S&P 1300 !!!!!
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 32
ส่วนโอกาสที่หุ้นจะลง 500 จุด หรือขึ้นไป 900 จุดก็พอๆ กันแต่โอกาสน้อยลง.....
และโอกาสที่หุ้นจะลง 400 จุด หรือขึ้นไป 1000 จุดก็พอๆ กันอีกนั่นแหละ แต่โอกาสน้อยมากๆ ครับ...
แต่ก็ยังมีกูรูระดับโลกที่คาดการณ์ว่าหุ้นอเมริกา จะลงมากว่าครึ่งหนึ่งจากตอนนี้...กล้ามากๆ ขอบอก
และโอกาสที่หุ้นจะลง 400 จุด หรือขึ้นไป 1000 จุดก็พอๆ กันอีกนั่นแหละ แต่โอกาสน้อยมากๆ ครับ...
แต่ก็ยังมีกูรูระดับโลกที่คาดการณ์ว่าหุ้นอเมริกา จะลงมากว่าครึ่งหนึ่งจากตอนนี้...กล้ามากๆ ขอบอก
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 33
ผมจึงตกใจมากๆ ที่บัฟเฟต์ บอกว่า เบิร์กไชร์ กำลังซือหุ้นกลางเดือน กย.
โดยให้เหตุผลว่า ศก.ฟื้นตัวแล้ว
ที่จริงมันควรจะกลับกัน...
เห็นหุ้นขึ้น แล้วบอกได้ว่า ศก.กำลังจะฟื้นตัวอันนี้ได้ ใช้ได้เลย
แต่ถ้า ศก.ฟื้นตัวแล้ว...จะบอกว่าหุ้นกำลังจะขึ้น...มันบอกไม่ได้ครับ
ทำไม บัฟเฟต์ จึงสลับ แนวคิด leading และ lagging ไปได้ น่าฉงน
โดยให้เหตุผลว่า ศก.ฟื้นตัวแล้ว
ที่จริงมันควรจะกลับกัน...
เห็นหุ้นขึ้น แล้วบอกได้ว่า ศก.กำลังจะฟื้นตัวอันนี้ได้ ใช้ได้เลย
แต่ถ้า ศก.ฟื้นตัวแล้ว...จะบอกว่าหุ้นกำลังจะขึ้น...มันบอกไม่ได้ครับ
ทำไม บัฟเฟต์ จึงสลับ แนวคิด leading และ lagging ไปได้ น่าฉงน
-
- Verified User
- โพสต์: 1296
- ผู้ติดตาม: 1
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 34
ผมว่าคุณอะไรดีละ กำลังสับสนแล้ว
"บัพเฟต์ กำลังซื้อหุ้นกลางเดือน กย. โดยให้เหตุผลว่าเศรษฐกิจฟื้นแล้ว"
ก็ถูกต้องแล้ว บัพเฟต์ไม่ได้บอกว่า หุ้นกำลังจะขึ้น เขาคงตีความหมาย
อย่างที่ คุณอะไรดีละ ว่าไว้ว่า " เห็นหุ้นขึ้น ก็บอกได้ว่าเศรษฐกิจกำลังฟื้น
นี่หุ้น DOW และ S&P ก็ขึ้นมาแล้ว จนบัพเฟต์มั่นใจจึงเริ่มเข้าซื้อหุ้น
แต่ความจริงแล้ว บัพเฟต์เขาไม่เคยสนใจดรรชนีหุ้นเลย เขามองว่า
การทำนายดรรชนีหุ้นหรือทำนายเศรษฐกิจในอนาคตเป็นเรื่องไร้สาระ
เหมือนหมอดู เขาดูแต่มูลค่ากิจการของหุ้นตัวนั้นเท่านั้นเอง
"บัพเฟต์ กำลังซื้อหุ้นกลางเดือน กย. โดยให้เหตุผลว่าเศรษฐกิจฟื้นแล้ว"
ก็ถูกต้องแล้ว บัพเฟต์ไม่ได้บอกว่า หุ้นกำลังจะขึ้น เขาคงตีความหมาย
อย่างที่ คุณอะไรดีละ ว่าไว้ว่า " เห็นหุ้นขึ้น ก็บอกได้ว่าเศรษฐกิจกำลังฟื้น
นี่หุ้น DOW และ S&P ก็ขึ้นมาแล้ว จนบัพเฟต์มั่นใจจึงเริ่มเข้าซื้อหุ้น
แต่ความจริงแล้ว บัพเฟต์เขาไม่เคยสนใจดรรชนีหุ้นเลย เขามองว่า
การทำนายดรรชนีหุ้นหรือทำนายเศรษฐกิจในอนาคตเป็นเรื่องไร้สาระ
เหมือนหมอดู เขาดูแต่มูลค่ากิจการของหุ้นตัวนั้นเท่านั้นเอง
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 35
ผมว่า บัฟเฟต์ กำลังสับสนมากกว่า
หุ้นที่เบิร์กไชร์ลงทุนได้ตอนนี้ มีแต่หุ้นใหญ่ๆ เท่านั้น...
แล้วหุ้นใหญ่ๆ มีตัวไหนบ้างที่ไม่ลง เมื่อตลาดหุ้นดิ่งเหว
อย่ามาอ้าง ไม่กลัวสภาพตลาดฯเลย ตอนนี้ หุ้นที่เบิร์กไชร์ถือ รับกับสภาพตลาดรวมเต็มร้อยครับ....
หุ้นเล็กๆ ของเมืองไทยอาจมีนะ อย่าง SMK หรือ PYLON ถือว่ายืนได้ แม้โดนวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์กระหน่ำอย่างหนัก แต่ตัวใหญ่ๆ โดนหมดครับ
การทำนาย ศก.ทำได้อยู่แล้ว พวกเราทำได้อย่างแม่นยำเสียด้วย โดยเฉพาะภายใน 3 เดือนข้างหน้า มนุษย์หุ้นทำได้ค่อนข้างแม่นเลย
การทำนายตลาดหุ้นสิยากกว่ามาก... หากทำได้ก็คงรวยไปกับตลาดล่วงหน้ากันเยอะแยะแล้วครับ
หุ้นที่เบิร์กไชร์ลงทุนได้ตอนนี้ มีแต่หุ้นใหญ่ๆ เท่านั้น...
แล้วหุ้นใหญ่ๆ มีตัวไหนบ้างที่ไม่ลง เมื่อตลาดหุ้นดิ่งเหว
อย่ามาอ้าง ไม่กลัวสภาพตลาดฯเลย ตอนนี้ หุ้นที่เบิร์กไชร์ถือ รับกับสภาพตลาดรวมเต็มร้อยครับ....
หุ้นเล็กๆ ของเมืองไทยอาจมีนะ อย่าง SMK หรือ PYLON ถือว่ายืนได้ แม้โดนวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์กระหน่ำอย่างหนัก แต่ตัวใหญ่ๆ โดนหมดครับ
การทำนาย ศก.ทำได้อยู่แล้ว พวกเราทำได้อย่างแม่นยำเสียด้วย โดยเฉพาะภายใน 3 เดือนข้างหน้า มนุษย์หุ้นทำได้ค่อนข้างแม่นเลย
การทำนายตลาดหุ้นสิยากกว่ามาก... หากทำได้ก็คงรวยไปกับตลาดล่วงหน้ากันเยอะแยะแล้วครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 69
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 36
ถามคุณ loso ผู้เต็มไปด้วยข้อมูลหน่อยครับ
1.คุณ loso ให้น้ำหนักกับภาพใหญ่อย่างดัชนีตลาดหุ้นหรือเศรษฐกิจมากน้อยแค่ไหนครับ
เพราะว่าคุณ loso เล่นหุ้นตัวเล็ก(เท่าที่อ่านในร้อยคนร้อยหุ้น)เช่น cpf svi แล้วถ้าหุ้นต่ำ
กว่าพื้นฐานแต่ภาพใหญ่ไม่ดีคุณ loso จะทำอย่างไรกับหุ้นใน port ครับ
2.คุณ loso ใช้บริการโบรกไหนเหรอครับ ทำไมถึงมีข้อมูลหุ้นรายตัวและ research ดีๆ
เยอะขนาดนี้มีเพื่อนเป็นผู้จัดการกองทุนหรือเปล่าครับ
1.คุณ loso ให้น้ำหนักกับภาพใหญ่อย่างดัชนีตลาดหุ้นหรือเศรษฐกิจมากน้อยแค่ไหนครับ
เพราะว่าคุณ loso เล่นหุ้นตัวเล็ก(เท่าที่อ่านในร้อยคนร้อยหุ้น)เช่น cpf svi แล้วถ้าหุ้นต่ำ
กว่าพื้นฐานแต่ภาพใหญ่ไม่ดีคุณ loso จะทำอย่างไรกับหุ้นใน port ครับ
2.คุณ loso ใช้บริการโบรกไหนเหรอครับ ทำไมถึงมีข้อมูลหุ้นรายตัวและ research ดีๆ
เยอะขนาดนี้มีเพื่อนเป็นผู้จัดการกองทุนหรือเปล่าครับ
- LOSO
- Verified User
- โพสต์: 2512
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 40
ความพยายามไม่มี ปัญญาไม่เกิด
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 42
Good News for Bulls! There's Plenty to Worry About
Posted Sep 25, 2009 11:03am EDT by Aaron Task in Investing, Recession
Related: GAME, TOL, RIMM, ^dji, ^GSPC, SKF, XLF
Conventional wisdom is the economy is in recovery and even noted skeptic Jim Grant is waxing optimistic. With the U.S. market up more than 50% from its March lows (and international bourses faring even better), all but the most hardcore bears like Peter Schiff have been silenced - or at least gone into hibernation.
Still, a few cracks in the rally's armor have emerged in recent days, in addition to long-term concerns about America's deficits and general societal decay:
Downside surprises: August durable goods, and new and existing homes sales figures were weaker than expected, as were Research In Motion's results and guidance.
