 1219
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 49
พี่ๆแต่ละท่านไอเดียสุดยอดทั้งนั้นเลยครับ
ผมก็อยากมีส่วนร่วมด้วยแต่คิดไม่ค่อยออก
ขอส่งแบบพื้นๆเข้าร่วมสนุกแล้วกันครับ
"งานพบปะ สังสรรค์TVI ประจำไตรมาส_/53" ครับ
ผมก็อยากมีส่วนร่วมด้วยแต่คิดไม่ค่อยออก
ขอส่งแบบพื้นๆเข้าร่วมสนุกแล้วกันครับ
"งานพบปะ สังสรรค์TVI ประจำไตรมาส_/53" ครับ
ซื้อหุ้นตัวที่เมื่อมองไปในอนาคตแล้ว ที่ปัจจุบันราคายัง undervalue ที่สุด
- BalsamiC
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 398
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 54
"นัดร้อยคน เน้นร้อยเล่ม แนะร้อยหุ้น"
ปล. ความหมายที่อยากจะสื่อ คือ การมารวมกันของสมาชิกที่มีแนวคิดและความเชื่อตามทฤษฎีเดียวกันเพื่อมาแลกเปลี่ยนความคิดเรื่องหุ้นกันน่ะครับ (รวมกับเอาคำที่ทุกๆท่านน่าจะนึกถึงเสมอเวลาเข้าเวปมาประกอบรวมครับ) :oops:
ปล. ความหมายที่อยากจะสื่อ คือ การมารวมกันของสมาชิกที่มีแนวคิดและความเชื่อตามทฤษฎีเดียวกันเพื่อมาแลกเปลี่ยนความคิดเรื่องหุ้นกันน่ะครับ (รวมกับเอาคำที่ทุกๆท่านน่าจะนึกถึงเสมอเวลาเข้าเวปมาประกอบรวมครับ) :oops:
- MO101
- Verified User
- โพสต์: 3226
- ผู้ติดตาม: 0
ประกวด ชื่อ "งานจิบเบียร์เชียร์หุ้น" ในดวงใจ
โพสต์ที่ 56
รวมพลคนขายหมู
มันคงแปลกพิลึก :lol:
มันคงแปลกพิลึก :lol: