เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
-
- Verified User
- โพสต์: 569
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 61
จากการที่ได้ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์มาบ้าง (แต่ไม่ถึงขนาดจบมาจากเมืองนอกเมืองนา) ขอวิจารณ์ดังนี้ครับ
เริ่มจากสมการรายได้ประชาชาติ (GDP)
Y = C+I+ (X-M) + (G-T) + (PB-PC)+ xA+ yR+ zL
โดย PB คือ ผลประโยชน์จากกองทุนบำนาญ PC การจ่ายเงินสมทบกองทุนบำนาญ
ตัวแปรนี้น่าจะเป็นส่วนหนึ่งของ Yd (Disposable Income) ดังที่มีเพื่อนในนี้ตั้งข้อสังเกตไว้บ้างแล้ว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของ (PB-PC) ย่อมกระทบ Yd ซึ่ง Yd = C + S และ S = I ดังนั้นจะเกิดผลไปที่ C และ I
x,y,z คือ สัมประสิทธิ์ที่เป็นบวก
A คือ มูลค่าทรัพย์สินที่เปลี่ยนแปลง
ตัวแปรนี้ไม่ใช่รายได้ครับ เป็นแค่ความมั่งคั่ง การที่มูลค่าของทรัพย์สินเพิ่มขึ้นไม่ได้แปลว่าเรามีรายได้เพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหุ้นที่เราถือราคาขึ้นไปจาก 100 บาทต่อหุ้น เป็น 200 บาทต่อหุ้น ถามว่าเรามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่ คำตอบคือไม่ครับ แต่ถามว่าเรารวยขึ้นหรือไม่ คำตอบคือใช่ครับ การที่ราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้นไม่ได้มีผลต่อ GDP จนกว่าเราจะขายสินทรัพย์นั้นและนำเงินที่ได้ไปใช้จ่ายไม่อย่างนั้นมันก็จะเป็นแค่ตัวเลขในภาคการเงินไม่ได้ก่อเกิดรายได้ในภาคเศรษฐกิจจริงครับ แต่มันก็มีผลทางอ้อมที่เรียกว่า Wealth Effect ทำให้เมื่อเรารู้สึกรวยขึ้นเราก็จะใช้จ่าย (C,M) หรือลงทุน (I) มากขึ้นตามไปด้วย
R คือ คนต่างด้าวที่มาพำนักอาศัยในไทย
ในการคำนวณรายได้ประชาชาติ X ไม่ได้มีความหมายแค่การส่งออกสินค้า แต่หมายรวมถึงรายได้ของคนไทยที่ได้รับจากต่างประเทศด้วย ดังนั้นการใช้จ่ายของคนต่างด้าวที่อยู่ในประเทศไทยก็จะถูกนับรวมในตัวแปร X ด้วยเช่นกัน
L คือ ยอดสินเชื่อที่เปลี่ยนแปลง
สินเชื่อมีอยู่ 2 ประเภท คือ สินเชื่อเพื่อการบริโภค และสินเชื่อเพื่อการลงทุน ดังนั้นการขยายตัวของสินเชื่อก็จะทำให้มีการบริโภค (C) เพิ่มขึ้น หรือการลงทุน (I) เพิ่มขึ้นนั่นเอง
สิ่งที่ผมจะชี้ให้เห็นคือสมการนี้มีปัญหาตั้งแต่ต้น ปัญหานั้นก็คือตัวแปรในสมการมีความสัมพันธ์กันเอง หากนำสมการนี้ไปสร้างแบบจำลองด้วยวิธีการเศรษฐมิติ (Econometrics) ค่าสัมประสิทธิ x,y,z ที่ได้ น่าจะไม่มีนัยสำคัญ
ตามความเห็นของผม ตัวแปรที่ใส่เพิ่มเข้ามาไม่ควรจะนำไปใส่ในสมการหลัก Y = C + I + (G-T) + (X-M) แต่ควรจะนำไปใส่ในชุดสมการย่อยของตัวแปรแต่ละตัวเพื่อสร้างแบบจำลองแบบ Simultaneous Equations จะได้ผลที่ดีกว่า
ขอวิจารณ์แค่ในส่วนของสมการก่อนครับ ยังไม่ก้าวล่วงไปสู่กระบวนท่าทั้ง 18 ท่า แต่ที่อ่านดูคร่าว ๆ มีการยืมพลังมาจากหลายที่เหลือเกิน ซึ่งพลังบางอย่างมันก็มีทั้งขัดกันเสริมกัน มาทั้งหยินและหยางแบบนี้ถ้าการจัดการไม่ดีผมเกรงว่าฝีกไปได้ไม่กี่กระบวนท่าคนฝึกจะเกิดอาการลมปราณแตกซ่านไปเสียก่อนครับ
เริ่มจากสมการรายได้ประชาชาติ (GDP)
Y = C+I+ (X-M) + (G-T) + (PB-PC)+ xA+ yR+ zL
โดย PB คือ ผลประโยชน์จากกองทุนบำนาญ PC การจ่ายเงินสมทบกองทุนบำนาญ
ตัวแปรนี้น่าจะเป็นส่วนหนึ่งของ Yd (Disposable Income) ดังที่มีเพื่อนในนี้ตั้งข้อสังเกตไว้บ้างแล้ว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของ (PB-PC) ย่อมกระทบ Yd ซึ่ง Yd = C + S และ S = I ดังนั้นจะเกิดผลไปที่ C และ I
x,y,z คือ สัมประสิทธิ์ที่เป็นบวก
A คือ มูลค่าทรัพย์สินที่เปลี่ยนแปลง
ตัวแปรนี้ไม่ใช่รายได้ครับ เป็นแค่ความมั่งคั่ง การที่มูลค่าของทรัพย์สินเพิ่มขึ้นไม่ได้แปลว่าเรามีรายได้เพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหุ้นที่เราถือราคาขึ้นไปจาก 100 บาทต่อหุ้น เป็น 200 บาทต่อหุ้น ถามว่าเรามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่ คำตอบคือไม่ครับ แต่ถามว่าเรารวยขึ้นหรือไม่ คำตอบคือใช่ครับ การที่ราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้นไม่ได้มีผลต่อ GDP จนกว่าเราจะขายสินทรัพย์นั้นและนำเงินที่ได้ไปใช้จ่ายไม่อย่างนั้นมันก็จะเป็นแค่ตัวเลขในภาคการเงินไม่ได้ก่อเกิดรายได้ในภาคเศรษฐกิจจริงครับ แต่มันก็มีผลทางอ้อมที่เรียกว่า Wealth Effect ทำให้เมื่อเรารู้สึกรวยขึ้นเราก็จะใช้จ่าย (C,M) หรือลงทุน (I) มากขึ้นตามไปด้วย
R คือ คนต่างด้าวที่มาพำนักอาศัยในไทย
ในการคำนวณรายได้ประชาชาติ X ไม่ได้มีความหมายแค่การส่งออกสินค้า แต่หมายรวมถึงรายได้ของคนไทยที่ได้รับจากต่างประเทศด้วย ดังนั้นการใช้จ่ายของคนต่างด้าวที่อยู่ในประเทศไทยก็จะถูกนับรวมในตัวแปร X ด้วยเช่นกัน
L คือ ยอดสินเชื่อที่เปลี่ยนแปลง
สินเชื่อมีอยู่ 2 ประเภท คือ สินเชื่อเพื่อการบริโภค และสินเชื่อเพื่อการลงทุน ดังนั้นการขยายตัวของสินเชื่อก็จะทำให้มีการบริโภค (C) เพิ่มขึ้น หรือการลงทุน (I) เพิ่มขึ้นนั่นเอง