Lag This: For all the talk about how employment is a "lagging indicator", the reality is people can't spend much if they don't have a job and will spend less if they're worried about job security. Since consumer spending still accounts for about two-thirds of economic activity, it's hard to see how the rebound will be V-shaped or housing can mount a sustained recovery until the job situation improves. (And, yes, consumer sentiment is on the rise but that's famously volatile gauge and highly correlated to the stock market.)
Valuations: Stocks may be reasonable, even attractive, based on last year's trough earnings (trailing P/E) but they are now overvalued again based on Robert Shiller's long-term cyclically adjusted P/E ratio, which has a very good track record.
Commodity Slippage: Crude headed into Friday's session at it s lowest level since July 29, while gold was recently trading around $990 after having once again failed to sustain a move above the $1000 per ounce level. This could be mere profit taking or a sign the "reflation trade" is hitting a snag as the dollar gets a reprieve from its relentless selloff.
Rising Supply: Thursday was the biggest day for IPOs in 18 months, according to The WSJ. On Friday, Shanda Games raised over $1 billion as its IPO priced above expectations. Meanwhile, selling by insiders like Toll Brother's CEO Bob Toll remains at very high levels.
Bad Banks: Japan's Nomura Holdings tumbled 16% overnight after announcing plans to raise $5.6 billion. There are fears banks worldwide will need to raise more capital to meet new regulatory standards, especially given expectations for another big round of loan losses in the months ahead.
Sum of all Fears: Geopolitics is always a wildcard for investors but the revelations of Iran's secret nuclear facilities, and tough rhetoric at the U.N. from President Obama and Israeli PM Benjamin Netanyahu, raises the odds of military action against the rogue regime.
Of course, if the market "climbs a wall of worry," the fact there's so much to worry about is probably good news for the bulls, who have so far laughed in the face of September's cruel history.
++ ลองอ่านบทคามเรื่องร้ายๆ บ้างนะครับ จะได้เห็นโลก 2 ด้านกันครับ
Posted Sep 25, 2009 11:03am EDT by Aaron Task in Investing, Recession
Related: GAME, TOL, RIMM, ^dji, ^GSPC, SKF, XLF
Conventional wisdom is the economy is in recovery and even noted skeptic Jim Grant is waxing optimistic. With the U.S. market up more than 50% from its March lows (and international bourses faring even better), all but the most hardcore bears like Peter Schiff have been silenced - or at least gone into hibernation.
Still, a few cracks in the rally's armor have emerged in recent days, in addition to long-term concerns about America's deficits and general societal decay:
Downside surprises: August durable goods, and new and existing homes sales figures were weaker than expected, as were Research In Motion's results and guidance.
Lag This: For all the talk about how employment is a "lagging indicator", the reality is people can't spend much if they don't have a job and will spend less if they're worried about job security. Since consumer spending still accounts for about two-thirds of economic activity, it's hard to see how the rebound will be V-shaped or housing can mount a sustained recovery until the job situation improves. (And, yes, consumer sentiment is on the rise but that's famously volatile gauge and highly correlated to the stock market.)
Valuations: Stocks may be reasonable, even attractive, based on last year's trough earnings (trailing P/E) but they are now overvalued again based on Robert Shiller's long-term cyclically adjusted P/E ratio, which has a very good track record.
Commodity Slippage: Crude headed into Friday's session at it s lowest level since July 29, while gold was recently trading around $990 after having once again failed to sustain a move above the $1000 per ounce level. This could be mere profit taking or a sign the "reflation trade" is hitting a snag as the dollar gets a reprieve from its relentless selloff.
Rising Supply: Thursday was the biggest day for IPOs in 18 months, according to The WSJ. On Friday, Shanda Games raised over $1 billion as its IPO priced above expectations. Meanwhile, selling by insiders like Toll Brother's CEO Bob Toll remains at very high levels.
Bad Banks: Japan's Nomura Holdings tumbled 16% overnight after announcing plans to raise $5.6 billion. There are fears banks worldwide will need to raise more capital to meet new regulatory standards, especially given expectations for another big round of loan losses in the months ahead.
Sum of all Fears: Geopolitics is always a wildcard for investors but the revelations of Iran's secret nuclear facilities, and tough rhetoric at the U.N. from President Obama and Israeli PM Benjamin Netanyahu, raises the odds of military action against the rogue regime.
Of course, if the market "climbs a wall of worry," the fact there's so much to worry about is probably good news for the bulls, who have so far laughed in the face of September's cruel history.
