ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 42
- ผู้ติดตาม: 0
อดีตจำไม่ได้ครับ แต่ปัจจุบัน ....
โพสต์ที่ 10
อดีตจำไม่ได้แล้วครับ เพราะเพิ่งเล่นหุ้นเมื่อปีที่ผ่านมาเอง แต่ถ้าถามถึงปัจจุบัน ผมทยอยเก็บตัวพวกนี้อ่ะครับ (ไม่รู้คิดถูกหรือป่าว)
TMB เก็บตอน 1.10 และยังเก็บต่อถ้าต่ำกว่า 1.30 เชื่อมั่นใน ผู้บริหารและ ING ครับผม และก็เชื่อว่า พี่กร ขายแน่ ๆ 55555
IRPC ยังไม่เริ่มแต่น่าจะวิกฤตอาทิตย์หน้าเนี่ยล่ะ
CAWOW กำลังมองอยู่ ถ้า ERIC นำไปไม่ไหว MAJOR ไม่เอา ผมว่าก็น่าจะมีคนสนใจซื้อต่อนะ แถมราคาถูกด้วย สาขาก็เยอะ ปรับปรุงนิดหน่อย น่าจะไปได้โลด
ตอนนี้มีสามตัวนะครับ ถ้าผมคิดผิด ก็ชี้แนะกันด้วยนะครับ
TMB เก็บตอน 1.10 และยังเก็บต่อถ้าต่ำกว่า 1.30 เชื่อมั่นใน ผู้บริหารและ ING ครับผม และก็เชื่อว่า พี่กร ขายแน่ ๆ 55555
IRPC ยังไม่เริ่มแต่น่าจะวิกฤตอาทิตย์หน้าเนี่ยล่ะ
CAWOW กำลังมองอยู่ ถ้า ERIC นำไปไม่ไหว MAJOR ไม่เอา ผมว่าก็น่าจะมีคนสนใจซื้อต่อนะ แถมราคาถูกด้วย สาขาก็เยอะ ปรับปรุงนิดหน่อย น่าจะไปได้โลด
ตอนนี้มีสามตัวนะครับ ถ้าผมคิดผิด ก็ชี้แนะกันด้วยนะครับ
- unnop.t
- Verified User
- โพสต์: 924
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 11
คุ้นๆ ว่าผู้บริหารไม่ค่อยโปร่งใสเท่าไหร่นะ :(CAWOW กำลังมองอยู่ ถ้า ERIC นำไปไม่ไหว MAJOR ไม่เอา ผมว่าก็น่าจะมีคนสนใจซื้อต่อนะ แถมราคาถูกด้วย สาขาก็เยอะ ปรับปรุงนิดหน่อย น่าจะไปได้โลด
ตลาดหุ้นมักจะหลอกเราด้วย ความโลภ และความกลัว.....
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 13
แนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนกรณีมีการดำเนินงานหรือฐานะการเงินที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน
หลักการ
เพื่อดูแลสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อย ดูแลบริษัทที่มีฐานะการเงินไม่แข็งแรงโดยวิธีแยกกลุ่มออกมาจากบริษัทที่มีฐานะการเงินแข็งแรง และกระตุ้นให้บริษัทเร่งฟื้นฟูกิจการโดยยังคงมีสถานะการเป็นบริษัทจดทะเบียน
แนวทางดำเนินการ
ใช้เครื่องหมาย NC (Non - compliance) เพื่อแสดงให้ผู้ลงทุนทราบว่าเป็นหลักทรัพย์ที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนและเครื่องหมาย SP (Suspension) เพื่อสั่งห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ พร้อมทั้งให้เวลา 2 ปี ในการฟื้นฟูกิจการ
หากบริษัทดำเนินการให้พ้นเหตุเพิกถอนได้ใน 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะปลดเครื่องหมาย NC และ SP เพื่ออนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทได้ตามปกติ
หากบริษัทดำเนินการให้พ้นเหตุเพิกถอนไม่ได้ใน 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะถอนชื่อหลักทรัพย์ออกจากกระดานซื้อขายหลักทรัพย์ไปอยู่ในกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ภายในกำหนด (Non-Performing Group) โดยยังคงสถานะการเป็นบริษัทจดทะเบียนซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลและปฏิบัติตามข้อตกลงการเป็นบริษัทจดทะเบียน
บริษัทที่อยู่ใน Non-Performing Group จะสามารถย้ายกลับสู่หมวดปกติได้เมื่อดำเนินการให้มีคุณสมบัติพ้นเหตุเพิกถอน
หลักการ
เพื่อดูแลสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อย ดูแลบริษัทที่มีฐานะการเงินไม่แข็งแรงโดยวิธีแยกกลุ่มออกมาจากบริษัทที่มีฐานะการเงินแข็งแรง และกระตุ้นให้บริษัทเร่งฟื้นฟูกิจการโดยยังคงมีสถานะการเป็นบริษัทจดทะเบียน
แนวทางดำเนินการ
ใช้เครื่องหมาย NC (Non - compliance) เพื่อแสดงให้ผู้ลงทุนทราบว่าเป็นหลักทรัพย์ที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนและเครื่องหมาย SP (Suspension) เพื่อสั่งห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ พร้อมทั้งให้เวลา 2 ปี ในการฟื้นฟูกิจการ
หากบริษัทดำเนินการให้พ้นเหตุเพิกถอนได้ใน 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะปลดเครื่องหมาย NC และ SP เพื่ออนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทได้ตามปกติ
หากบริษัทดำเนินการให้พ้นเหตุเพิกถอนไม่ได้ใน 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะถอนชื่อหลักทรัพย์ออกจากกระดานซื้อขายหลักทรัพย์ไปอยู่ในกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ภายในกำหนด (Non-Performing Group) โดยยังคงสถานะการเป็นบริษัทจดทะเบียนซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลและปฏิบัติตามข้อตกลงการเป็นบริษัทจดทะเบียน
บริษัทที่อยู่ใน Non-Performing Group จะสามารถย้ายกลับสู่หมวดปกติได้เมื่อดำเนินการให้มีคุณสมบัติพ้นเหตุเพิกถอน
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 14
เกณฑ์ที่ใช้พิจารณา
หุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนกรณีมีการดำเนินงานหรือฐานะการเงินเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน โดยในกรณีมีฐานะการเงินซึ่งเปิดเผยในงบการเงินหรือ
งบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว แสดงว่าส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์นั้น แนวทางในการพิจารณามีดังนี้
1. ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่ปรากฏในงบการเงินมีค่าน้อยกว่าศูนย์
2. ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่ปรากฏในงบการเงิน มีค่ามากกว่าศูนย์ แต่ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข หรือไม่แสดงความเห็น หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง และหากปรับปรุงตามความเห็นของผู้สอบบัญชีแล้ว ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
ในการปรับปรุงตามความเห็นผู้สอบบัญชี ตลาดหลักทรัพย์จะใช้ตัวเลขที่ปรากฏเป็นเงื่อนไขตามรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งมีผลกระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมาปรับปรุงส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล เพื่อพิจารณาการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ ดังนี้
2.1 กรณีผู้สอบบัญชีระบุตัวเลขที่ชัดเจนเป็นเงื่อนไขในรายงานของผู้สอบบัญชี ให้ใช้ตัวเลขที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้นั้นเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.2 กรณีผู้สอบบัญชีให้ความเห็นว่าบริษัทไม่ได้ตั้งค่าเผื่อผลเสียหายของสินทรัพย์ เช่น ลูกหนี้ สินค้า
คงคลัง หรือเงินลงทุน โดยไม่ระบุตัวเลขมูลค่าเผื่อผลเสียหาย ให้ปรับปรุงโดยใช้ยอดสินทรัพย์ที่สงสัยนั้นทั้งจำนวนเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.3 กรณีบริษัทไม่บันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อยตามวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) ให้ใช้ตัวเลขผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้ยอดเงินลงทุนดังกล่าวนั้นทั้งจำนวนมาปรับปรุงเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.4 กรณีมีเงื่อนไขเกี่ยวกับข้อพิพาททางกฎหมายซึ่งเป็นภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (Off Balance Sheet) ให้ใช้ตัวเลขผลกระทบที่ระบุไว้ตามความเห็นผู้สอบบัญชีเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
ตลาดหลักทรัพย์จะพิจารณาปรับปรุงส่วนของผู้ถือหุ้นตามความเห็นของผู้สอบบัญชีตามหลักเกณฑ์ข้างต้นภายใน 7 วันทำการ นับแต่วันที่บริษัทจดทะเบียนนำส่งงบการเงินมายังตลาดหลักทรัพย์
3. ตลาดหลักทรัพย์ยกเว้นไม่นับผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงในการพิจารณาตัวเลขส่วนของผู้ถือหุ้นตามเกณฑ์ดังกล่าว ทั้งนี้เฉพาะกรณีที่บริษัทมีหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เกิดก่อนการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเป็นแบบลอยตัว โดยบริษัทจดทะเบียนต้องเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้
3.1 จัดทำรายงานข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และแยกแสดง
ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นจริง (Realized) และยังไม่เกิดขึ้นจริง (Unrealized) รวมทั้งให้รายงานมูลค่าหนี้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ จำนวนที่ครบกำหนดชำระในรอบปีบัญชีปัจจุบัน และแยกแสดงมูลค่าหนี้ที่จะถึงกำหนดชำระในแต่ละรอบปีบัญชีต่อไปให้ครบถ้วนชัดเจน
3.2 ให้ผู้สอบบัญชีสอบทานรายงานของฝ่ายบริหารของบริษัทตามข้อ 3.1 และนำส่งรายงานการสอบทานของผู้สอบบัญชีพร้อมงบการเงินในแต่ละงวด
อนึ่ง ตลาดหลักทรัพย์จะไม่นับรวมรายการประเมินราคาทรัพย์สินเพิ่มอันเป็นผลสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงระบบแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศดังกล่าว เข้าในการผ่อนผันการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการข้างต้น
4. ตลาดหลักทรัพย์จะไม่ประกาศการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ หากบริษัทจดทะเบียนสามารถดำเนินการแก้ไขจนพ้นเหตุดังกล่าวกล่าวคือทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นมากกว่าศูนย์ ทั้งนี้ในการแก้ไขเหตุดังกล่าวนั้น บริษัทจดทะเบียนจะใช้วิธีการลดทุนเพียงวิธีการเดียวไม่ได้ เว้นแต่จะมีวิธีการเพิ่มทุนควบคู่กันไป หรือการมีผู้ร่วมทุนใหม่ที่มีศักยภาพและมีการนำเม็ดเงินใหม่เข้ามาในกิจการ ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทจดทะเบียนมีกระแสเงินทุนหมุนเวียนภายในกิจการและช่วยให้ธุรกิจหลักของบริษัทดำเนินไปอย่างราบรื่นตามสภาพที่ควร และได้มีการเปิดเผยข้อมูลและนำเสนอให้
ผู้ถือหุ้นอนุมัติก่อนดำเนินการ โดยบริษัทจะต้องจัดส่งงบการเงิน ณ วันที่ที่บริษัทได้แก้ไขเหตุที่ต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการหรือรายงานที่แสดงว่าบริษัทได้ดำเนินการแก้ไขจนพ้นเหตุดังกล่าวแล้วพร้อมกับงบการเงินประจำปีตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์
หุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนกรณีมีการดำเนินงานหรือฐานะการเงินเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน โดยในกรณีมีฐานะการเงินซึ่งเปิดเผยในงบการเงินหรือ
งบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว แสดงว่าส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์นั้น แนวทางในการพิจารณามีดังนี้
1. ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่ปรากฏในงบการเงินมีค่าน้อยกว่าศูนย์
2. ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่ปรากฏในงบการเงิน มีค่ามากกว่าศูนย์ แต่ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข หรือไม่แสดงความเห็น หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง และหากปรับปรุงตามความเห็นของผู้สอบบัญชีแล้ว ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
ในการปรับปรุงตามความเห็นผู้สอบบัญชี ตลาดหลักทรัพย์จะใช้ตัวเลขที่ปรากฏเป็นเงื่อนไขตามรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งมีผลกระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมาปรับปรุงส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล เพื่อพิจารณาการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ ดังนี้
2.1 กรณีผู้สอบบัญชีระบุตัวเลขที่ชัดเจนเป็นเงื่อนไขในรายงานของผู้สอบบัญชี ให้ใช้ตัวเลขที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้นั้นเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.2 กรณีผู้สอบบัญชีให้ความเห็นว่าบริษัทไม่ได้ตั้งค่าเผื่อผลเสียหายของสินทรัพย์ เช่น ลูกหนี้ สินค้า
คงคลัง หรือเงินลงทุน โดยไม่ระบุตัวเลขมูลค่าเผื่อผลเสียหาย ให้ปรับปรุงโดยใช้ยอดสินทรัพย์ที่สงสัยนั้นทั้งจำนวนเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.3 กรณีบริษัทไม่บันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อยตามวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) ให้ใช้ตัวเลขผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้ยอดเงินลงทุนดังกล่าวนั้นทั้งจำนวนมาปรับปรุงเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
2.4 กรณีมีเงื่อนไขเกี่ยวกับข้อพิพาททางกฎหมายซึ่งเป็นภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (Off Balance Sheet) ให้ใช้ตัวเลขผลกระทบที่ระบุไว้ตามความเห็นผู้สอบบัญชีเป็นส่วนหักกับส่วนของผู้ถือหุ้น
ตลาดหลักทรัพย์จะพิจารณาปรับปรุงส่วนของผู้ถือหุ้นตามความเห็นของผู้สอบบัญชีตามหลักเกณฑ์ข้างต้นภายใน 7 วันทำการ นับแต่วันที่บริษัทจดทะเบียนนำส่งงบการเงินมายังตลาดหลักทรัพย์
3. ตลาดหลักทรัพย์ยกเว้นไม่นับผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงในการพิจารณาตัวเลขส่วนของผู้ถือหุ้นตามเกณฑ์ดังกล่าว ทั้งนี้เฉพาะกรณีที่บริษัทมีหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เกิดก่อนการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเป็นแบบลอยตัว โดยบริษัทจดทะเบียนต้องเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้
3.1 จัดทำรายงานข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และแยกแสดง
ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นจริง (Realized) และยังไม่เกิดขึ้นจริง (Unrealized) รวมทั้งให้รายงานมูลค่าหนี้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ จำนวนที่ครบกำหนดชำระในรอบปีบัญชีปัจจุบัน และแยกแสดงมูลค่าหนี้ที่จะถึงกำหนดชำระในแต่ละรอบปีบัญชีต่อไปให้ครบถ้วนชัดเจน
3.2 ให้ผู้สอบบัญชีสอบทานรายงานของฝ่ายบริหารของบริษัทตามข้อ 3.1 และนำส่งรายงานการสอบทานของผู้สอบบัญชีพร้อมงบการเงินในแต่ละงวด
อนึ่ง ตลาดหลักทรัพย์จะไม่นับรวมรายการประเมินราคาทรัพย์สินเพิ่มอันเป็นผลสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงระบบแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศดังกล่าว เข้าในการผ่อนผันการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการข้างต้น
4. ตลาดหลักทรัพย์จะไม่ประกาศการเข้าข่ายต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ หากบริษัทจดทะเบียนสามารถดำเนินการแก้ไขจนพ้นเหตุดังกล่าวกล่าวคือทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้นมากกว่าศูนย์ ทั้งนี้ในการแก้ไขเหตุดังกล่าวนั้น บริษัทจดทะเบียนจะใช้วิธีการลดทุนเพียงวิธีการเดียวไม่ได้ เว้นแต่จะมีวิธีการเพิ่มทุนควบคู่กันไป หรือการมีผู้ร่วมทุนใหม่ที่มีศักยภาพและมีการนำเม็ดเงินใหม่เข้ามาในกิจการ ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทจดทะเบียนมีกระแสเงินทุนหมุนเวียนภายในกิจการและช่วยให้ธุรกิจหลักของบริษัทดำเนินไปอย่างราบรื่นตามสภาพที่ควร และได้มีการเปิดเผยข้อมูลและนำเสนอให้
ผู้ถือหุ้นอนุมัติก่อนดำเนินการ โดยบริษัทจะต้องจัดส่งงบการเงิน ณ วันที่ที่บริษัทได้แก้ไขเหตุที่ต้องจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการหรือรายงานที่แสดงว่าบริษัทได้ดำเนินการแก้ไขจนพ้นเหตุดังกล่าวแล้วพร้อมกับงบการเงินประจำปีตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 15
ขั้นตอนดำเนินการ
1. การดำเนินการของตลาดหลักทรัพย์
1.1 ประกาศว่าหลักทรัพย์ของบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) และ SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์บริษัทดังกล่าว รวมทั้งมีหนังสือแจ้งบริษัทจดทะเบียน
1.2 ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนจนครบ 30 วันนับจากวันประกาศว่าหลักทรัพย์ของบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียนมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทจดทะเบียนและผู้ถือหุ้นของบริษัท และแจ้งตลาดหลักทรัพย์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้ทราบ
1) ทางเลือกว่าจะทำแผนฟื้นฟูกิจการเสนอผู้ถือหุ้นก่อนดำเนินการหรือเลือกที่จะขอเพิกถอนโดยสมัครใจ หรือเลือกยื่นคำร้องขอต่อศาลเสนอแผนฟื้นฟูตามพระราชบัญญัติล้มละลาย หรือทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท
2) กำหนดเวลาดำเนินการในแต่ละทางเลือกตามข้อ 1)
1.3 เมื่อครบกำหนด 30 วัน และบริษัทได้แจ้งการตัดสินใจดังกล่าวอย่างครบถ้วนและชัดเจนแล้ว ตลาดหลักทรัพย์จะอนุญาตให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนเป็นเวลา 30 วันและจะขึ้น SP จนกว่าบริษัทสามารถฟื้นฟูกิจการจนทำให้บริษัทพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอนของตลาดหลักทรัพย์ ในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัท
จดทะเบียนยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
2. การดำเนินการของบริษัทจดทะเบียนในแต่ละทางเลือก
กรณีบริษัททำแผนฟื้นฟูกิจการเสนอผู้ถือหุ้น
- แต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระร่วมจัดทำแผนดำเนินการเพื่อฟื้นฟูกิจการของบริษัท
- ร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินอิสระจัดประชุมชี้แจงแผนดำเนินการต่อนักวิเคราะห์ และขออนุมัติแผนดำเนินการต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท
ทั้งนี้ แผนฟื้นฟูกิจการต้องมีข้อสมมติฐานที่สมเหตุสมผล มีขั้นตอนที่เป็นรูปธรรมในรายละเอียดและแสดงวิธีการวัดผลการดำเนินงานในทุกขั้นตอนดังกล่าว แผนดังกล่าวควรแสดงประมาณการทางการเงินและแสดงข้อมูลเป็น
รายไตรมาส โดยกล่าวถึงการผลิต การจำหน่าย รายได้ ต้นทุนการผลิต ค่าใช้จ่ายด้านการขายและการบริหาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และกำไรสุทธิและรายละเอียดอื่นที่จำเป็นและสมควร สำหรับประมาณการทางการเงินนั้นให้ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชีของบริษัทด้วย
กรณีบริษัทยื่นคำร้องขอต่อศาลเสนอแผนฟื้นฟูตามพระราชบัญญัติล้มละลาย
- อนุโลมให้ผู้จัดทำแผนที่ศาลแต่งตั้งเป็นผู้ทำหน้าที่จัดทำแผนแทนบริษัทจดทะเบียนและที่ปรึกษาทางการเงิน
- อนุโลมให้ใช้แผนฟื้นฟูกิจการที่เจ้าหนี้และศาลเห็นชอบแทนแผนฟื้นฟูกิจการที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ
3. การนำส่งแผนฟื้นฟูกิจการต่อตลาดหลักทรัพย์
เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้มีข้อมูลเกี่ยวกับแผนฟื้นฟูกิจการประกอบการพิจารณาอนุมัติให้บริษัทดำเนินการตามแผน ตลอดจนใช้ประกอบการติดตามการฟื้นฟูกิจการของบริษัท บริษัทจดทะเบียนจะต้องดำเนินการดังนี้
3.1 นำส่งแผนฟื้นฟูกิจการ พร้อมเปิดเผยเงื่อนไขต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนและชัดเจนต่อตลาดหลักทรัพย์และต่อผู้ถือหุ้นทุกรายก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น โดยให้นำส่งพร้อมความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินอิสระและความเห็นของกรรมการอิสระเกี่ยวกับแผนฟื้นฟูกิจการและเอกสารเชิญประชุม
ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนฟื้นฟูกิจการดังกล่าว
3.2 นำส่งแผนฟื้นฟูกิจการฉบับที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือแผนฟื้นฟูกิจการที่ผ่านความเห็นชอบจากศาลต่อตลาดหลักทรัพย์จำนวน 5 ฉบับ
4. การรายงานความคืบหน้าของการฟื้นฟู
ให้บริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ/ผู้จัดทำและผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการที่ศาลแต่งตั้งมีหน้าที่รายงานความคืบหน้าของการดำเนินการที่เกิดขึ้นจริงกับแผนฟื้นฟูกิจการต่อตลาดหลักทรัพย์ทุกไตรมาส โดยให้นำส่งพร้อมกับการนำส่งงบการเงิน รวมทั้งเมื่อมีความคืบหน้าในการดำเนินการอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละขั้นตอน ก็ให้บริษัทรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ทันที
สำหรับกรณีที่บริษัทฟื้นฟูกิจการตามกระบวนการศาลล้มละลายกลางและถูกขึ้นเครื่องหมาย SP ซึ่งได้รับยกเว้นการนำส่งงบการเงินประจำไตรมาสที่ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี โดยให้นำส่งรายงานทางการเงินสำหรับรอบระยะเวลา 6 เดือนแรกของปีบัญชีแต่ไม่จำเป็นต้องผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี บริษัทดังกล่าวยังคงมีหน้าที่ต้องรายงานความคืบหน้าในการฟื้นฟูต่อตลาดหลักทรัพย์ทุก 3 เดือน หรือในวันเดียวกับวันครบกำหนดส่งงบการเงินในแต่ละไตรมาส
1. การดำเนินการของตลาดหลักทรัพย์
1.1 ประกาศว่าหลักทรัพย์ของบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) และ SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์บริษัทดังกล่าว รวมทั้งมีหนังสือแจ้งบริษัทจดทะเบียน
1.2 ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนจนครบ 30 วันนับจากวันประกาศว่าหลักทรัพย์ของบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียนมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทจดทะเบียนและผู้ถือหุ้นของบริษัท และแจ้งตลาดหลักทรัพย์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้ทราบ
1) ทางเลือกว่าจะทำแผนฟื้นฟูกิจการเสนอผู้ถือหุ้นก่อนดำเนินการหรือเลือกที่จะขอเพิกถอนโดยสมัครใจ หรือเลือกยื่นคำร้องขอต่อศาลเสนอแผนฟื้นฟูตามพระราชบัญญัติล้มละลาย หรือทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท
2) กำหนดเวลาดำเนินการในแต่ละทางเลือกตามข้อ 1)
1.3 เมื่อครบกำหนด 30 วัน และบริษัทได้แจ้งการตัดสินใจดังกล่าวอย่างครบถ้วนและชัดเจนแล้ว ตลาดหลักทรัพย์จะอนุญาตให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนเป็นเวลา 30 วันและจะขึ้น SP จนกว่าบริษัทสามารถฟื้นฟูกิจการจนทำให้บริษัทพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอนของตลาดหลักทรัพย์ ในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัท
จดทะเบียนยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
2. การดำเนินการของบริษัทจดทะเบียนในแต่ละทางเลือก
กรณีบริษัททำแผนฟื้นฟูกิจการเสนอผู้ถือหุ้น
- แต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระร่วมจัดทำแผนดำเนินการเพื่อฟื้นฟูกิจการของบริษัท
- ร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินอิสระจัดประชุมชี้แจงแผนดำเนินการต่อนักวิเคราะห์ และขออนุมัติแผนดำเนินการต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท
ทั้งนี้ แผนฟื้นฟูกิจการต้องมีข้อสมมติฐานที่สมเหตุสมผล มีขั้นตอนที่เป็นรูปธรรมในรายละเอียดและแสดงวิธีการวัดผลการดำเนินงานในทุกขั้นตอนดังกล่าว แผนดังกล่าวควรแสดงประมาณการทางการเงินและแสดงข้อมูลเป็น
รายไตรมาส โดยกล่าวถึงการผลิต การจำหน่าย รายได้ ต้นทุนการผลิต ค่าใช้จ่ายด้านการขายและการบริหาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และกำไรสุทธิและรายละเอียดอื่นที่จำเป็นและสมควร สำหรับประมาณการทางการเงินนั้นให้ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชีของบริษัทด้วย
กรณีบริษัทยื่นคำร้องขอต่อศาลเสนอแผนฟื้นฟูตามพระราชบัญญัติล้มละลาย
- อนุโลมให้ผู้จัดทำแผนที่ศาลแต่งตั้งเป็นผู้ทำหน้าที่จัดทำแผนแทนบริษัทจดทะเบียนและที่ปรึกษาทางการเงิน
- อนุโลมให้ใช้แผนฟื้นฟูกิจการที่เจ้าหนี้และศาลเห็นชอบแทนแผนฟื้นฟูกิจการที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ
3. การนำส่งแผนฟื้นฟูกิจการต่อตลาดหลักทรัพย์
เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้มีข้อมูลเกี่ยวกับแผนฟื้นฟูกิจการประกอบการพิจารณาอนุมัติให้บริษัทดำเนินการตามแผน ตลอดจนใช้ประกอบการติดตามการฟื้นฟูกิจการของบริษัท บริษัทจดทะเบียนจะต้องดำเนินการดังนี้
3.1 นำส่งแผนฟื้นฟูกิจการ พร้อมเปิดเผยเงื่อนไขต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนและชัดเจนต่อตลาดหลักทรัพย์และต่อผู้ถือหุ้นทุกรายก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น โดยให้นำส่งพร้อมความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินอิสระและความเห็นของกรรมการอิสระเกี่ยวกับแผนฟื้นฟูกิจการและเอกสารเชิญประชุม
ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนฟื้นฟูกิจการดังกล่าว
3.2 นำส่งแผนฟื้นฟูกิจการฉบับที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือแผนฟื้นฟูกิจการที่ผ่านความเห็นชอบจากศาลต่อตลาดหลักทรัพย์จำนวน 5 ฉบับ
4. การรายงานความคืบหน้าของการฟื้นฟู
ให้บริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ/ผู้จัดทำและผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการที่ศาลแต่งตั้งมีหน้าที่รายงานความคืบหน้าของการดำเนินการที่เกิดขึ้นจริงกับแผนฟื้นฟูกิจการต่อตลาดหลักทรัพย์ทุกไตรมาส โดยให้นำส่งพร้อมกับการนำส่งงบการเงิน รวมทั้งเมื่อมีความคืบหน้าในการดำเนินการอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละขั้นตอน ก็ให้บริษัทรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ทันที
สำหรับกรณีที่บริษัทฟื้นฟูกิจการตามกระบวนการศาลล้มละลายกลางและถูกขึ้นเครื่องหมาย SP ซึ่งได้รับยกเว้นการนำส่งงบการเงินประจำไตรมาสที่ผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี โดยให้นำส่งรายงานทางการเงินสำหรับรอบระยะเวลา 6 เดือนแรกของปีบัญชีแต่ไม่จำเป็นต้องผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชี บริษัทดังกล่าวยังคงมีหน้าที่ต้องรายงานความคืบหน้าในการฟื้นฟูต่อตลาดหลักทรัพย์ทุก 3 เดือน หรือในวันเดียวกับวันครบกำหนดส่งงบการเงินในแต่ละไตรมาส
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 16
การพิจารณาระยะเวลา 2 ปี ในการฟื้นฟูกิจการ
ตลาดหลักทรัพย์จะให้โอกาสบริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนฟื้นฟูกิจการในหมวดปกติเป็นเวลา 2 ปี นับแต่
วันประกาศว่าบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน โดยพิจารณาจากงบการเงินที่มีกำหนดส่งล่าสุดหลังวันครบกำหนด 2 ปีนับแต่วันประกาศว่าบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน หรืองบการเงินล่าสุดที่มี ซึ่งผ่านการตรวจสอบหรือสอบทานจากผู้สอบบัญชี ตัวอย่างเช่น ตลาดหลักทรัพย์ประกาศเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนบริษัทที่มีงวดบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2548 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2549 ในการพิจารณางบการเงินเมื่อครบกำหนด 2 ปี จะพิจารณาจากงบการเงินล่าสุดที่ครบกำหนดนำส่งภายหลังวันที่ 9 มีนาคม 2549 กล่าวคือ จะเป็นงบการเงินสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2551 ที่ครบกำหนดนำส่งวันที่ 15 พฤษภาคม 2551
ตลาดหลักทรัพย์จะให้โอกาสบริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนฟื้นฟูกิจการในหมวดปกติเป็นเวลา 2 ปี นับแต่
วันประกาศว่าบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน โดยพิจารณาจากงบการเงินที่มีกำหนดส่งล่าสุดหลังวันครบกำหนด 2 ปีนับแต่วันประกาศว่าบริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอน หรืองบการเงินล่าสุดที่มี ซึ่งผ่านการตรวจสอบหรือสอบทานจากผู้สอบบัญชี ตัวอย่างเช่น ตลาดหลักทรัพย์ประกาศเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนบริษัทที่มีงวดบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2548 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2549 ในการพิจารณางบการเงินเมื่อครบกำหนด 2 ปี จะพิจารณาจากงบการเงินล่าสุดที่ครบกำหนดนำส่งภายหลังวันที่ 9 มีนาคม 2549 กล่าวคือ จะเป็นงบการเงินสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2551 ที่ครบกำหนดนำส่งวันที่ 15 พฤษภาคม 2551
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 17
แนวทางและขั้นตอนดำเนินการเพื่อขอพ้นเหตุเพิกถอน
บริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขปัญหาการดำเนินงานและฐานะการเงินแล้วเสร็จ สามารถยื่นคำขอพ้นเหตุเพิกถอนโดยตลาดหลักทรัพย์มีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
1. เกณฑ์ที่ใช้พิจารณา
ตลาดหลักทรัพย์จะพิจารณาจากงบการเงินรายไตรมาสหรืองบการเงินประจำปีที่ผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี โดยมีเกณฑ์พิจารณาดังนี้
1) มีส่วนของผู้ถือหุ้น (ภายหลังปรับปรุงความเห็นผู้สอบบัญชี) > 0
2) มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงานในธุรกิจหลัก 3 ไตรมาสติดต่อกัน หรือ 1 ปี ก่อนยื่นคำขอ
3) ปรับโครงสร้างหนี้ได้มากกว่าร้อยละ 75 ของมูลหนี้ทั้งหมดของบริษัท โดยในช่วงเวลาที่พิจารณาผลการดำเนินงานตาม 2) บริษัทสามารถจ่ายชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้สถาบันการเงินได้ตามกำหนดเวลา และแผนปรับโครงสร้างหนี้คำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อย
4) สามารถแสดงได้ว่าบริษัทจะมีฐานะการเงินและผลการดำเนินงานที่มั่นคงตามสภาพธุรกิจของบริษัทไปอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณากระแสเงินสดของกิจการประกอบด้วย
2. วิธีการพิจารณา
ให้บริษัทจดทะเบียนที่ประสงค์จะขอพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน มีหนังสือชี้แจงโดยแสดงเหตุผลหรือข้อมูลสนับสนุนที่บริษัทจดทะเบียนเห็นว่าฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน
ในการปรับปรุงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนเพื่อฟื้นฟูกิจการดังกล่าว ตลาด-หลักทรัพย์อาจผ่อนผันการเข้ามาร่วมทุนของผู้ร่วมทุนรายใหม่ หรือการนำธุรกิจใหม่หรือสินทรัพย์เข้ามาเสริมในธุรกิจเดิมของบริษัทจดทะเบียน แต่ทั้งนี้ต้องสามารถแสดงได้ว่าผู้ร่วมทุนรายใหม่ หรือธุรกิจหรือสินทรัพย์ใหม่นั้นจะเป็นผลดีต่อการปรับปรุงกิจการของบริษัทจดทะเบียนและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทั่วไป
3. การกำหนดเงื่อนไข
1) Silent Period
ในกรณีที่ตลาดหลักทรัพย์พิจารณาแล้วเห็นว่าบริษัทมีคุณสมบัติครบถ้วนในการขอพ้นเหตุอาจถูก
เพิกถอน ตลาดหลักทรัพย์จะกำหนดระยะเวลาการห้ามขายหุ้นและหลักทรัพย์ที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นของบริษัท (Silent Period) โดยการห้ามผู้ถือหุ้นที่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัท (Strategic Shareholder) ขายหลักทรัพย์ของบริษัทที่ตนเองถืออยู่ทั้งหมด เป็นเวลา 1 ปี นับแต่วันที่หุ้นของบริษัท เริ่มซื้อขายในหมวดอุตสาหกรรมปกติ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวสามารถขายหลักทรัพย์ของบริษัทได้ร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกห้ามขายทั้งหมด นับแต่วันเปิดซื้อขายวันแรกจนครบ 6 เดือนแรก และทยอยขายได้อีกร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกห้ามขายทั้งหมด ภายใน 6 เดือนถัดไป ทั้งนี้หากบริษัทมีการเพิ่มทุนหรือมีการออกหลักทรัพย์ที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นของบริษัทโดยจัดสรรให้กับผู้ถือหุ้นเดิมในช่วงระยะเวลาการห้ามขายหุ้นดังกล่าว การกำหนดจำนวนการห้ามขายหลักทรัพย์ให้รวมถึงจำนวนหลักทรัพย์เพิ่มทุนของ Strategic Shareholders ที่ได้รับการจัดสรรดังกล่าวด้วย
2) เงื่อนไขอื่น
ตลาดหลักทรัพย์อาจกำหนดเงื่อนไขให้บริษัทจดทะเบียนดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
(1) กำหนดให้บริษัทลงนามในข้อตกลงเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ฉบับใหม่
(2) กำหนดเงื่อนไขให้ดำเนินการใด ๆ หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทจดทะเบียนกับผู้ถือหุ้นใหญ่หรือผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน
4. การประกาศพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน
ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพย์จะเผยแพร่ข้อมูลการพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอนให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้ทราบล่วงหน้า
7 วันทำการก่อนเริ่มซื้อขายในหมวดอุตสาหกรรมปกติ
บริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขปัญหาการดำเนินงานและฐานะการเงินแล้วเสร็จ สามารถยื่นคำขอพ้นเหตุเพิกถอนโดยตลาดหลักทรัพย์มีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
1. เกณฑ์ที่ใช้พิจารณา
ตลาดหลักทรัพย์จะพิจารณาจากงบการเงินรายไตรมาสหรืองบการเงินประจำปีที่ผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี โดยมีเกณฑ์พิจารณาดังนี้
1) มีส่วนของผู้ถือหุ้น (ภายหลังปรับปรุงความเห็นผู้สอบบัญชี) > 0
2) มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงานในธุรกิจหลัก 3 ไตรมาสติดต่อกัน หรือ 1 ปี ก่อนยื่นคำขอ
3) ปรับโครงสร้างหนี้ได้มากกว่าร้อยละ 75 ของมูลหนี้ทั้งหมดของบริษัท โดยในช่วงเวลาที่พิจารณาผลการดำเนินงานตาม 2) บริษัทสามารถจ่ายชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้สถาบันการเงินได้ตามกำหนดเวลา และแผนปรับโครงสร้างหนี้คำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อย
4) สามารถแสดงได้ว่าบริษัทจะมีฐานะการเงินและผลการดำเนินงานที่มั่นคงตามสภาพธุรกิจของบริษัทไปอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณากระแสเงินสดของกิจการประกอบด้วย