สิ่งที่ผมจะชี้ให้เห็นคือสมการนี้มีปัญหาตั้งแต่ต้น ปัญหานั้นก็คือตัวแปรในสมการมีความสัมพันธ์กันเอง หากนำสมการนี้ไปสร้างแบบจำลองด้วยวิธีการเศรษฐมิติ (Econometrics) ค่าสัมประสิทธิ x,y,z ที่ได้ น่าจะไม่มีนัยสำคัญ
ตามความเห็นของผม ตัวแปรที่ใส่เพิ่มเข้ามาไม่ควรจะนำไปใส่ในสมการหลัก Y = C + I + (G-T) + (X-M) แต่ควรจะนำไปใส่ในชุดสมการย่อยของตัวแปรแต่ละตัวเพื่อสร้างแบบจำลองแบบ Simultaneous Equations จะได้ผลที่ดีกว่า
ขอวิจารณ์แค่ในส่วนของสมการก่อนครับ ยังไม่ก้าวล่วงไปสู่กระบวนท่าทั้ง 18 ท่า แต่ที่อ่านดูคร่าว ๆ มีการยืมพลังมาจากหลายที่เหลือเกิน ซึ่งพลังบางอย่างมันก็มีทั้งขัดกันเสริมกัน มาทั้งหยินและหยางแบบนี้ถ้าการจัดการไม่ดีผมเกรงว่าฝีกไปได้ไม่กี่กระบวนท่าคนฝึกจะเกิดอาการลมปราณแตกซ่านไปเสียก่อนครับ
เราจะพอเพียง แค่เราเพียงพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 62
ถูกต้องนะครับ...ผมไม่ได้บอกว่า สมการ GDP แต่เดิมนั้นผิด
เพราะ ตัวแปรพวกนั้น จะไปส่งกระทบต่อ C, I อยู่ดี
คนต่างด้าวมาอยู่ในไทย ใช้จ่ายเงินไม่นับเป็น X นะครับ แต่นับเป็น C
ผมเติมค่าตัวแปรเข้าไป เพื่อช่วยในการกำหนดนโยบายต่างๆ ไม่ใช่จำกัดอยู่แค่ นโยบายการเงิน และ การคลังเท่านั้น
ไม่ใช่เพื่อให้คำนวณค่า GDP ใหม่
แต่ช่วยบอกให้เห็นว่า การกำหนดนโยบายในลักษณะของการยืมพลังนั้น ทำได้ โดยไม่ใช่นโบบายทั้งการเงิน และ การคลัง แต่จะช่วยเพิ่ม GDP ได้
เพราะ ตัวแปรพวกนั้น จะไปส่งกระทบต่อ C, I อยู่ดี
คนต่างด้าวมาอยู่ในไทย ใช้จ่ายเงินไม่นับเป็น X นะครับ แต่นับเป็น C
ผมเติมค่าตัวแปรเข้าไป เพื่อช่วยในการกำหนดนโยบายต่างๆ ไม่ใช่จำกัดอยู่แค่ นโยบายการเงิน และ การคลังเท่านั้น
ไม่ใช่เพื่อให้คำนวณค่า GDP ใหม่
แต่ช่วยบอกให้เห็นว่า การกำหนดนโยบายในลักษณะของการยืมพลังนั้น ทำได้ โดยไม่ใช่นโบบายทั้งการเงิน และ การคลัง แต่จะช่วยเพิ่ม GDP ได้
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
-
- Verified User
- โพสต์: 569
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 63
[quote="อะไรดีละ"]ถูกต้องนะครับ...ผมไม่ได้บอกว่า สมการ GDP แต่เดิมนั้นผิด
เพราะ ตัวแปรพวกนั้น
เพราะ ตัวแปรพวกนั้น
เราจะพอเพียง แค่เราเพียงพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 64
ยินดีมากที่ได้คุยกับนักเศรษฐศาสตร์ตัวจริง
คนต่างด้าว ถ้ามาเป็นนักท่องเที่ยวอยู่ไม่กี่วันนับเป็น X ครับ
แต่ถ้า อยู่นานๆ เป็น ผู้พำนักอาศัย เราคิดเป็น C นะครับ
ตัวแปรสัมพันธ์กันเอง....
คือว่า ตัว C และ I ใน 2 สมการใหม่ และ เก่านั้น เป็น C และ I คนละตัวกันนะครับ
ตามสมการเดิมนั้น C และ I คือ การบริโภคและการลงทุนเอกชนรวม
ส่วนสมการใหม่นั้น C และ I คือ สุทธิแล้วจากผลกระทบของการใช้พลังของกองทุนบำนาญ , wealth effect , การขยายสินเชื่อ และ การเพิ่มผู้พำนักอาศัยในปท. แล้วครับ
เรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่นะครับ...แน่นอนเลย เพราะ ไม่เคยมีอยู่ในตำราเศรษฐศาสตร์เล่มใดในโลก ไม่มีการสอนอยู่ในมหาวิทยาลัยแห่งใดด้วย
ท่านนายกฯ อภิสทธิ์ และ รมว.คลัง กรณ์ จึงไม่รู้จักไงครับ
มันไม่เข้าข่าย นโยบายการคลังครับ...เพราะ รัฐไม่ต้องสร้างหนี้สินมาเพื่อกระตุ้น ศก.แต่อย่างใด
มันไม่เข้าข่าย นโยบายการเงินด้วย .... เพราะไม่เกี่ยวกับการดูแล อดบ.
ผมได้รับโจทย์จากหัวหน้าคนญี่ปุ่นเมื่อ 10 ปีก่อนครับ
ผมถามว่า "ในเมื่อญี่ปุ่นดำเนินนโยบายการเงิน กดดบ.เหลือ ศูนย์ เปอร์เซนต์ และ การคลังติดหนี้ถึงกว่า 100% GDP รวมไปถึง แทรกแซงเงินเยนแล้วแต่ก็ไม่อ่อนลงเลย .... มีทางอื่นหรือไม่ที่จะฟื้น ศก.ญี่ปุ่นได้ครับ"
เขาตอบว่า "ข้าก็ไม่รู้เหมือนกัน เอ็งฉลาดๆ ช่วยไปคิดหน่อย แต่ไม่ง่ายหรอกนักหรอกนะ"
ในที่สุดผ่านมา 10 ปี ผมก็คิดออกมาได้ ภูมิใจมากนะครับ ยิ่งกว่า ราคาหุ้น PRECHA ขึ้นกว่า 150% ภายในไตรมาสเดียวเสียอีก
ถ้าใช้ตามทฤษฎีนี้ รัฐบาลไทยก็ไม่ต้องสร้างหนี้อีก 2 ล้านล้านบาท เป็น 6 ล้านล้านบาท ก็สามารถฟื้น ศก.ได้ ตลาดหุ้นจะมี mkt.cap เพิ่มอีก 2 ล้านล้านบาทได้ แค่ 2 เรื่องนี้ ทฤษฎีนี้ก็เพิ่ม wealth ให้ประเทศไปแล้ว 4 ล้านล้านบาทแล้วครับ
ประเทศไทยมี อดบ.พันธบัตร 10 ปี อยู่ที่ 4.2% ซึ่งเป็น 3.5 เท่าของญี่ปุ่น ดังนั้น หนี้รัฐต่อ จีดีพี ของเราหากยืนที่ 60% ก็เทียบเท่ากับภาระดบ.จ่ายที่สูงเท่ากับหนี้ของญี่ปุ่นที่ 210% GDP เชียวนะครับ
ตอนนี้หลายประเทศในโลกกำลังคิดว่า แค่นโยบายการเงิน การคลัง ด้วยการกดดบ.ใกล้ติดดิน การเพิ่มสภาพคล่องโดย Fed และ การขาดดุลราว 10% GDP ก็น่าจะช่วยฟื้นจากวิกฤติได้แล้ว
แต่ผมคิดว่ามันไม่ใช่ เราจะเป็นตัว W ค่อนข้างแน่
ประเทศอย่าง จีน เวียดนาม และ ยูโรโซน กำลังจะระเบิดตามมาแน่
และ ขาลงรอบ 2 นี้ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไทเก๊ก จะถูกหยิบยกขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือ ศก.โลก ไม่ต้องสร้างหนี้สาธารณะหลายล้านล้านดอลลาร์
คนต่างด้าว ถ้ามาเป็นนักท่องเที่ยวอยู่ไม่กี่วันนับเป็น X ครับ
แต่ถ้า อยู่นานๆ เป็น ผู้พำนักอาศัย เราคิดเป็น C นะครับ
ตัวแปรสัมพันธ์กันเอง....