++ ลองอ่านบทคามเรื่องร้ายๆ บ้างนะครับ จะได้เห็นโลก 2 ด้านกันครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2545
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 43
http://www.siamintelligence.com/korn-no ... ys-report/
เปิดรีพอร์ตมูดีส์ กรณ์ไม่ปลื้ม บิ๊กซีพีว่าไม่แย่อย่างที่คิด
February 25, 2009
จาก ข้อมูลที่สถาบันมูดี้ส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส ประเมินเศรษฐกิจในเอเชีย พบว่า มูดี้ส์คาด ว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้อาจจะติดลบ 2.3% ขณะที่หลายประเทศในเอเชีย อย่างไต้หวันก็ติดลบถึง 5.23% ญี่ปุ่นติดลบ 4.8% และสิงคโปร์ติดลบ 4.37%
อย่างไรก็ตาม รมว.คลัง ยอมรับว่า เศรษฐกิจของไทยยังคงต้องหดตัวต่อเนื่องในไตรมาสแรกของปีนี้ โดยคาดว่าจะหดตัวมากกว่าไตรมาส 4/51 ที่มีปัญหาการปิดสนามบินและการส่งออกเริ่มหดตัวรุนแรง และในไตรมาส 2 ของปีนี้ก็คงจะยังไม่ค่อยดี แต่ก็จะเริ่มเห็นผลมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐบ้างแล้ว
นายกรณ์ กล่าวว่า การหดตัวของการส่งออกเริ่มชะลอลงในเดือน ม.ค.52 เมื่อเทียบกับไตรมาสสุดท้ายของปีก่อน แม้ว่าเมื่อเทียบปีต่อปีแล้วอาจจะเห็นการหดตัวค่อนข้างมาก เพราะฐานในช่วงต้นปีก่อนอยู่ในระดับสูง นอกจากนั้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศยังมีอยู่ โดยไตรมาส 4/51 เห็นการส่งออกที่หดตัวทำให้เศรษฐกิจติดลบ แต่การบริโภครัฐและเอกชนยืนได้ ทำให้ต่างชาติได้เห็นว่าเศรษฐกิจในประเทศยังอึด
รมว.คลัง กล่าวว่า หลังจากรัฐบาลมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศมากขึ้นทั้งการบริโภค และการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐ และกำลังจะมีการฉีดงบประมาณต่อเนื่องในปีงบ 53 ที่จะมีวงเงินไม่แตกต่างจากปีนี้ ซึ่งเป็นอาวุธหนึ่งที่เตรียมไว้ ยังไม่นับการกู้ยิมเงินจากต่างประเทศ และการค้ำประกันการรับจำนำพืชผล ก็จะช่วยลดผลกระทบกจากความต้องการสินค้าของต่างประเทศที่หายไปได้ แต่รัฐบาลก็ยอมรับว่าคงไม่มีกำลังพออุดได้ทั้งหมด แค่ลดผลกระทบต่อประชาชน
“วิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้เริ่มชัดเจนกว่าเป็นวิกฤติระดับประวัติศาสตร์ ไม่มีประเทศไหนไม่ได้รับผลกระทบ ต้องมาดูว่ากระสุนที่เรามีใช้แก้ไขปัญหาให้กับใคร หน้าที่รัฐบาลคือดูแลผู้ที่ดูแลตัวเองได้น้อยที่สุดก่อน แนววิธีการต่างๆ รัฐบาลมีอยู่แล้ว และประเมินกำลังทางการคลังอยู่ในวิสัยที่จะทำได้” รมว.คลังระบุ
“บิ๊กซีพี” ยันศก.ไทยไม่เลวร้ายสุดในเอเชีย แต่ปีนี้ติดลบแน่
นายอาชว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี กล่าวเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ว่า เศรษฐกิจไทยปี 2552 คงจะติดลบแน่นอน แต่เชื่อว่าไม่ต่ำสุดในเอเชียเหมือนอย่างที่สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ มูดี้ส์อินเวสเตอร์เซอร์วิสคาดการณ์ เพราะประเทศสิงคโปร์น่าจะมีเศรษฐกิจติดลบมากกว่า 5% และต่ำกว่าประเทศไทย เนื่องจากสิงคโปร์พึ่งพาการส่งออก 100% ขณะที่ไทยพึ่งพาการส่งออกประมาณ 70% ของจีดีพี
“จีดีพีของไทยปีนี้ติดลบแน่ แต่จะติดลบมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐและความ รุนแรงของวิกฤติเศรษฐกิจโลก หากจีดีพีติดลบ 4% จะมีคนว่างงานถึง 1.5 ล้านคน แต่หากรัฐบาลมีมาตรการกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง จีดีพีคงติดลบ 2% คนว่างงานประมาณ 1 ล้านคน” นายอาชว์ กล่าว
รองประธานกรรมการซีพี กล่าวอีกว่า รัฐบาลจะต้องมีมาตรการเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระยะปานกลางและระยะยาว รับมือกับปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจที่จะชะลอตัวไปอีก 2-3 ปี โดยให้รัฐบาลมุ่งดูแลภาคการเกษตรและชนบท เพราะมาตรการที่รัฐบาลออกมาระยะสั้น เช่น การแจกเงิน 2,000 บาทไม่ถึงมือชนบท นอกจากนี้รัฐบาลควรเน้นสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ระบบชลประทาน และพัฒนาการเกษตร