2. วิธีการพิจารณา
ให้บริษัทจดทะเบียนที่ประสงค์จะขอพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน มีหนังสือชี้แจงโดยแสดงเหตุผลหรือข้อมูลสนับสนุนที่บริษัทจดทะเบียนเห็นว่าฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน
ในการปรับปรุงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนเพื่อฟื้นฟูกิจการดังกล่าว ตลาด-หลักทรัพย์อาจผ่อนผันการเข้ามาร่วมทุนของผู้ร่วมทุนรายใหม่ หรือการนำธุรกิจใหม่หรือสินทรัพย์เข้ามาเสริมในธุรกิจเดิมของบริษัทจดทะเบียน แต่ทั้งนี้ต้องสามารถแสดงได้ว่าผู้ร่วมทุนรายใหม่ หรือธุรกิจหรือสินทรัพย์ใหม่นั้นจะเป็นผลดีต่อการปรับปรุงกิจการของบริษัทจดทะเบียนและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทั่วไป
3. การกำหนดเงื่อนไข
1) Silent Period
ในกรณีที่ตลาดหลักทรัพย์พิจารณาแล้วเห็นว่าบริษัทมีคุณสมบัติครบถ้วนในการขอพ้นเหตุอาจถูก
เพิกถอน ตลาดหลักทรัพย์จะกำหนดระยะเวลาการห้ามขายหุ้นและหลักทรัพย์ที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นของบริษัท (Silent Period) โดยการห้ามผู้ถือหุ้นที่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัท (Strategic Shareholder) ขายหลักทรัพย์ของบริษัทที่ตนเองถืออยู่ทั้งหมด เป็นเวลา 1 ปี นับแต่วันที่หุ้นของบริษัท เริ่มซื้อขายในหมวดอุตสาหกรรมปกติ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวสามารถขายหลักทรัพย์ของบริษัทได้ร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกห้ามขายทั้งหมด นับแต่วันเปิดซื้อขายวันแรกจนครบ 6 เดือนแรก และทยอยขายได้อีกร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกห้ามขายทั้งหมด ภายใน 6 เดือนถัดไป ทั้งนี้หากบริษัทมีการเพิ่มทุนหรือมีการออกหลักทรัพย์ที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นของบริษัทโดยจัดสรรให้กับผู้ถือหุ้นเดิมในช่วงระยะเวลาการห้ามขายหุ้นดังกล่าว การกำหนดจำนวนการห้ามขายหลักทรัพย์ให้รวมถึงจำนวนหลักทรัพย์เพิ่มทุนของ Strategic Shareholders ที่ได้รับการจัดสรรดังกล่าวด้วย
2) เงื่อนไขอื่น
ตลาดหลักทรัพย์อาจกำหนดเงื่อนไขให้บริษัทจดทะเบียนดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
(1) กำหนดให้บริษัทลงนามในข้อตกลงเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ฉบับใหม่
(2) กำหนดเงื่อนไขให้ดำเนินการใด ๆ หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทจดทะเบียนกับผู้ถือหุ้นใหญ่หรือผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน
4. การประกาศพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน
ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพย์จะเผยแพร่ข้อมูลการพ้นเหตุอาจถูกเพิกถอนให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้ทราบล่วงหน้า
7 วันทำการก่อนเริ่มซื้อขายในหมวดอุตสาหกรรมปกติ
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 18
การคุ้มครองผู้ลงทุนรายย่อย
ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นที่คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต้องสั่งเพิกถอนบริษัทจดทะเบียน คณะกรรมการฯ อาจกำหนดให้มีการขึ้นเครื่องหมาย SP เพื่อให้นักลงทุนได้รับข่าวสารการเพิกถอนหลักทรัพย์ของบริษัท และตลาดหลักทรัพย์จะอนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันเพิกถอน
บทเฉพาะกาล
ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการกับบริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนและอยู่ในหมวด REHABCO ในปัจจุบัน ดังนี้
1. บริษัทที่อยู่ในหมวด REHABCO ตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป (หรือก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2547)
1.1 บริษัทที่มีคุณสมบัติเข้าข่ายย้ายกลับหมวดปกติ
(1) บริษัทที่เปิดซื้อขาย : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายไปซื้อขายในหมวดปกติโดยยังคงขึ้นเครื่องหมาย NC และอนุญาตให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ต่อไป
(2) บริษัทที่ไม่ได้เปิดซื้อขาย : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายกลับหมวดปกติโดยขึ้นเครื่องหมาย NC และ SP
อย่างไรก็ตาม หากงบการเงินรวมสำหรับไตรมาสที่ผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นหลังปรับปรุงความเห็นผู้สอบบัญชีมีค่าต่ำกว่าศูนย์หรือมีขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงาน ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายหลักทรัพย์ของบริษัทตามข้อ 1.1 และ 1.2 ไปยังกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group)
1.2 บริษัทที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนในการย้ายกลับหมวดปกติ : ตลาดหลักทรัพย์จะถอนชื่อหลักทรัพย์จากกระดานซื้อขายและย้ายหลักทรัพย์ไปยังกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group)
2. บริษัทที่อยู่ในหมวด REHABCO ไม่ถึง 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายกลับหมวดปกติโดยขึ้นเครื่องหมาย NC และ SP
ผลบังคับใช้
ตลาดหลักทรัพย์จะใช้แนวทางฉบับนี้แทนขั้นตอนและแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายอาจ
ถูกเพิกถอน ฉบับวันที่ 28 มีนาคม 2546 (แก้ไขเพิ่มเติมวันที่ 30 เมษายน 2547 และวันที่ 10 พฤษภาคม 2548) โดยให้มี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม 2549
--------------------------------------------------
ฝ่ายกำกับบริษัทจดทะเบียน
ฝ่ายพัฒนาบริษัทจดทะเบียน
ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นที่คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต้องสั่งเพิกถอนบริษัทจดทะเบียน คณะกรรมการฯ อาจกำหนดให้มีการขึ้นเครื่องหมาย SP เพื่อให้นักลงทุนได้รับข่าวสารการเพิกถอนหลักทรัพย์ของบริษัท และตลาดหลักทรัพย์จะอนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันเพิกถอน
บทเฉพาะกาล
ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการกับบริษัทที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนและอยู่ในหมวด REHABCO ในปัจจุบัน ดังนี้
1. บริษัทที่อยู่ในหมวด REHABCO ตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป (หรือก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2547)
1.1 บริษัทที่มีคุณสมบัติเข้าข่ายย้ายกลับหมวดปกติ
(1) บริษัทที่เปิดซื้อขาย : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายไปซื้อขายในหมวดปกติโดยยังคงขึ้นเครื่องหมาย NC และอนุญาตให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ต่อไป
(2) บริษัทที่ไม่ได้เปิดซื้อขาย : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายกลับหมวดปกติโดยขึ้นเครื่องหมาย NC และ SP
อย่างไรก็ตาม หากงบการเงินรวมสำหรับไตรมาสที่ผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นหลังปรับปรุงความเห็นผู้สอบบัญชีมีค่าต่ำกว่าศูนย์หรือมีขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงาน ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายหลักทรัพย์ของบริษัทตามข้อ 1.1 และ 1.2 ไปยังกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group)
1.2 บริษัทที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนในการย้ายกลับหมวดปกติ : ตลาดหลักทรัพย์จะถอนชื่อหลักทรัพย์จากกระดานซื้อขายและย้ายหลักทรัพย์ไปยังกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group)
2. บริษัทที่อยู่ในหมวด REHABCO ไม่ถึง 2 ปี : ตลาดหลักทรัพย์จะย้ายกลับหมวดปกติโดยขึ้นเครื่องหมาย NC และ SP
ผลบังคับใช้
ตลาดหลักทรัพย์จะใช้แนวทางฉบับนี้แทนขั้นตอนและแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายอาจ
ถูกเพิกถอน ฉบับวันที่ 28 มีนาคม 2546 (แก้ไขเพิ่มเติมวันที่ 30 เมษายน 2547 และวันที่ 10 พฤษภาคม 2548) โดยให้มี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม 2549
--------------------------------------------------
ฝ่ายกำกับบริษัทจดทะเบียน
ฝ่ายพัฒนาบริษัทจดทะเบียน
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 19
ไม่รู้ว่า 2 ตัวนี้ จะรอดออกมาแข็งแรงได้หรือเปล่านะ?