คือว่า ตัว C และ I ใน 2 สมการใหม่ และ เก่านั้น เป็น C และ I คนละตัวกันนะครับ
ตามสมการเดิมนั้น C และ I คือ การบริโภคและการลงทุนเอกชนรวม
ส่วนสมการใหม่นั้น C และ I คือ สุทธิแล้วจากผลกระทบของการใช้พลังของกองทุนบำนาญ , wealth effect , การขยายสินเชื่อ และ การเพิ่มผู้พำนักอาศัยในปท. แล้วครับ
เรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่นะครับ...แน่นอนเลย เพราะ ไม่เคยมีอยู่ในตำราเศรษฐศาสตร์เล่มใดในโลก ไม่มีการสอนอยู่ในมหาวิทยาลัยแห่งใดด้วย
ท่านนายกฯ อภิสทธิ์ และ รมว.คลัง กรณ์ จึงไม่รู้จักไงครับ
มันไม่เข้าข่าย นโยบายการคลังครับ...เพราะ รัฐไม่ต้องสร้างหนี้สินมาเพื่อกระตุ้น ศก.แต่อย่างใด
มันไม่เข้าข่าย นโยบายการเงินด้วย .... เพราะไม่เกี่ยวกับการดูแล อดบ.
ผมได้รับโจทย์จากหัวหน้าคนญี่ปุ่นเมื่อ 10 ปีก่อนครับ
ผมถามว่า "ในเมื่อญี่ปุ่นดำเนินนโยบายการเงิน กดดบ.เหลือ ศูนย์ เปอร์เซนต์ และ การคลังติดหนี้ถึงกว่า 100% GDP รวมไปถึง แทรกแซงเงินเยนแล้วแต่ก็ไม่อ่อนลงเลย .... มีทางอื่นหรือไม่ที่จะฟื้น ศก.ญี่ปุ่นได้ครับ"
เขาตอบว่า "ข้าก็ไม่รู้เหมือนกัน เอ็งฉลาดๆ ช่วยไปคิดหน่อย แต่ไม่ง่ายหรอกนักหรอกนะ"
ในที่สุดผ่านมา 10 ปี ผมก็คิดออกมาได้ ภูมิใจมากนะครับ ยิ่งกว่า ราคาหุ้น PRECHA ขึ้นกว่า 150% ภายในไตรมาสเดียวเสียอีก
ถ้าใช้ตามทฤษฎีนี้ รัฐบาลไทยก็ไม่ต้องสร้างหนี้อีก 2 ล้านล้านบาท เป็น 6 ล้านล้านบาท ก็สามารถฟื้น ศก.ได้ ตลาดหุ้นจะมี mkt.cap เพิ่มอีก 2 ล้านล้านบาทได้ แค่ 2 เรื่องนี้ ทฤษฎีนี้ก็เพิ่ม wealth ให้ประเทศไปแล้ว 4 ล้านล้านบาทแล้วครับ
ประเทศไทยมี อดบ.พันธบัตร 10 ปี อยู่ที่ 4.2% ซึ่งเป็น 3.5 เท่าของญี่ปุ่น ดังนั้น หนี้รัฐต่อ จีดีพี ของเราหากยืนที่ 60% ก็เทียบเท่ากับภาระดบ.จ่ายที่สูงเท่ากับหนี้ของญี่ปุ่นที่ 210% GDP เชียวนะครับ
ตอนนี้หลายประเทศในโลกกำลังคิดว่า แค่นโยบายการเงิน การคลัง ด้วยการกดดบ.ใกล้ติดดิน การเพิ่มสภาพคล่องโดย Fed และ การขาดดุลราว 10% GDP ก็น่าจะช่วยฟื้นจากวิกฤติได้แล้ว
แต่ผมคิดว่ามันไม่ใช่ เราจะเป็นตัว W ค่อนข้างแน่
ประเทศอย่าง จีน เวียดนาม และ ยูโรโซน กำลังจะระเบิดตามมาแน่
และ ขาลงรอบ 2 นี้ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไทเก๊ก จะถูกหยิบยกขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือ ศก.โลก ไม่ต้องสร้างหนี้สาธารณะหลายล้านล้านดอลลาร์
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
- SEHJU
- Verified User
- โพสต์: 1238
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 65
เจอแล้วๆ พี่โอรสสวรรค์ นักเศรษฐศาสตร์ตัวจริง...
พี่เฟยได้คู่ต่อกรแล้วทีนี้ สนุกล่ะ :o
พี่เฟยได้คู่ต่อกรแล้วทีนี้ สนุกล่ะ :o
-
- Verified User
- โพสต์: 569
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 66
[quote="SEHJU"]เจอแล้วๆ พี่โอรสสวรรค์ นักเศรษฐศาสตร์ตัวจริง...