สบน. ขอมูดี้ส์ปรับอันดับ
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการ สำนักบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กล่าวว่า สบน.ได้สอบถามมูดี้ส์เกี่ยวกับการออกบทความดังกล่าว ซึ่งได้รับคำชี้แจงว่า เป็นการวิเคราะห์ตามตัวเลขเศรษฐกิจที่ สศช. แถลงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แต่มูดี้ส์ยืนยันว่าจะยังไม่ปรับอันดับความน่าเชื่อถือ (เรตติ้ง) ของไทย ที่ปัจจุบันอยู่ในระดับเทียบเท่า BBB+ Negative Outlook และยังคงประมาณการอัตราเติบโตปีนี้ที่ 0.5%
ที่มา – กรุงเทพธุรกิจ, มติชน
ความเห็น SIU:
บทวิเคราะห์ของ Moody′s Economy.com โดย Alaistair Chan ในหัวข้อ Thailand Outlook: Worse Than the 1997 Crisis? ระบุว่า สถานการณ์ในเมืองไทยอาจเจ็บปวดอยู่แต่ไม่มากเท่าเมื่อครั้งเกิดวิกฤต เศรษฐกิจในปี 2540 ที่ผ่านมา เพราะยังมี “ข่าวดี” อยู่บ้าง สิ่งที่นายชาน เห็นว่า เมืองไทยยังอยู่ในสภาพดีกว่าเมื่อ 10 ปีก่อน แถมยังอาจทำให้อยู่ในสภาพดีกว่า “เพื่อนร่วมภูมิภาค” หลายประเทศ ก็คือ ภาวะหนี้ครัวเรือนและระดับของ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
ความจริงการวิเคราะห์แบบนี้ พูดไปตามเนื้อผ้า ไม่บวกไม่ลบ แต่รัฐบาลชุดนี้คงตกใจกับคำว่า GDP ติดลบ หรือ เศรษฐกิจแย่ที่สุดในภูมิภาค (ที่อาจจะถูกเน้นโดยสื่อมวลชน) ทั้งที่ไม่ว่าใครต่อใครถ้าพูดกันตรงไปตรงมาก็วิเคราะห์กันได้อยู่แล้ว (รายงานวิจัยจาก The Economist – ที่ไม่ใช่บทความเผยแพร่ในนิตยสาร ก็วิเคราะห์ไว้ล่วงหน้านานแล้วด้วยซ้ำว่า ศก. ไทยจะติดลบ) ส่วนประเทศที่อยู่ในเกณฑ์ย่ำแย่ตามบทวิเคราะห์ของ IMF ก็คือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ แทนที่รัฐบาลไทยจะเอาเวลามาโต้แย้งเรื่องนี้ น่าจะหาวิธีแก้ปัญหาและเตรียมการรับมือดีกว่า โดยอย่างแรกที่สุดต้องขจัดเงื่อนไขความขัดแย้งทางการเมือง — แต่เรามองว่าคงทำได้ยากหากแม้ปากจะพูดเรื่องสมานฉันท์ แต่การปฏิบัติยังคงมีลักษณะแบ่งข้างเช่นนี้
เปิดรีพอร์ตมูดีส์ กรณ์ไม่ปลื้ม บิ๊กซีพีว่าไม่แย่อย่างที่คิด
February 25, 2009
จาก ข้อมูลที่สถาบันมูดี้ส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส ประเมินเศรษฐกิจในเอเชีย พบว่า มูดี้ส์คาด ว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้อาจจะติดลบ 2.3% ขณะที่หลายประเทศในเอเชีย อย่างไต้หวันก็ติดลบถึง 5.23% ญี่ปุ่นติดลบ 4.8% และสิงคโปร์ติดลบ 4.37%
อย่างไรก็ตาม รมว.คลัง ยอมรับว่า เศรษฐกิจของไทยยังคงต้องหดตัวต่อเนื่องในไตรมาสแรกของปีนี้ โดยคาดว่าจะหดตัวมากกว่าไตรมาส 4/51 ที่มีปัญหาการปิดสนามบินและการส่งออกเริ่มหดตัวรุนแรง และในไตรมาส 2 ของปีนี้ก็คงจะยังไม่ค่อยดี แต่ก็จะเริ่มเห็นผลมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐบ้างแล้ว
นายกรณ์ กล่าวว่า การหดตัวของการส่งออกเริ่มชะลอลงในเดือน ม.ค.52 เมื่อเทียบกับไตรมาสสุดท้ายของปีก่อน แม้ว่าเมื่อเทียบปีต่อปีแล้วอาจจะเห็นการหดตัวค่อนข้างมาก เพราะฐานในช่วงต้นปีก่อนอยู่ในระดับสูง นอกจากนั้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศยังมีอยู่ โดยไตรมาส 4/51 เห็นการส่งออกที่หดตัวทำให้เศรษฐกิจติดลบ แต่การบริโภครัฐและเอกชนยืนได้ ทำให้ต่างชาติได้เห็นว่าเศรษฐกิจในประเทศยังอึด