(^_^)
------------------------------------------------------------
ตลท.แขวนNCหุ้น"MALEE-PSAAP " ให้เวลาตัดสินฟื้นฟูกิจการหรือเพิกถอน [ ผู้จัดการรายวัน12 มีนาคม 2552 ]
ตลาดหลักทรัพย์ฯ แขวน NC (Non-compliance) หุ้น MALEE และ PSAAP ตั้งแต่ 11 มีนาคมนี้ จนถึง 9 เม.ย. เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจฟื้นฟูกิจการหรือเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียน หลังเข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน หลังพบส่วนผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์ และยังคงห้ามซื้อขายต่อไป แขวน SP
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้กำหนดแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้วปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
จากการพิจารณางบการเงินประจำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี พบว่าบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานเนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์มีดังนี้
1) บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) (MALEE)
2) บริษัท ป่องทรัพย์ จำกัด (มหาชน) (PSAAP)
เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวข้างต้น ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการดังนี้
(1) ประกาศว่าหลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2552และยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP
2) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์จนครบ 30 วันนับจากวันประกาศตามข้อ (1) หรือจนถึงวันที่ 9 เมษายน 2552 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของทั้ง 2 บริษัทมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัท
(3) ให้ MALEE และ PSAAP แจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์ทราบภายในวันที่ 9 เมษายน 2552 เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนถึงทางเลือกว่า บริษัทจะทำแผนปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานเสนอผู้ถือหุ้นหรือจะฟื้นฟูกิจการตามพระราชบัญญัติล้มละลาย หรือจะขอเพิกถอนโดยสมัครใจหรือเลือกทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท ตลอดจนกำหนดเวลาดำเนินการในทางเลือกดังกล่าว
(4) อนุญาตให้หลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP ซื้อหรือขายได้ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2552 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสซื้อหรือขายหลักทรัพย์ได้อีกระยะหนึ่งก่อนที่จะสั่งห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ในระหว่างการปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัทยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
(5) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ MALEEและ PSAAP ตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2552จนกว่าบริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานะการเงินและการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แล้ว
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขอให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนโปรดศึกษารายละเอียดงบการเงินฉบับเต็มของ MALEEและ PSAAP พร้อมทั้งติดตามการนำเสนอแผนดำเนินการของ MALEE และ PSAAP ต่อไป
ที่มา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=78229
(^_^)
------------------------------------------------------------
ตลท.แขวนNCหุ้น"MALEE-PSAAP " ให้เวลาตัดสินฟื้นฟูกิจการหรือเพิกถอน [ ผู้จัดการรายวัน12 มีนาคม 2552 ]
ตลาดหลักทรัพย์ฯ แขวน NC (Non-compliance) หุ้น MALEE และ PSAAP ตั้งแต่ 11 มีนาคมนี้ จนถึง 9 เม.ย. เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจฟื้นฟูกิจการหรือเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียน หลังเข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน หลังพบส่วนผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์ และยังคงห้ามซื้อขายต่อไป แขวน SP
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้กำหนดแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้วปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
จากการพิจารณางบการเงินประจำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี พบว่าบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานเนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์มีดังนี้
1) บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) (MALEE)
2) บริษัท ป่องทรัพย์ จำกัด (มหาชน) (PSAAP)
เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวข้างต้น ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการดังนี้
(1) ประกาศว่าหลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2552และยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP
2) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์จนครบ 30 วันนับจากวันประกาศตามข้อ (1) หรือจนถึงวันที่ 9 เมษายน 2552 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของทั้ง 2 บริษัทมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัท
(3) ให้ MALEE และ PSAAP แจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์ทราบภายในวันที่ 9 เมษายน 2552 เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนถึงทางเลือกว่า บริษัทจะทำแผนปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานเสนอผู้ถือหุ้นหรือจะฟื้นฟูกิจการตามพระราชบัญญัติล้มละลาย หรือจะขอเพิกถอนโดยสมัครใจหรือเลือกทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท ตลอดจนกำหนดเวลาดำเนินการในทางเลือกดังกล่าว
(4) อนุญาตให้หลักทรัพย์ของ MALEE และ PSAAP ซื้อหรือขายได้ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2552 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสซื้อหรือขายหลักทรัพย์ได้อีกระยะหนึ่งก่อนที่จะสั่งห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ในระหว่างการปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงานในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัทยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
(5) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ MALEEและ PSAAP ตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2552จนกว่าบริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานะการเงินและการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แล้ว
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขอให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนโปรดศึกษารายละเอียดงบการเงินฉบับเต็มของ MALEEและ PSAAP พร้อมทั้งติดตามการนำเสนอแผนดำเนินการของ MALEE และ PSAAP ต่อไป
ที่มา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=78229
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 20
นี่ก็เป็นอีกบริษัทฯนึงครับ ที่เกือบเจ๊งไปแล้ว คือ บริษัท คริสเตียนี แอนด์นีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน) (CNT)
ลองอ่านเนื้อข่าวดูนะครับ
(^_^)
------------------------------------------------------------
CNT เทรดวันแรกราคาพุ่ง1,587%โบรกเกอร์แนะลงทุนอ้างรับเหมารุ่ง
CNT กลับมาเทรด หมวดปกติราคาพุ่งกว่า 1,587% ราคาปิด 13.50 บาท โบรกเกอร์เชียร์ให้เข้าลงทุน เนื่องจากเชื่อว่าธุรกิจของบริษัทมีโอกาสเติบโตในอนาคต คาดปีนี้กำไรก้าวกระโดดเหตุรายได้จากค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น และกำไรขั้นต้นปรับตัวดีขึ้น
วานนี้ (22 กันยายน) หุ้นของบริษัท คริสเตียนี แอนด์นีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน) (CNT) กลับเข้ามาเทรดในหมวดปกติคือวัสดุก่อสร้าง หลังจากที่อยู่ในหมวดฟื้นฟูกิจการมานานหลายปี โดยเปิดตลาดวันแรกราคาหุ้นอยู่ที่ 23.80 บาท เพิ่มขึ้นจากการเทรดครั้งสุดท้ายที่ราคาอยู่ที่ระดับ 0.80 บาท หรือเพิ่มขึ้นกว่า 23 บาท ระหว่างชั่วโมงการซื้อขายราคาหุ้นได้ไต่ระดับสูงสุดที่ 25.50 บาท
อย่างไรก็ตาม ในช่วงบ่ายราคาหุ้นเริ่มปรับตัวลดลง แตะระดับต่ำสุดที่ 12.30 บาท ก่อนปิดตลาดภาคบ่ายที่ 13.50 บาท เพิ่มขึ้น 12.70 บาท หรือเพิ่มขึ้นกว่า 1,587.50% มูลค่าการซื้อขาย 669.16 ล้านบาท
ขณะที่ทีมผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของ CNT โดยคณะกรรมการ บริษัท ซี เอ็น แอดไวซอรี่ จำกัด ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท แจ้งตลาดหลักทรัพย์ว่า บริษัทได้กำหนดปิดสมุดทะเบียนพักการโอน หุ้นเพื่อกำหนดสิทธิในการรับเงินปันผล ตั้งแต่เวลา 12.00 น. ของวันที่ 4 ตุลาคม 2547โดยบริษัทได้กำหนด วันจ่ายปันผลระหว่างกาลสำหรับผลการดำเนินงานงวด 6 เดือนแรกปี 2547 วันที่ 12 ตุลาคม 2547
โดย CNT มีมติจ่ายปันผลให้กับผู้ถือหุ้นเดิมแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1. จ่ายปันผลเป็นเงินสดหุ้นละ 0.034 บาท พร้อมจัดสรรหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นเดิมในสัดส่วน 3.5 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่
บริษัทหลักทรัพย์ โกลเบล็ก ออกบทวิเคราะห์ถึง CNT โดยระบุว่า เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างอีกรายหนึ่งที่ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตฟองสบู่แตกอย่างหนักและประสบภาวะขาดทุนจนเข้าข่ายถูกเพิกถอนออกจากตลาด CNT ถูกย้ายไปอยู่หมวดฟื้นฟูกิจการ และใช้เวลา 6 ปีในการปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการจนกระทั่งมีคุณสมบัติพ้นเหตุเพิกถอนและได้ย้าย กลับมาซื้อขายในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อีกครั้งหนึ่ง ท่ามกลางภาวะ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างที่มีแนวโน้มสด ใส ดังนั้น แนะนำซื้อโดยมีราคาเหมาะ สม 6.30 บาทสำหรับปี 47 และ 6.90 บาทสำหรับปี 2548