พี่เฟยได้คู่ต่อกรแล้วทีนี้ สนุกล่ะ
พี่เฟยได้คู่ต่อกรแล้วทีนี้ สนุกล่ะ
เราจะพอเพียง แค่เราเพียงพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
เราจะมีพอ แม้เราพอมี
เราจะดีพอ แค่เราพอดี
เราจะพอใจ แค่ใจเราพอ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 67
คือ ตอนนี้ผมเป็นห่วง ญี่ปุ่น เป็นอันมาก
ประเทศนี้ติดทั้ง "กับดักสภาพคล่อง" และ "กับดักเคนส์" ไม่สามารถฟื้นตัวทาง ศก.ได้ โดยอาศัยกรอบแนวคิดเศรษฐศาสตร์เดิมๆ ได้
รัฐบาลก็ยังฝืนทำสิ่งเดิมๆ ด้วยการออกพันธบัตร มาดูดเงินออมภาคเอกชน และ ทำให้ภาคเอกชนใช้สอยเงินได้น้อยลง ศก.มันก็เลยไม่ฟื้น
ผมคิดว่า "เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก" จะเป็นคำตอบนั้น
ผมจึงเป็น 1 ในไม่กี่คน ของนักเศรษฐศาสตร์ในโลกใบนี้ ที่จะช่วยฟื้น ศก.ญี่ปุ่นได้ โดยแม้แต่ คนได้โนเบลอย่าง ศจ.พอล ครุกแมน และ ศจ.สติกลิตซ์ ก็ยังยกธงขาว .... ไม่สามารถช่วยญี่ปุ่นได้
คิดๆ ไปแล้ว น่าจะไปเป็นที่ปรึกษา ศก.ให้ประเทศญี่ปุ่น คงไม่เลวนะครับ
เห็น Mr.Hatoyama นายกฯ และ Mr.Jujii รมว.คลัง แล้วสงสารมากๆ
พวกเขาไม่รู้วิธีแก้ไขหรอก แต่เป็นหนี้ที่ก็เลยต้องฝืนๆ ทำไป
สุดท้ายจะยิ่งติดกับดักกว่าเดิมครับ
ญี่ปุ่นควร "ยืมพลัง" กองทุนบำนาญ โดยอาจใช้แนวคิดคล้ายๆ กับสิ่งที่ผมเขียน แบบ "สินเชื่อ 777" เพราะ ญี่ปุ่นชอบเลขนี้มาก
ปล่อยกู้ไม่เกิน 7 ส่วนของเงินออมบำนาญ ดบ.7% ผ่อน 7 ปี ได้เงินภายใน 7 วันเท่านั้น
เงิน 1.4 พันล้านล้านเยน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ทางการเงินของประชาชนญี่ปุ่น หรือราว 300% GDP นั้น
หากแค่ 2% ถูกนำมาใช้จ่าย ก็จะเป็นเงินถึง 6% และ นำไปหมุน 2 รอบก็จะสร้าง GDP ได้ถึง 12% เข้าไปแล้ว ช่วยได้มากๆ
แค่ "กระบวนท่า" เดียว ก็ช่วยได้เยอะแล้ว
แก้ได้ง่ายนิดเดียว "เส้นผมบังภูเขา" จริงๆ แต่ฉลาดๆ อย่างผมก็เสียเวลาคิดถึง 10 ปี เชียวนะครับ
ประเทศนี้ติดทั้ง "กับดักสภาพคล่อง" และ "กับดักเคนส์" ไม่สามารถฟื้นตัวทาง ศก.ได้ โดยอาศัยกรอบแนวคิดเศรษฐศาสตร์เดิมๆ ได้
รัฐบาลก็ยังฝืนทำสิ่งเดิมๆ ด้วยการออกพันธบัตร มาดูดเงินออมภาคเอกชน และ ทำให้ภาคเอกชนใช้สอยเงินได้น้อยลง ศก.มันก็เลยไม่ฟื้น
ผมคิดว่า "เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก" จะเป็นคำตอบนั้น
ผมจึงเป็น 1 ในไม่กี่คน ของนักเศรษฐศาสตร์ในโลกใบนี้ ที่จะช่วยฟื้น ศก.ญี่ปุ่นได้ โดยแม้แต่ คนได้โนเบลอย่าง ศจ.พอล ครุกแมน และ ศจ.สติกลิตซ์ ก็ยังยกธงขาว .... ไม่สามารถช่วยญี่ปุ่นได้
คิดๆ ไปแล้ว น่าจะไปเป็นที่ปรึกษา ศก.ให้ประเทศญี่ปุ่น คงไม่เลวนะครับ
เห็น Mr.Hatoyama นายกฯ และ Mr.Jujii รมว.คลัง แล้วสงสารมากๆ
พวกเขาไม่รู้วิธีแก้ไขหรอก แต่เป็นหนี้ที่ก็เลยต้องฝืนๆ ทำไป
สุดท้ายจะยิ่งติดกับดักกว่าเดิมครับ
ญี่ปุ่นควร "ยืมพลัง" กองทุนบำนาญ โดยอาจใช้แนวคิดคล้ายๆ กับสิ่งที่ผมเขียน แบบ "สินเชื่อ 777" เพราะ ญี่ปุ่นชอบเลขนี้มาก
ปล่อยกู้ไม่เกิน 7 ส่วนของเงินออมบำนาญ ดบ.7% ผ่อน 7 ปี ได้เงินภายใน 7 วันเท่านั้น
เงิน 1.4 พันล้านล้านเยน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ทางการเงินของประชาชนญี่ปุ่น หรือราว 300% GDP นั้น
หากแค่ 2% ถูกนำมาใช้จ่าย ก็จะเป็นเงินถึง 6% และ นำไปหมุน 2 รอบก็จะสร้าง GDP ได้ถึง 12% เข้าไปแล้ว ช่วยได้มากๆ
แค่ "กระบวนท่า" เดียว ก็ช่วยได้เยอะแล้ว
แก้ได้ง่ายนิดเดียว "เส้นผมบังภูเขา" จริงๆ แต่ฉลาดๆ อย่างผมก็เสียเวลาคิดถึง 10 ปี เชียวนะครับ
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
- Outliers
- Verified User
- โพสต์: 527
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 68
ผมชอบมุมมองต่างๆบางมุมของคุณอะไรดีมากเลยนะครับ
บางมุมมองก็เป็นมุมที่ผมคาดไม่ถึงมาก่อน
บวกกันการที่เป็นคนกล้าคิด กล้าเขียน เลยอยากมาให้กำลังใจน่ะครับ
ผมขอถามคุณอะไรดีเกี่ยวกับมุมมองด้านสิ่งแวดล้อมกับเศรฐษศาสตร์หน่อยสิครับ
เรื่องโลกร้อน (Climate Change) ที่ฮิตๆกันอยู่
คุณอะไรดีล่ะ คิดว่าในอนาคตมันจะเป็นอย่างไรบ้างครับ
มันจะมีผลกระทบกับเราแค่ไหน ในทางเศรษฐศาสตร์นะ เช่น แต่ละบริษัทจะต้องปรับเปลี่ยนอะไรมากไหม หรือจะเป็นแค่กระแส ที่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไปน่ะครับ
เพราะผมเห็นว่าหลายๆประเทศก็ห้ามแจกถุงพลาสติกฟรีแล้ว ต้องซื้อในราคาที่แพงมาถ้าอยากได้ หรือเรื่อง carbon credit, carbon footprint นี่มันจะเกิดได้จริงหรือครับ
บางมุมมองก็เป็นมุมที่ผมคาดไม่ถึงมาก่อน
บวกกันการที่เป็นคนกล้าคิด กล้าเขียน เลยอยากมาให้กำลังใจน่ะครับ
ผมขอถามคุณอะไรดีเกี่ยวกับมุมมองด้านสิ่งแวดล้อมกับเศรฐษศาสตร์หน่อยสิครับ
เรื่องโลกร้อน (Climate Change) ที่ฮิตๆกันอยู่
คุณอะไรดีล่ะ คิดว่าในอนาคตมันจะเป็นอย่างไรบ้างครับ