รมว.คลัง กล่าวว่า หลังจากรัฐบาลมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศมากขึ้นทั้งการบริโภค และการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐ และกำลังจะมีการฉีดงบประมาณต่อเนื่องในปีงบ 53 ที่จะมีวงเงินไม่แตกต่างจากปีนี้ ซึ่งเป็นอาวุธหนึ่งที่เตรียมไว้ ยังไม่นับการกู้ยิมเงินจากต่างประเทศ และการค้ำประกันการรับจำนำพืชผล ก็จะช่วยลดผลกระทบกจากความต้องการสินค้าของต่างประเทศที่หายไปได้ แต่รัฐบาลก็ยอมรับว่าคงไม่มีกำลังพออุดได้ทั้งหมด แค่ลดผลกระทบต่อประชาชน
“วิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้เริ่มชัดเจนกว่าเป็นวิกฤติระดับประวัติศาสตร์ ไม่มีประเทศไหนไม่ได้รับผลกระทบ ต้องมาดูว่ากระสุนที่เรามีใช้แก้ไขปัญหาให้กับใคร หน้าที่รัฐบาลคือดูแลผู้ที่ดูแลตัวเองได้น้อยที่สุดก่อน แนววิธีการต่างๆ รัฐบาลมีอยู่แล้ว และประเมินกำลังทางการคลังอยู่ในวิสัยที่จะทำได้” รมว.คลังระบุ
“บิ๊กซีพี” ยันศก.ไทยไม่เลวร้ายสุดในเอเชีย แต่ปีนี้ติดลบแน่
นายอาชว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี กล่าวเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ว่า เศรษฐกิจไทยปี 2552 คงจะติดลบแน่นอน แต่เชื่อว่าไม่ต่ำสุดในเอเชียเหมือนอย่างที่สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ มูดี้ส์อินเวสเตอร์เซอร์วิสคาดการณ์ เพราะประเทศสิงคโปร์น่าจะมีเศรษฐกิจติดลบมากกว่า 5% และต่ำกว่าประเทศไทย เนื่องจากสิงคโปร์พึ่งพาการส่งออก 100% ขณะที่ไทยพึ่งพาการส่งออกประมาณ 70% ของจีดีพี
“จีดีพีของไทยปีนี้ติดลบแน่ แต่จะติดลบมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐและความ รุนแรงของวิกฤติเศรษฐกิจโลก หากจีดีพีติดลบ 4% จะมีคนว่างงานถึง 1.5 ล้านคน แต่หากรัฐบาลมีมาตรการกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง จีดีพีคงติดลบ 2% คนว่างงานประมาณ 1 ล้านคน” นายอาชว์ กล่าว
รองประธานกรรมการซีพี กล่าวอีกว่า รัฐบาลจะต้องมีมาตรการเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระยะปานกลางและระยะยาว รับมือกับปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจที่จะชะลอตัวไปอีก 2-3 ปี โดยให้รัฐบาลมุ่งดูแลภาคการเกษตรและชนบท เพราะมาตรการที่รัฐบาลออกมาระยะสั้น เช่น การแจกเงิน 2,000 บาทไม่ถึงมือชนบท นอกจากนี้รัฐบาลควรเน้นสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ระบบชลประทาน และพัฒนาการเกษตร
สบน. ขอมูดี้ส์ปรับอันดับ
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการ สำนักบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กล่าวว่า สบน.ได้สอบถามมูดี้ส์เกี่ยวกับการออกบทความดังกล่าว ซึ่งได้รับคำชี้แจงว่า เป็นการวิเคราะห์ตามตัวเลขเศรษฐกิจที่ สศช. แถลงเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แต่มูดี้ส์ยืนยันว่าจะยังไม่ปรับอันดับความน่าเชื่อถือ (เรตติ้ง) ของไทย ที่ปัจจุบันอยู่ในระดับเทียบเท่า BBB+ Negative Outlook และยังคงประมาณการอัตราเติบโตปีนี้ที่ 0.5%
ที่มา – กรุงเทพธุรกิจ, มติชน
ความเห็น SIU:
บทวิเคราะห์ของ Moody′s Economy.com โดย Alaistair Chan ในหัวข้อ Thailand Outlook: Worse Than the 1997 Crisis? ระบุว่า สถานการณ์ในเมืองไทยอาจเจ็บปวดอยู่แต่ไม่มากเท่าเมื่อครั้งเกิดวิกฤต เศรษฐกิจในปี 2540 ที่ผ่านมา เพราะยังมี “ข่าวดี” อยู่บ้าง สิ่งที่นายชาน เห็นว่า เมืองไทยยังอยู่ในสภาพดีกว่าเมื่อ 10 ปีก่อน แถมยังอาจทำให้อยู่ในสภาพดีกว่า “เพื่อนร่วมภูมิภาค” หลายประเทศ ก็คือ ภาวะหนี้ครัวเรือนและระดับของ ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ
ความจริงการวิเคราะห์แบบนี้ พูดไปตามเนื้อผ้า ไม่บวกไม่ลบ แต่รัฐบาลชุดนี้คงตกใจกับคำว่า GDP ติดลบ หรือ เศรษฐกิจแย่ที่สุดในภูมิภาค (ที่อาจจะถูกเน้นโดยสื่อมวลชน) ทั้งที่ไม่ว่าใครต่อใครถ้าพูดกันตรงไปตรงมาก็วิเคราะห์กันได้อยู่แล้ว (รายงานวิจัยจาก The Economist – ที่ไม่ใช่บทความเผยแพร่ในนิตยสาร ก็วิเคราะห์ไว้ล่วงหน้านานแล้วด้วยซ้ำว่า ศก. ไทยจะติดลบ) ส่วนประเทศที่อยู่ในเกณฑ์ย่ำแย่ตามบทวิเคราะห์ของ IMF ก็คือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ แทนที่รัฐบาลไทยจะเอาเวลามาโต้แย้งเรื่องนี้ น่าจะหาวิธีแก้ปัญหาและเตรียมการรับมือดีกว่า โดยอย่างแรกที่สุดต้องขจัดเงื่อนไขความขัดแย้งทางการเมือง — แต่เรามองว่าคงทำได้ยากหากแม้ปากจะพูดเรื่องสมานฉันท์ แต่การปฏิบัติยังคงมีลักษณะแบ่งข้างเช่นนี้