ขณะที่บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรีอยุธยา (AYS) กล่าวว่า CNT ผู้รับเหมาขนาดใหญ่ในอดีต ประกอบธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างประเภทสาธารณูปโภค และโยธา หลังปรับโครงสร้างหนี้สำเร็จ ทำให้ฐานะการเงินดีขึ้นมา จุดเด่นในการ Trading หลักทรัพย์นี้คือ สามารถย้ายกลับสู่หลักโดยกระโดดข้าม 2 ขั้นเลย คือ กลับมาสู่หมวดหลัก แสดงว่ามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ตามตลาดหลักทรัพย์กำหนด 4 ประการ และจะมีการจัดสรรเงินปันผลหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้นในอัตราส่วน 3.5 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ นั่นหมายถึง ผู้ที่ซื้อหุ้นตั้งแต่วันนี้ยังได้รับเงิน ปันผล โดยขึ้นเครื่องหมาย XD วันที่ 29 ก.ย. 47
สำหรับคาดการณ์ผลการดำเนินงาน ปีนี้มีกำไรปกติก้าวกระโดดเป็น 408% อันเป็นผลจากรายได้ค่าก่อสร้างที่มากขึ้น ค่าใช้จ่ายและบริหาร รวมทั้งดอกเบี้ยจ่ายลดลง ส่วนปี 48 อัตราการเติบโตคาดว่าเป็น 8% แม้รายได้ค่าก่อสร้างค่อนข้างคงที่ แต่อัตรากำไรขั้นต้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น P/E-normalized และ P/BV ปี 47 และ 48 ที่ราคาปิดก่อน SP ต่ำมากๆ เพราะราคาหุ้นขณะนั้นยังไม่ได้สะท้อนปัจจัย พื้นฐานที่ดีขึ้นหลังปรับโครงสร้างหนี้
หากกำหนดให้ราคาเหมาะสมซื้อ ขายที่ 15 เท่าจะได้ราคาเป้าหมาย 3.30 บาท แต่หากใช้ P/E อุตสาหกรรมผู้รับเหมาที่ 26.4 เท่า จะได้ราคาเป้าหมายที่ 5.81 บาท คาดว่าจะได้รับความ น่าสนใจอย่างมากในระยะสั้น แต่ระยะกลางถึงยาว ไม่ถึงกับน่าสนใจมาก เพราะงานในมือมีจำนวนน้อย อัตรากำไรขั้นต้นอัตราการเติบโตของกำไรปี 48 ไม่สูง
ส่วนบริษัทหลักทรัพย์ไซรัส ระบุว่า CNTจะได้รับประโยชน์จากการเติบโตของอุตสาหกรรมก่อสร้างเช่นเดียวกับผู้รับเหมารายอื่น เนื่องจากความสามารถในการรับงานได้หลากหลาย ซึ่งก่อนหน้านี้บริษัทเคยมีรายได้ที่สูงถึง 1.2 หมื่นล้านบาท ขณะที่ปัจจุบันคาด ว่ารายได้ปี 47 จะเท่ากับ 3.94 พันล้าน บาท หรือประมาณ 30% ของรายได้ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งเราคาดว่าสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่งของ CNT หลังปรับโครงสร้างหนี้และทุนแล้วจะช่วยให้รายได้เติบโตต่อเนื่อง
ที่มา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=25343
ลองอ่านเนื้อข่าวดูนะครับ
(^_^)
------------------------------------------------------------
CNT เทรดวันแรกราคาพุ่ง1,587%โบรกเกอร์แนะลงทุนอ้างรับเหมารุ่ง
CNT กลับมาเทรด หมวดปกติราคาพุ่งกว่า 1,587% ราคาปิด 13.50 บาท โบรกเกอร์เชียร์ให้เข้าลงทุน เนื่องจากเชื่อว่าธุรกิจของบริษัทมีโอกาสเติบโตในอนาคต คาดปีนี้กำไรก้าวกระโดดเหตุรายได้จากค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น และกำไรขั้นต้นปรับตัวดีขึ้น
วานนี้ (22 กันยายน) หุ้นของบริษัท คริสเตียนี แอนด์นีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน) (CNT) กลับเข้ามาเทรดในหมวดปกติคือวัสดุก่อสร้าง หลังจากที่อยู่ในหมวดฟื้นฟูกิจการมานานหลายปี โดยเปิดตลาดวันแรกราคาหุ้นอยู่ที่ 23.80 บาท เพิ่มขึ้นจากการเทรดครั้งสุดท้ายที่ราคาอยู่ที่ระดับ 0.80 บาท หรือเพิ่มขึ้นกว่า 23 บาท ระหว่างชั่วโมงการซื้อขายราคาหุ้นได้ไต่ระดับสูงสุดที่ 25.50 บาท
อย่างไรก็ตาม ในช่วงบ่ายราคาหุ้นเริ่มปรับตัวลดลง แตะระดับต่ำสุดที่ 12.30 บาท ก่อนปิดตลาดภาคบ่ายที่ 13.50 บาท เพิ่มขึ้น 12.70 บาท หรือเพิ่มขึ้นกว่า 1,587.50% มูลค่าการซื้อขาย 669.16 ล้านบาท
ขณะที่ทีมผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของ CNT โดยคณะกรรมการ บริษัท ซี เอ็น แอดไวซอรี่ จำกัด ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท แจ้งตลาดหลักทรัพย์ว่า บริษัทได้กำหนดปิดสมุดทะเบียนพักการโอน หุ้นเพื่อกำหนดสิทธิในการรับเงินปันผล ตั้งแต่เวลา 12.00 น. ของวันที่ 4 ตุลาคม 2547โดยบริษัทได้กำหนด วันจ่ายปันผลระหว่างกาลสำหรับผลการดำเนินงานงวด 6 เดือนแรกปี 2547 วันที่ 12 ตุลาคม 2547
โดย CNT มีมติจ่ายปันผลให้กับผู้ถือหุ้นเดิมแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1. จ่ายปันผลเป็นเงินสดหุ้นละ 0.034 บาท พร้อมจัดสรรหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นเดิมในสัดส่วน 3.5 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่
บริษัทหลักทรัพย์ โกลเบล็ก ออกบทวิเคราะห์ถึง CNT โดยระบุว่า เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างอีกรายหนึ่งที่ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตฟองสบู่แตกอย่างหนักและประสบภาวะขาดทุนจนเข้าข่ายถูกเพิกถอนออกจากตลาด CNT ถูกย้ายไปอยู่หมวดฟื้นฟูกิจการ และใช้เวลา 6 ปีในการปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการจนกระทั่งมีคุณสมบัติพ้นเหตุเพิกถอนและได้ย้าย กลับมาซื้อขายในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อีกครั้งหนึ่ง ท่ามกลางภาวะ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างที่มีแนวโน้มสด ใส ดังนั้น แนะนำซื้อโดยมีราคาเหมาะ สม 6.30 บาทสำหรับปี 47 และ 6.90 บาทสำหรับปี 2548
ขณะที่บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรีอยุธยา (AYS) กล่าวว่า CNT ผู้รับเหมาขนาดใหญ่ในอดีต ประกอบธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างประเภทสาธารณูปโภค และโยธา หลังปรับโครงสร้างหนี้สำเร็จ ทำให้ฐานะการเงินดีขึ้นมา จุดเด่นในการ Trading หลักทรัพย์นี้คือ สามารถย้ายกลับสู่หลักโดยกระโดดข้าม 2 ขั้นเลย คือ กลับมาสู่หมวดหลัก แสดงว่ามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ตามตลาดหลักทรัพย์กำหนด 4 ประการ และจะมีการจัดสรรเงินปันผลหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้นในอัตราส่วน 3.5 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ นั่นหมายถึง ผู้ที่ซื้อหุ้นตั้งแต่วันนี้ยังได้รับเงิน ปันผล โดยขึ้นเครื่องหมาย XD วันที่ 29 ก.ย. 47
สำหรับคาดการณ์ผลการดำเนินงาน ปีนี้มีกำไรปกติก้าวกระโดดเป็น 408% อันเป็นผลจากรายได้ค่าก่อสร้างที่มากขึ้น ค่าใช้จ่ายและบริหาร รวมทั้งดอกเบี้ยจ่ายลดลง ส่วนปี 48 อัตราการเติบโตคาดว่าเป็น 8% แม้รายได้ค่าก่อสร้างค่อนข้างคงที่ แต่อัตรากำไรขั้นต้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น P/E-normalized และ P/BV ปี 47 และ 48 ที่ราคาปิดก่อน SP ต่ำมากๆ เพราะราคาหุ้นขณะนั้นยังไม่ได้สะท้อนปัจจัย พื้นฐานที่ดีขึ้นหลังปรับโครงสร้างหนี้
หากกำหนดให้ราคาเหมาะสมซื้อ ขายที่ 15 เท่าจะได้ราคาเป้าหมาย 3.30 บาท แต่หากใช้ P/E อุตสาหกรรมผู้รับเหมาที่ 26.4 เท่า จะได้ราคาเป้าหมายที่ 5.81 บาท คาดว่าจะได้รับความ น่าสนใจอย่างมากในระยะสั้น แต่ระยะกลางถึงยาว ไม่ถึงกับน่าสนใจมาก เพราะงานในมือมีจำนวนน้อย อัตรากำไรขั้นต้นอัตราการเติบโตของกำไรปี 48 ไม่สูง
ส่วนบริษัทหลักทรัพย์ไซรัส ระบุว่า CNTจะได้รับประโยชน์จากการเติบโตของอุตสาหกรรมก่อสร้างเช่นเดียวกับผู้รับเหมารายอื่น เนื่องจากความสามารถในการรับงานได้หลากหลาย ซึ่งก่อนหน้านี้บริษัทเคยมีรายได้ที่สูงถึง 1.2 หมื่นล้านบาท ขณะที่ปัจจุบันคาด ว่ารายได้ปี 47 จะเท่ากับ 3.94 พันล้าน บาท หรือประมาณ 30% ของรายได้ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งเราคาดว่าสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่งของ CNT หลังปรับโครงสร้างหนี้และทุนแล้วจะช่วยให้รายได้เติบโตต่อเนื่อง
ที่มา : http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=25343
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 21
มาอีกแล้วจ้า บริษัทฯเข้าข่ายส่วนของผู้ถือหุ้นติดลบ
นั่นก็คือ บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) (PATKL)
ขาดทุนหนักจริงๆขอรับ (^_^)
-------------------------------------------------------------------
หัวข้อข่าว : ตลท.แจ้งดำเนินการ บจ.ที่ต้องปรับปรุงฐานะการเงิน/การดำเนินงาน
วันที่/เวลา : 09 มี.ค. 2553 17:07:32
ตลาดหลักทรัพย์แจ้งดำเนินการกับบริษัทที่เข้าข่ายต้องปรับปรุง
ฐานะการเงินและการดำเนินงาน
ตลาดหลักทรัพย์ได้กำหนดแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุง
ฐานะการเงินและการดำเนินงานตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์
จดทะเบียน พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบ
จากผู้สอบบัญชีแล้วปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
จากการพิจารณางบการเงินประจำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านการตรวจสอบ
จากผู้สอบบัญชี พบว่าบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
เนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์ คือ บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) (PATKL)
เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวข้างต้น ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการ
ดังนี้
(1) ประกาศว่าหลักทรัพย์ของ PATKL เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2553
และยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ PATKL
(2) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์จนครบ 30 วันนับจากวันประกาศตามข้อ (1) หรือจนถึง
วันที่ 8 เมษายน 2553 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของบริษัทมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจ
เลือกทางเลือกที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัท
(3) ให้ PATKL แจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์ทราบภายในวันที่ 8 เมษายน 2553
เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนถึงทางเลือกว่า บริษัทจะฟื้นฟูกิจการตามพระราชบัญญัติล้มละลาย
ตามที่ศาลล้มละลายกลางมีคำสั่งให้ PATKL ฟื้นฟูกิจการตามคำร้อง หรือจะขอเพิกถอนโดยสมัครใจ หรือ
เลือกทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท ตลอดจนกำหนดเวลาดำเนินการในทางเลือกดังกล่าว
(4) อนุญาตให้หลักทรัพย์ของ PATKL ซื้อหรือขายได้ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน 2553
ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2553 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสซื้อหรือขายหลักทรัพย์ได้อีกระยะหนึ่งก่อน
ที่จะสั่งห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ในระหว่างการปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
ในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัทยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์
ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจ
ดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
(5) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ PATKL ตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม 2553