มันจะมีผลกระทบกับเราแค่ไหน ในทางเศรษฐศาสตร์นะ เช่น แต่ละบริษัทจะต้องปรับเปลี่ยนอะไรมากไหม หรือจะเป็นแค่กระแส ที่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไปน่ะครับ
เพราะผมเห็นว่าหลายๆประเทศก็ห้ามแจกถุงพลาสติกฟรีแล้ว ต้องซื้อในราคาที่แพงมาถ้าอยากได้ หรือเรื่อง carbon credit, carbon footprint นี่มันจะเกิดได้จริงหรือครับ
The Miracle of 10,000 hrs
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 69
ขอบคุณครับ.....Outliers เขียน:ผมชอบมุมมองต่างๆบางมุมของคุณอะไรดีมากเลยนะครับ
บางมุมมองก็เป็นมุมที่ผมคาดไม่ถึงมาก่อน
บวกกันการที่เป็นคนกล้าคิด กล้าเขียน เลยอยากมาให้กำลังใจน่ะครับ
ผมขอถามคุณอะไรดีเกี่ยวกับมุมมองด้านสิ่งแวดล้อมกับเศรฐษศาสตร์หน่อยสิครับ
เรื่องโลกร้อน (Climate Change) ที่ฮิตๆกันอยู่
คุณอะไรดีล่ะ คิดว่าในอนาคตมันจะเป็นอย่างไรบ้างครับ
มันจะมีผลกระทบกับเราแค่ไหน ในทางเศรษฐศาสตร์นะ เช่น แต่ละบริษัทจะต้องปรับเปลี่ยนอะไรมากไหม หรือจะเป็นแค่กระแส ที่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไปน่ะครับ
เพราะผมเห็นว่าหลายๆประเทศก็ห้ามแจกถุงพลาสติกฟรีแล้ว ต้องซื้อในราคาที่แพงมาถ้าอยากได้ หรือเรื่อง carbon credit, carbon footprint นี่มันจะเกิดได้จริงหรือครับ
แก้เรื่อง โลกร้อน ผมว่า มันเป็นปัญหาของ อเมริกา และ จีน มากกว่านะ เพราะ 2 ประเทศนี้แหละ คือ ต้นตอของปัญหา
แค่ อเมริกา ขึ้นภาษีน้ำมันเยอะๆ ก็พอแล้ว ตอนนี้ ราคาน้ำมัน ยังถูกกว่า ไทยเสียอีก ทั้งๆที่ รายได้ต่อหัว สูงกว่า ไทยตั้งเป็น 10 เท่าตัว
ประชากรแค่ 5% ของโลก แต่สร้างขยะ และ คาร์บอนถึง 40% ของโลก ปธน.โอบาม่า ต้องทำอะไรที่เด็ดขาดกว่านี้แล้วละ
ขึ้นภาษีน้ำมันไปเลย 50% ..... ผมว่าก็ยังสบายๆ นะ คนก็ใช้น้ำมันน้อยลง รัฐบาลก็เก็บภาษีได้มากขึ้น ดีต่อโลกด้วย เรื่องแบบนี้ทำไมไม่รีบๆ ทำ ??
ขณะที่ไทย ก้าวหน้ากว่ามาก ขึ้นภาษีสรรพสามิตเพียบเลย ท่านนายกฯ กับ รมว.คลัง คงนึกว่าคนไทย รวยเหมือนคนอังกฤษละมั้ง ราคาน้ำมันขนาดนี้คนอังกฤษสบายๆ คนไทย (ไม่กี่คน) ก็คงสบายๆ เหมือนกัน
จีน ก็เหมือนกัน ต้องหยุดชดเชยราคาน้ำมันได้แล้ว ขึ้นภาษีน้ำมัน และ ถ่านหิน เอาให้เต็มที่....
แต่เหรียญย่อมมี 2 ด้านเสมอ ..... การดูแลสิ่งแวดล้อม ก็อาจทำให้ ศก.ไม่ฟื้นตัวได้ครับ....
อุตฯ ที่น่าจะต้องรับต้นทุนเพิ่มก็คือ อุตฯ หนัก ปิโตรเคมี เหล็กกล้าทั้งหลาย ส่วน อุตฯ ที่น่าจะดี คือ พวก IT พลังงานทดแทน และ ธุรกิจกำจัดของเสีย ทั้งหลายละมั้งครับ
Carbon credit หรือ ?? อุตฯ ในมาบตาพุด สร้างคาร์บอนมาก แต่ไปสร้าง พท.สีเขียวในกัมพูชา เพราะต้นทุนต่ำกว่า.....
คิดว่าคนไทยจะยอมเรืองแบบนี้ไหลละ ???
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
- green/30/10/08
- Verified User
- โพสต์: 217
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 70
ตามอ่านกระทู้เศรษฐศาสตร์อยู่ สนุก ได้ความรู้ดี ขอบคุณๆทุกท่านที่ทำ
ความดี
ความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 71
ผมขอปรับ 18 กระบวนท่าใหม่ให้อ่านได้ง่ายๆ ขึ้น แต่ยังคงหลัการเดิมด้วยการใช้หลัก ยืมพลัง และ รักษาสมดุลหยินหยาง
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก 18 กระบวนท่า
นโยบายที่เกี่ยวกับกองทุนบำนาญ
1. เรียกร้องประเทศต่างๆ ปรับ FX ให้ยืดหยุ่น เพื่อรักษาสมดุลทางการค้า และ ป้องกันวิกฤติศก.ฟองสบู่ต่างๆ
2. "สินเชื่อ99" ให้สถาบันบริหารกองทุนเกษียณค้ำประกันไม่เกิน 9 ส่วน ดบ.9% ผ่อน 9 ปี ได้เงินใน 9 วัน เงิน 1.5 ล้านล้านบาท จาก สปส. กบข. และ กสล. คาดว่าราว 60% หรือ 9 แสนล้านจะมาช่วยกำลังซื้อของประชาชนได้
3. ลดอัตราสมทบกองทุนบำนาญ เช่น กบข. สปส. กสล. ทำให้ขรก. และ ผู้ประกันตนมีเงินเหลือมากขึ้น นับแสนล้านบาท
4. ลดวงเงินหักลดหย่อนภาษีของ RMF, LTF ทำให้คนรวยๆ แทนที่ออมเงินจะนำไปใช้จ่ายเพิ่ม
5. ให้สามารถนำเงินบำเหน็จตกทอดเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันได้ จะช่วย ขรก.ที่เกษียณจำนวนมาก
6. เพิ่มเงินช่วยเหลือจากประกันสังคม เช่น สงเคราะห์บุตรถึงอายุ 12 ปี และ เบี้ยแทนคุณบิดามารดา ดึงเงินจาก สปส.เพื่อเพิ่มกำลังซื้อ ปชช.ที่ยากไร้
นโยบายทีเกี่ยวกับ อสังหาฯ
7. กำหนดสัดส่วนการลงทุนของกองทุนบำนาญในอสังหาฯ เช่น 5% ขึ้นไป
8. ให้ต่างชาติเช่าได้นานขึ้นจาก 30 ปีเป็น 99 ปี และ ให้ถือครองคอนโดฯ ได้มากกว่า 49%
9. สนับสนุนการจัดให้คนเกษียณสามารถกู้ยืมเงินผ่าน reverse mortgage ได้ อาจเพิ่มสินเชื่อได้ถึง 3 แสนล้านบาทเทียบเท่าสินเชื่อบ้านตามปกติทุกปี
นโยบายที่เกียวกับ ตลาดหุ้น
10. กำหนดการลงทุนขั้นต่ำในหุ้น ของกองทุนบำนาญเช่น ตั้งแต่ 10% ณ กลางปี 53 เป็น 15% ณ ปลายปี 53 20% ณ ปลายปี 54 เป็นต้น