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 2545
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 44
http://www.siamintelligence.com/adb-new ... and-worse/
ADB ปรับตัวเลข GDP ไทยปี 2009 ติดลบมากขึ้น
September 22, 2009
ธนาคาร เพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ปรับตัวเลขการพยากรณ์อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในเอเชีย โดยมองว่า GDP โดยรวมของเอเชียจะดีกว่าที่เคยประเมินไว้เมื่อช่วงต้นปี แต่ GDP ของประเทศไทยและกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียนบางประเทศกลับติดลบมากกว่า เดิม
ADB ได้ประเมินในเดือนมีนาคม 2009 ว่าเศรษฐกิจของเอเชีย (ไม่รวมญี่ปุ่น) ของปี 2009 จะเติบโต 3.4% แต่ในการประเมินรอบใหม่เดือนกันยายน ADB มองว่าจะเติบโตขึ้นกลายเป็น 3.9%
ส่วนปี 2010 นั้น ADB ก็มองว่าการเติบโตจะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน จากเดิมประเมินไว้ที่ 6% ปรับเพิ่มเป็น 6.4%
อย่างไรก็ตาม ในบางภูมิภาคกลับมีตัวเลขการประเมินที่ลดลง เช่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เดิม 0.7 ล่าสุด 0.1) หรือ เอเชียกลาง (เดิม 3.9 ล่าสุด 0.5) ประเทศที่ลดลงมาเป็นพิเศษคืออาร์เมเนีย (เดิม 0.5 ล่าสุด -9.9%)
ส่วนประเทศไทย เดิมที ADB ประเมินว่า GDP ทั้งปีจะอยู่ที่ -2% แต่ล่าสุดปรับเพิ่มเป็น -3.2% เป็นผลมาจาก GDP จริงในสองไตรมาสแรกหดตัวมากกว่าที่คาด (6%) สำหรับตัวเลขปี 2010 ของประเทศไทย ADB ยังคงไว้เท่าเดิมที่ 3%
ประเทศที่แนวโน้มเป็นไปในทางเดียวกันทั้งภูมิภาคคือมาเลเซีย (เดิม -0.2% ล่าสุด -3.1%) กัมพูชา (เดิม 2.5% ล่าสุด -1.5%) ฟิลิปปินส์ (เดิม 2.5% ล่าสุด 1.6%) และบรูไน (เดิม -0.4% ล่าสุด -1.2%) ซึ่งพึ่งพาการส่งออกสูง ส่วนประเทศที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยคืออินโดนีเซียและเวียดนาม ที่พึ่งพารายได้จากการส่งออกและการลงทุนของต่างชาติน้อยกว่า
เอเชียตะวันออกในภาพรวมมีแนวโน้มดีขึ้น แต่เป็นเพราะจีนและเกาหลีใต้มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น ในขณะที่ไต้หวันและฮ่องกงมียอดการเติบโตลดลง ตัวเลขในที่นี้ไม่รวมญี่ปุ่น
สรุปว่าประเทศที่พึ่งพิงการส่งออกสินค้าในระดับนานาชาติเป็นสัดส่วนที่ มาก ล้วนมีอัตราการเติบโตที่ลดลง อันเนื่องมาจากภาคอุปสงค์จากโลกตะวันตกยังไม่ฟื้นตัวดีนัก
ที่มา – Bloomberg, ADB
ADB ปรับตัวเลข GDP ไทยปี 2009 ติดลบมากขึ้น
September 22, 2009
ธนาคาร เพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ปรับตัวเลขการพยากรณ์อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในเอเชีย โดยมองว่า GDP โดยรวมของเอเชียจะดีกว่าที่เคยประเมินไว้เมื่อช่วงต้นปี แต่ GDP ของประเทศไทยและกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียนบางประเทศกลับติดลบมากกว่า เดิม
ADB ได้ประเมินในเดือนมีนาคม 2009 ว่าเศรษฐกิจของเอเชีย (ไม่รวมญี่ปุ่น) ของปี 2009 จะเติบโต 3.4% แต่ในการประเมินรอบใหม่เดือนกันยายน ADB มองว่าจะเติบโตขึ้นกลายเป็น 3.9%
ส่วนปี 2010 นั้น ADB ก็มองว่าการเติบโตจะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน จากเดิมประเมินไว้ที่ 6% ปรับเพิ่มเป็น 6.4%