จนกว่าบริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานะการเงินและการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนด
ของตลาดหลักทรัพย์แล้ว
ตลาดหลักทรัพย์ขอให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนโปรดศึกษารายละเอียดงบการเงินฉบับเต็ม
ของ PATKL พร้อมทั้งติดตามการนำเสนอแผนดำเนินการของ PATKL ต่อไป
นั่นก็คือ บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) (PATKL)
ขาดทุนหนักจริงๆขอรับ (^_^)
-------------------------------------------------------------------
หัวข้อข่าว : ตลท.แจ้งดำเนินการ บจ.ที่ต้องปรับปรุงฐานะการเงิน/การดำเนินงาน
วันที่/เวลา : 09 มี.ค. 2553 17:07:32
ตลาดหลักทรัพย์แจ้งดำเนินการกับบริษัทที่เข้าข่ายต้องปรับปรุง
ฐานะการเงินและการดำเนินงาน
ตลาดหลักทรัพย์ได้กำหนดแนวทางดำเนินการต่อบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุง
ฐานะการเงินและการดำเนินงานตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์
จดทะเบียน พ.ศ. 2542 โดยพิจารณาจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบ
จากผู้สอบบัญชีแล้วปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
จากการพิจารณางบการเงินประจำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านการตรวจสอบ
จากผู้สอบบัญชี พบว่าบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
เนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์ คือ บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) (PATKL)
เพื่อให้เป็นไปตามความในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าวข้างต้น ตลาดหลักทรัพย์จะดำเนินการ
ดังนี้
(1) ประกาศว่าหลักทรัพย์ของ PATKL เข้าข่ายต้องปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2553
และยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ PATKL
(2) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์จนครบ 30 วันนับจากวันประกาศตามข้อ (1) หรือจนถึง
วันที่ 8 เมษายน 2553 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารของบริษัทมีเวลาที่จะพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจ
เลือกทางเลือกที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ที่สุดแก่บริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัท
(3) ให้ PATKL แจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์ทราบภายในวันที่ 8 เมษายน 2553
เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนถึงทางเลือกว่า บริษัทจะฟื้นฟูกิจการตามพระราชบัญญัติล้มละลาย
ตามที่ศาลล้มละลายกลางมีคำสั่งให้ PATKL ฟื้นฟูกิจการตามคำร้อง หรือจะขอเพิกถอนโดยสมัครใจ หรือ
เลือกทางเลือกอื่นใดที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท ตลอดจนกำหนดเวลาดำเนินการในทางเลือกดังกล่าว
(4) อนุญาตให้หลักทรัพย์ของ PATKL ซื้อหรือขายได้ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน 2553
ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2553 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสซื้อหรือขายหลักทรัพย์ได้อีกระยะหนึ่งก่อน
ที่จะสั่งห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ในระหว่างการปรับปรุงฐานะการเงินและการดำเนินงาน
ในกรณีที่ครบกำหนด 30 วันดังกล่าว บริษัทยังไม่แจ้งการตัดสินใจของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์
ตลาดหลักทรัพย์จะยังคงขึ้นเครื่องหมาย SP หลักทรัพย์ของบริษัทต่อไปจนกว่าจะแจ้งผลการตัดสินใจ
ดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์และผู้ลงทุนแล้ว
(5) ห้ามการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ PATKL ตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม 2553
จนกว่าบริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานะการเงินและการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนด
ของตลาดหลักทรัพย์แล้ว
ตลาดหลักทรัพย์ขอให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนโปรดศึกษารายละเอียดงบการเงินฉบับเต็ม
ของ PATKL พร้อมทั้งติดตามการนำเสนอแผนดำเนินการของ PATKL ต่อไป
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 0
ช่วยยกตัวอย่างบริษัทที่ในอดีตเกือบเจ๊งหน่อยครับ
โพสต์ที่ 22
3 ตัวนี้ ก็น่าจะเข้าข่าย "อาการยังน่าเป็นห่วง" ได้เหมือนกันนะครับ
จะรอดออกมาได้กี่ตัวนะ ลุ้นๆ
-------------------------------------------------------------
หัวข้อข่าว ตลท.ประกาศเพิ่มเหตุเพิกถอนหลักทรัพย์ของ NFC USC และ TRS
วันที่/เวลา 10 มี.ค. 2553 09:21:06
ตลาดหลักทรัพย์ประกาศเพิ่มเหตุแห่งการเพิกถอนหลักทรัพย์ของ NFC USC และ TRS
ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้กำหนดเหตุที่หลักทรัพย์จดทะเบียนอาจถูกเพิกถอนกรณีการดำเนินงานหรือฐานะการเงิน
ตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2542 ดังนี้
1.ข้อ 9 (6) (ค) ผู้สอบบัญชีรายงานว่าไม่แสดงความเห็นหรือแสดงความเห็นว่างบการเงิน
ไม่ถูกต้องเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน
2.ข้อ 9 (6) (ง) ฐานะการเงินซึ่งเปิดเผยในงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว
แสดงว่าส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์
เนื่องด้วยบริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จำกัด (มหาชน) (NFC) บริษัท ยูนิเวอร์แซล สตาร์ช จำกัด (มหาชน) (USC)
และบริษัท ตรังผลิตภัณฑ์อาหารทะเล จำกัด (มหาชน) (TRS) ได้นำส่งงบการเงินประจำปี 2552 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552
โดยปรากฏข้อมูลที่ทำให้ตลาดหลักทรัพย์ประกาศให้ NFC USC และ TRS เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนหลักทรัพย์เพิ่มเติมสรุปดังนี้
บริษัท:NFC และ USC (เป็นกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group:NPG))
เหตุเพิกถอนเพิ่มเติม:ผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นงบการเงินเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกันตั้งแต่งบการเงินประจำปี 2550 -2552
เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนเพิ่มเติมตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยเรื่องการเพิกถอนหลักทรัพย์ ข้อ 9 (6) (ค)
บริษัท:TRS (หลักทรัพย์ของ TRS ถูกขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) และ SP (Suspension))
เหตุเพิกถอนเพิ่มเติม:ส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์ กล่าวคือ งบการเงินประจำปี 2552 ของ TRS มีส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
75.45 ล้านบาท เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนเพิ่มเติมตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยเรื่องการเพิกถอนหลักทรัพย์ ข้อ 9 (6) (ง)
อนึ่ง ตลาดหลักทรัพย์ได้เคยประกาศให้ NFC USC และ TRS เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนดังนี้
ชื่อบริษัท วันที่ประกาศ เหตุเพิกถอน
NFC 6 มิถุนายน 2546 งบการเงินประจำปี 2545 ปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
USC 12 มีนาคม 2544 งบการเงินประจำปี 2543 ปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
TRS 6 สิงหาคม 2552 บริษัทหยุดประกอบกิจการชั่วคราวตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2552
จะรอดออกมาได้กี่ตัวนะ ลุ้นๆ
-------------------------------------------------------------
หัวข้อข่าว ตลท.ประกาศเพิ่มเหตุเพิกถอนหลักทรัพย์ของ NFC USC และ TRS
วันที่/เวลา 10 มี.ค. 2553 09:21:06
ตลาดหลักทรัพย์ประกาศเพิ่มเหตุแห่งการเพิกถอนหลักทรัพย์ของ NFC USC และ TRS
ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้กำหนดเหตุที่หลักทรัพย์จดทะเบียนอาจถูกเพิกถอนกรณีการดำเนินงานหรือฐานะการเงิน
ตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2542 ดังนี้
1.ข้อ 9 (6) (ค) ผู้สอบบัญชีรายงานว่าไม่แสดงความเห็นหรือแสดงความเห็นว่างบการเงิน
ไม่ถูกต้องเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน
2.ข้อ 9 (6) (ง) ฐานะการเงินซึ่งเปิดเผยในงบการเงินหรืองบการเงินรวมฉบับล่าสุดที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว
แสดงว่าส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์
เนื่องด้วยบริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จำกัด (มหาชน) (NFC) บริษัท ยูนิเวอร์แซล สตาร์ช จำกัด (มหาชน) (USC)
และบริษัท ตรังผลิตภัณฑ์อาหารทะเล จำกัด (มหาชน) (TRS) ได้นำส่งงบการเงินประจำปี 2552 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552
โดยปรากฏข้อมูลที่ทำให้ตลาดหลักทรัพย์ประกาศให้ NFC USC และ TRS เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนหลักทรัพย์เพิ่มเติมสรุปดังนี้
บริษัท:NFC และ USC (เป็นกลุ่มบริษัทจดทะเบียนที่แก้ไขการดำเนินงานไม่ได้ตามกำหนด (Non-Performing Group:NPG))
เหตุเพิกถอนเพิ่มเติม:ผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นงบการเงินเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกันตั้งแต่งบการเงินประจำปี 2550 -2552
เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนเพิ่มเติมตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยเรื่องการเพิกถอนหลักทรัพย์ ข้อ 9 (6) (ค)
บริษัท:TRS (หลักทรัพย์ของ TRS ถูกขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-compliance) และ SP (Suspension))
เหตุเพิกถอนเพิ่มเติม:ส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่าศูนย์ กล่าวคือ งบการเงินประจำปี 2552 ของ TRS มีส่วนของผู้ถือหุ้นต่ำกว่าศูนย์
75.45 ล้านบาท เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนเพิ่มเติมตามข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยเรื่องการเพิกถอนหลักทรัพย์ ข้อ 9 (6) (ง)
อนึ่ง ตลาดหลักทรัพย์ได้เคยประกาศให้ NFC USC และ TRS เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนดังนี้
ชื่อบริษัท วันที่ประกาศ เหตุเพิกถอน
NFC 6 มิถุนายน 2546 งบการเงินประจำปี 2545 ปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
USC 12 มีนาคม 2544 งบการเงินประจำปี 2543 ปรากฏส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าต่ำกว่าศูนย์
TRS 6 สิงหาคม 2552 บริษัทหยุดประกอบกิจการชั่วคราวตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2552
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."