11. ยกเลิกข้อจำกัดการถือครองหุ้นโดยชาวต่างชาติ สงวนไว้เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสาธารณณูปโภคเท่านั้น
12. จัดตั้งกองทุนหุ้นขนาดเล็ก เพื่อให้ตลาดหุ้นเกิดความสมดุล
นโยบายเกี่ยวกับสินค้าเกษตร
13. จัดตั้งกองทุนรวมสินค้าเกษตรไทย เพื่อให้สามารถเปลี่ยนจาก สินค้า เป็น สินทรัพย์ จะเพิ่มราคาได้มาก คล้ายๆ กับกรณี น้ำมัน และ ทองคำ
14. กำหนดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนรวมสินค้าเกษตร หรือ สัญญาซื้อล่วงหน้าในตลาด AFET ของกองทุนบำนาญ จะเพิ่มกำลังซื้อได้อีกแสนล้าน
นโยบายเพิ่มประชากรซึ่งมีรายได้
15. Retirement Center สร้างไทยให้เป็นศูนย์กลางการเกษียณโลก ดึงดูดคนราว 1 ล้านคนมาเกษียณในไทย สร้าง GDP เพิ่มได้ 1 ล้านล้านบาท
16. ยืมพลังแรงงานต่างด้าว มาใช้จ่ายในประเทศไทย หัวละ 3 หมื่นต่อปี ราว 4 ล้านคน ดังนั้นจะเพิ่ม GDP ได้ราว 2.4 แสนล้านบาท
นโยบายสนับสนุนสินเชื่อผ่านแบงก์รัฐ
17. ส่งเสริมให้มีการใช้หลักประกันเพื่อค้ำประกันสินเชื่อได้กว้างขวางยิ่งขึ้น ทั้ง บ้านในลักษณะ Home equity, Reverse Mortgage รถยนต์ ในลักษณะของ Car for Cash หรือ ทองคำ
18. ส่งเสริมให้มีการปล่อยกู้ผ่าน ธ.ของรัฐ โดยผ่อนปรนเงื่อนไขการกู้ยืมลง และ ปล่อยกู้เร็วในลักษณะของฟาสต์แทรกต์
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก 18 กระบวนท่า
นโยบายที่เกี่ยวกับกองทุนบำนาญ
1. เรียกร้องประเทศต่างๆ ปรับ FX ให้ยืดหยุ่น เพื่อรักษาสมดุลทางการค้า และ ป้องกันวิกฤติศก.ฟองสบู่ต่างๆ
2. "สินเชื่อ99" ให้สถาบันบริหารกองทุนเกษียณค้ำประกันไม่เกิน 9 ส่วน ดบ.9% ผ่อน 9 ปี ได้เงินใน 9 วัน เงิน 1.5 ล้านล้านบาท จาก สปส. กบข. และ กสล. คาดว่าราว 60% หรือ 9 แสนล้านจะมาช่วยกำลังซื้อของประชาชนได้
3. ลดอัตราสมทบกองทุนบำนาญ เช่น กบข. สปส. กสล. ทำให้ขรก. และ ผู้ประกันตนมีเงินเหลือมากขึ้น นับแสนล้านบาท
4. ลดวงเงินหักลดหย่อนภาษีของ RMF, LTF ทำให้คนรวยๆ แทนที่ออมเงินจะนำไปใช้จ่ายเพิ่ม
5. ให้สามารถนำเงินบำเหน็จตกทอดเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันได้ จะช่วย ขรก.ที่เกษียณจำนวนมาก
6. เพิ่มเงินช่วยเหลือจากประกันสังคม เช่น สงเคราะห์บุตรถึงอายุ 12 ปี และ เบี้ยแทนคุณบิดามารดา ดึงเงินจาก สปส.เพื่อเพิ่มกำลังซื้อ ปชช.ที่ยากไร้
นโยบายทีเกี่ยวกับ อสังหาฯ
7. กำหนดสัดส่วนการลงทุนของกองทุนบำนาญในอสังหาฯ เช่น 5% ขึ้นไป
8. ให้ต่างชาติเช่าได้นานขึ้นจาก 30 ปีเป็น 99 ปี และ ให้ถือครองคอนโดฯ ได้มากกว่า 49%
9. สนับสนุนการจัดให้คนเกษียณสามารถกู้ยืมเงินผ่าน reverse mortgage ได้ อาจเพิ่มสินเชื่อได้ถึง 3 แสนล้านบาทเทียบเท่าสินเชื่อบ้านตามปกติทุกปี
นโยบายที่เกียวกับ ตลาดหุ้น
10. กำหนดการลงทุนขั้นต่ำในหุ้น ของกองทุนบำนาญเช่น ตั้งแต่ 10% ณ กลางปี 53 เป็น 15% ณ ปลายปี 53 20% ณ ปลายปี 54 เป็นต้น
11. ยกเลิกข้อจำกัดการถือครองหุ้นโดยชาวต่างชาติ สงวนไว้เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสาธารณณูปโภคเท่านั้น
12. จัดตั้งกองทุนหุ้นขนาดเล็ก เพื่อให้ตลาดหุ้นเกิดความสมดุล
นโยบายเกี่ยวกับสินค้าเกษตร
13. จัดตั้งกองทุนรวมสินค้าเกษตรไทย เพื่อให้สามารถเปลี่ยนจาก สินค้า เป็น สินทรัพย์ จะเพิ่มราคาได้มาก คล้ายๆ กับกรณี น้ำมัน และ ทองคำ
14. กำหนดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนรวมสินค้าเกษตร หรือ สัญญาซื้อล่วงหน้าในตลาด AFET ของกองทุนบำนาญ จะเพิ่มกำลังซื้อได้อีกแสนล้าน
นโยบายเพิ่มประชากรซึ่งมีรายได้
15. Retirement Center สร้างไทยให้เป็นศูนย์กลางการเกษียณโลก ดึงดูดคนราว 1 ล้านคนมาเกษียณในไทย สร้าง GDP เพิ่มได้ 1 ล้านล้านบาท
16. ยืมพลังแรงงานต่างด้าว มาใช้จ่ายในประเทศไทย หัวละ 3 หมื่นต่อปี ราว 4 ล้านคน ดังนั้นจะเพิ่ม GDP ได้ราว 2.4 แสนล้านบาท
นโยบายสนับสนุนสินเชื่อผ่านแบงก์รัฐ
17. ส่งเสริมให้มีการใช้หลักประกันเพื่อค้ำประกันสินเชื่อได้กว้างขวางยิ่งขึ้น ทั้ง บ้านในลักษณะ Home equity, Reverse Mortgage รถยนต์ ในลักษณะของ Car for Cash หรือ ทองคำ
18. ส่งเสริมให้มีการปล่อยกู้ผ่าน ธ.ของรัฐ โดยผ่อนปรนเงื่อนไขการกู้ยืมลง และ ปล่อยกู้เร็วในลักษณะของฟาสต์แทรกต์
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
- samahara
- Verified User
- โพสต์: 136
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 72
ผมไม่ค่อยรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์นะครับ ต้องออกตัวไว้ก่อน
แต่ผมมองว่า แนวความคิด มันไม่มีผิด ไม่มีถูก มันเป็นไปได้ทั้งนั้นแหละ
ขึ้นอยู่กับเวลา และโอกาส...บางอย่างทั้งๆที่รู้ว่าถูกต้อง แต่ทำไม่ได้ ด้วยหลายๆเหตุผล...
ผมชอบพี่อะไรดีล่ะ..ที่กล้าแสดงความคิดเห็น ในแนวทางของตนเองอย่างเด่นชัด และอ้างถึงข้อมูลประกอบได้ดี...นั่นหมายถึงมีการทำการบ้านมาแล้ว ...
และชอบพี่ๆอีกหลายท่านที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมถก อย่างมีเหตุผล ทำให้คนที่ตามอ่านเริ่มเข้าใจขึ้นมาบ้าง ทั้งด้านบวกและลบ
มองๆไปนี่คือวิธีการสอนอีกอย่างหนึ่ง
โพสต่อนะครับ หลายคนตามอ่านอยู่...ผมคนนึงล่ะ...
แต่ผมมองว่า แนวความคิด มันไม่มีผิด ไม่มีถูก มันเป็นไปได้ทั้งนั้นแหละ
ขึ้นอยู่กับเวลา และโอกาส...บางอย่างทั้งๆที่รู้ว่าถูกต้อง แต่ทำไม่ได้ ด้วยหลายๆเหตุผล...
ผมชอบพี่อะไรดีล่ะ..ที่กล้าแสดงความคิดเห็น ในแนวทางของตนเองอย่างเด่นชัด และอ้างถึงข้อมูลประกอบได้ดี...นั่นหมายถึงมีการทำการบ้านมาแล้ว ...
และชอบพี่ๆอีกหลายท่านที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมถก อย่างมีเหตุผล ทำให้คนที่ตามอ่านเริ่มเข้าใจขึ้นมาบ้าง ทั้งด้านบวกและลบ
มองๆไปนี่คือวิธีการสอนอีกอย่างหนึ่ง
โพสต่อนะครับ หลายคนตามอ่านอยู่...ผมคนนึงล่ะ...
บุคคลผู้มีปัญญารู้จักใคร่ครวญ ย่อมตั้งตนได้ด้วยทรัพย์อันเป็นต้นทุน แม้มีประมาณน้อย เหมือนคนก่อไฟกองน้อย ให้เป็นกองใหญ่
- SodSy
- Verified User
- โพสต์: 13
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 73
ผมเห็นด้วยกับการ ส่งเสริม ให้วิชา การออม การลงทุนเข้าไปอยู่ใน
วิชาสังคม ตั้งแต่ระดับมัธยมเลย เพราะมันจะทำให้คนเข้าใจ ความหมาย
ของค่าของเงินกับเวลา และอัตราดอกเบี้ยมากขึ้น และจะได้เห็นความสำคัญของการออมเงินในวันนี้ และความน่ากลัวของดอกเบี้ยในเงินกู้นอกระบบ
ถ้าจำไม่ผิดระดับ มัธยม ยังไม่ได้สอนตรงนี้มากหรือไหร่ (หรือผลลืมไปแล้วก็ไม่รุ้) ซึ่งมันจะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับทุกคน ในการใช้ชีวิต
และเห็นด้วยว่า ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ ในปัจจุบันก้ยังบอกไม่ได้ว่า เป็นทฤษฏีที่ถูกต้อง ยังคงต้องใช้เวลาในการพิสูจน์อยู่
จึงอยากสนับสนุนการออกความเห็นใหม่ๆ ในการสร้างความเห็น เพื่อการพัฒนา
ปล.ผมว่าถ้าพี่อะไรดีล่ะ ต้องการพลักดัน แนวคิดนี้ คงต้องรวบรวมข้อมูล ตัวเลข และลองเผยแพร่ซักระยะ ถึงจะให้คนในวงการคล้อยตาม แต่ผมเห็นด้วยในการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ เป็นแนวคิดที่ดีมากทีเดียว
วิชาสังคม ตั้งแต่ระดับมัธยมเลย เพราะมันจะทำให้คนเข้าใจ ความหมาย
ของค่าของเงินกับเวลา และอัตราดอกเบี้ยมากขึ้น และจะได้เห็นความสำคัญของการออมเงินในวันนี้ และความน่ากลัวของดอกเบี้ยในเงินกู้นอกระบบ
ถ้าจำไม่ผิดระดับ มัธยม ยังไม่ได้สอนตรงนี้มากหรือไหร่ (หรือผลลืมไปแล้วก็ไม่รุ้) ซึ่งมันจะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับทุกคน ในการใช้ชีวิต
และเห็นด้วยว่า ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ ในปัจจุบันก้ยังบอกไม่ได้ว่า เป็นทฤษฏีที่ถูกต้อง ยังคงต้องใช้เวลาในการพิสูจน์อยู่
จึงอยากสนับสนุนการออกความเห็นใหม่ๆ ในการสร้างความเห็น เพื่อการพัฒนา
ปล.ผมว่าถ้าพี่อะไรดีล่ะ ต้องการพลักดัน แนวคิดนี้ คงต้องรวบรวมข้อมูล ตัวเลข และลองเผยแพร่ซักระยะ ถึงจะให้คนในวงการคล้อยตาม แต่ผมเห็นด้วยในการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ เป็นแนวคิดที่ดีมากทีเดียว
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 75
ก็ไปด้วยกันนะครับ รายได้สุทธิที่ติดกระเป๋า...เกิดจากรายได้รวม หักด้วย เงินผ่อนแต่ละเดือน....นักดูดาว เขียน:ผมมองว่าคนไทยมีปัญหารายได้ มากกว่าปัญหาการออมนะครับ
ไม่รู้คิดเหมือนผมหรือเปล่า
ถ้าเราลดภาระเงินผ่อนลงได้... ประชาชนก็มีเงินเหลือมากขึ้น จากภาระ ดบ.จ่ายที่ลดลงครับ
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก... กรอบแนวคิดใหม่ใช้หลักยืมพลัง และ รักษาสมดุลเพื่อช่วยฟื้น ศก.ไทย และ ศก.โลก
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
หุ้นเงา... หุ้นอยู่ในเงาทำให้คนมองเห็นไม่ชัด ราคาหุ้นพร้อมจะปรับขึ้น 2 เด้งจาก EPS ที่สูงขึ้น และ การปรับค่า P/E ให้สูงขึ้นในอนาคต
-
- Verified User
- โพสต์: 2513
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 76
นโยบายเรียนฟรี ดีจริงหรือ มีเงินจ้างครูเต็มที่หรือไม่
การที่เด็กที่จบสูงๆทำให้โครงสร้างรายได้ของคนไทยดีขึ้นจริงหรือไม่?
ฝากไว้ตามนั้นครับ
การที่เด็กที่จบสูงๆทำให้โครงสร้างรายได้ของคนไทยดีขึ้นจริงหรือไม่?
ฝากไว้ตามนั้นครับ
เสรีภาพก็เหมือนอากาศที่เราไม่อาจมองเห็นด้วยตา แต่จะรู้สึกได้ในทันทีหากมีมันอยู่เบาบางหรือขาดหายไป
-จีรนุช เปรมชัยพร
-จีรนุช เปรมชัยพร
-
- Verified User
- โพสต์: 2513
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 78
ศึุกษามากเท่าไหร่ ไม่สำคัญเท่าศึกษาอะไรครับ เป็นที่รู้กันว่าเด็กที่จบป.ตรีในหลายสาขาทำงานไม่ตรงสาย และเราก็กำลังผลิตบัณฑิตสาขาเหล่านั้นอย่างต่อเนื่องจากการเรียนฟรี และดึงดูดให้เด็กเข้าเรียนป.ตรีง่ายขึ้น
ผมมองว่าสิ่งที่ควรจะมีมากๆในการศึกษาไทย ก็คือภาษาอังกฤษระดับที่ใช้สื่อสารได้ แ่ต่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยนานาชาติหรือโรงเรียนสอนภาษาก็แพงทีเดียว เอาเป็นว่าเรียนภาษาอังกฤษฟรี จะช่วยให้คนไทยพัฒนาขึ้นมากกว่าเรียนฟรีแบบในปัจจุบันหรือไม่ครับ?
เคยรู้จักน้องคนนึงรับเลี้ยงเด็ก แต่รายได้หลักหมื่น ถามว่าทำไมได้ค่าแรงเยอะจัง เธอตอบว่าเธอเรียนน้อย แต่คุยภาษาอังกฤษได้ ฝรั่งก็เลยจ้างให้เลี้ยงลูก หรือค่าแรงแม่บ้านทำงานใน รพ.อินเตอร์อย่าง BNH ก็หลักหมื่น เพราะภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ เห็นคุณเฟยหงเคยเกริ่นเรื่องหมู่บ้านต่างชาติมานานแล้ว ในหนังสือเล่มแรก ก็เลยนึกได้น่ะครับ
ผมมองว่าสิ่งที่ควรจะมีมากๆในการศึกษาไทย ก็คือภาษาอังกฤษระดับที่ใช้สื่อสารได้ แ่ต่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยนานาชาติหรือโรงเรียนสอนภาษาก็แพงทีเดียว เอาเป็นว่าเรียนภาษาอังกฤษฟรี จะช่วยให้คนไทยพัฒนาขึ้นมากกว่าเรียนฟรีแบบในปัจจุบันหรือไม่ครับ?
เคยรู้จักน้องคนนึงรับเลี้ยงเด็ก แต่รายได้หลักหมื่น ถามว่าทำไมได้ค่าแรงเยอะจัง เธอตอบว่าเธอเรียนน้อย แต่คุยภาษาอังกฤษได้ ฝรั่งก็เลยจ้างให้เลี้ยงลูก หรือค่าแรงแม่บ้านทำงานใน รพ.อินเตอร์อย่าง BNH ก็หลักหมื่น เพราะภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ เห็นคุณเฟยหงเคยเกริ่นเรื่องหมู่บ้านต่างชาติมานานแล้ว ในหนังสือเล่มแรก ก็เลยนึกได้น่ะครับ
เสรีภาพก็เหมือนอากาศที่เราไม่อาจมองเห็นด้วยตา แต่จะรู้สึกได้ในทันทีหากมีมันอยู่เบาบางหรือขาดหายไป
-จีรนุช เปรมชัยพร
-จีรนุช เปรมชัยพร
-
- Verified User
- โพสต์: 67
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 79
ไม่รู้ซิครับ ผมว่าเราอยู่ในสังคมที่ผิดปกติด้วยทำให้
อะไรๆมันพัฒนาช้าและยาก คนไม่พยายามจะเข้าใจ และแก้ไขสิ่งที่มันผิดๆ
ตอนแรกผมก็สงสัยทำไหมทำอะไรก็ผิดไปจากคนอื่น
หลังๆท่องโลกกว้าง(เปิดกะลา)ถึงสังเกตสังคมรอบๆมันผิดปกติหรือปล่าว
อย่างแนวคิดกระทู้นี้ผมว่า ดีมาก เลยครับ ค่อยใช้ไปทีละอย่างก็ได้
กลัวสังคม รับไม่ไหว
(อันนี้คิดเห็นส่วนตัว)
จริงๆ อยากให้คนเกษียณกันสัก70+ปี ถ้าจะเป็นพวกคนมีทักษะนะ
พวกเก่งที่ความเชี่ยวชาญ ไม่ใช่พวกท่องตำรากับ แก่เพราะเกิดก่อน
อันนี้เพื่อ ลดภาระเลี้ยงดูคนมีอายุ ที่คิดว่าตัวเองหมดสภาพเพราะ
เงื่อนไขที่รอบข้างกำหนด
แล้วก็เพิ่มเวลาส่วนตัว Life Style ของคน ซึ่งจะเพิ่มสภาพคล่องใน
ในแต่ละวัน อาจลดเวลาทำงานต่อวันลง แต่อยากให้ลด
วันหยุดประจำปี (อะไรๆก็จะหยุดกัน ลูกเดียว)
เพิ่มการศึกษา เพื่อลดการสูญเสียแบบผิดอันเกิดจะความไม่รู้
ผิดซ้ำซาก แล้วไม่แก้ไข อุดหนุนคนอยากเก่งจริงๆ ไม่ใช่พวกอยากรวยจริงๆ
อื่นๆ คิดต่อกันนะครับ เพราะเดี๋ยวจะยาวเกิน ไม่มีคนอยากอ่าน
อะไรๆมันพัฒนาช้าและยาก คนไม่พยายามจะเข้าใจ และแก้ไขสิ่งที่มันผิดๆ
ตอนแรกผมก็สงสัยทำไหมทำอะไรก็ผิดไปจากคนอื่น
หลังๆท่องโลกกว้าง(เปิดกะลา)ถึงสังเกตสังคมรอบๆมันผิดปกติหรือปล่าว
อย่างแนวคิดกระทู้นี้ผมว่า ดีมาก เลยครับ ค่อยใช้ไปทีละอย่างก็ได้
กลัวสังคม รับไม่ไหว
(อันนี้คิดเห็นส่วนตัว)
จริงๆ อยากให้คนเกษียณกันสัก70+ปี ถ้าจะเป็นพวกคนมีทักษะนะ
พวกเก่งที่ความเชี่ยวชาญ ไม่ใช่พวกท่องตำรากับ แก่เพราะเกิดก่อน
อันนี้เพื่อ ลดภาระเลี้ยงดูคนมีอายุ ที่คิดว่าตัวเองหมดสภาพเพราะ
เงื่อนไขที่รอบข้างกำหนด
แล้วก็เพิ่มเวลาส่วนตัว Life Style ของคน ซึ่งจะเพิ่มสภาพคล่องใน
ในแต่ละวัน อาจลดเวลาทำงานต่อวันลง แต่อยากให้ลด
วันหยุดประจำปี (อะไรๆก็จะหยุดกัน ลูกเดียว)
เพิ่มการศึกษา เพื่อลดการสูญเสียแบบผิดอันเกิดจะความไม่รู้
ผิดซ้ำซาก แล้วไม่แก้ไข อุดหนุนคนอยากเก่งจริงๆ ไม่ใช่พวกอยากรวยจริงๆ
อื่นๆ คิดต่อกันนะครับ เพราะเดี๋ยวจะยาวเกิน ไม่มีคนอยากอ่าน
- green/30/10/08
- Verified User
- โพสต์: 217
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 81
พี่อะไรดีละหายไปไหน ครับ
- leaderinshadow
- Verified User
- โพสต์: 1765
- ผู้ติดตาม: 0
เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
โพสต์ที่ 82
อันนี้ผมเห็นด้วยครับ4. ลดวงเงินหักลดหย่อนภาษีของ RMF, LTF ทำให้คนรวยๆ แทนที่ออมเงินจะนำไปใช้จ่ายเพิ่ม
แต่ผมมองว่า ถ้าไม่ให้พวกคนรวยๆ หรือคนมีตัง รายได้สูงๆ ออมผ่าน LTF RMF
ผมว่า คนพวกนี้จะเอาเงินไปเที่ยวต่างประเทศ ไม่ก็ซื้อสินค้าฟุ่มเฟื่อยจาก
ต่างประเทศ ซะมากกว่า ที่จะมาซื้อของในประเทศนะครับ
ดึงเงินพวกนี้ไว้ เอามาเพิ่ม I ของประเทศไทยดีกว่า ไปเพิ่ม X ของฝรั่ง