อย่างไรก็ตาม ในบางภูมิภาคกลับมีตัวเลขการประเมินที่ลดลง เช่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เดิม 0.7 ล่าสุด 0.1) หรือ เอเชียกลาง (เดิม 3.9 ล่าสุด 0.5) ประเทศที่ลดลงมาเป็นพิเศษคืออาร์เมเนีย (เดิม 0.5 ล่าสุด -9.9%)
ส่วนประเทศไทย เดิมที ADB ประเมินว่า GDP ทั้งปีจะอยู่ที่ -2% แต่ล่าสุดปรับเพิ่มเป็น -3.2% เป็นผลมาจาก GDP จริงในสองไตรมาสแรกหดตัวมากกว่าที่คาด (6%) สำหรับตัวเลขปี 2010 ของประเทศไทย ADB ยังคงไว้เท่าเดิมที่ 3%
ประเทศที่แนวโน้มเป็นไปในทางเดียวกันทั้งภูมิภาคคือมาเลเซีย (เดิม -0.2% ล่าสุด -3.1%) กัมพูชา (เดิม 2.5% ล่าสุด -1.5%) ฟิลิปปินส์ (เดิม 2.5% ล่าสุด 1.6%) และบรูไน (เดิม -0.4% ล่าสุด -1.2%) ซึ่งพึ่งพาการส่งออกสูง ส่วนประเทศที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยคืออินโดนีเซียและเวียดนาม ที่พึ่งพารายได้จากการส่งออกและการลงทุนของต่างชาติน้อยกว่า
เอเชียตะวันออกในภาพรวมมีแนวโน้มดีขึ้น แต่เป็นเพราะจีนและเกาหลีใต้มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น ในขณะที่ไต้หวันและฮ่องกงมียอดการเติบโตลดลง ตัวเลขในที่นี้ไม่รวมญี่ปุ่น
สรุปว่าประเทศที่พึ่งพิงการส่งออกสินค้าในระดับนานาชาติเป็นสัดส่วนที่ มาก ล้วนมีอัตราการเติบโตที่ลดลง อันเนื่องมาจากภาคอุปสงค์จากโลกตะวันตกยังไม่ฟื้นตัวดีนัก
ที่มา – Bloomberg, ADB
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 50
The latest batch of mixed economic data is making it difficult for stocks to take direction.
Stocks wavered early Tuesday after the Conference Board said its consumer confidence index fell to 53.1 in September, down from 54.5 in August, and much lower than the reading of 57 that economists had been expecting.
The private research group attributed the decline to concerns about the labor market, saying consumers are still worried about losing their jobs.
That disappointing report was tempered by data showing home prices rose for a third month in a row in July. The Standard & Poor's/Case-Shiller home price index of 20 major cities showed home prices rising 1.2 percent from June. Though home prices are still 13.3 percent below the same month a year ago, the annual declines have slowed in all 20 cities for the sixth straight month.
น่าลุ้นมากๆ...
Stocks wavered early Tuesday after the Conference Board said its consumer confidence index fell to 53.1 in September, down from 54.5 in August, and much lower than the reading of 57 that economists had been expecting.
The private research group attributed the decline to concerns about the labor market, saying consumers are still worried about losing their jobs.
That disappointing report was tempered by data showing home prices rose for a third month in a row in July. The Standard & Poor's/Case-Shiller home price index of 20 major cities showed home prices rising 1.2 percent from June. Though home prices are still 13.3 percent below the same month a year ago, the annual declines have slowed in all 20 cities for the sixth straight month.
น่าลุ้นมากๆ...
-
- Verified User
- โพสต์: 1296
- ผู้ติดตาม: 1
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 52
ผมว่านักเศรษฐศาสตร์เหนือกว่าเราๆท่านๆตรงที่เขารู้วิธีแก้ไขปัญหาว่า
ถ้าเศรษฐกิจตกต่ำมีวิธีแก้ 1,2,3,4,5 Bla Bla Bla เศรษฐกิจฟองสบู่มีวิธี
แก้ 1,2,3,4,5 Bla Bla Bla แต่การทำนายเศรษฐกิจหรือดัชนีหุ้น เราท่าน
ทั้งหลายทำได้พอๆกับนักเศรษฐศาสตร์(ไม่ว่าจะระดับกูรูแค่ไหน) คือ
ทุกคนใช้วิธีเดาทั้งนั้น โดยเฉพาะเดากว้างๆเข้าไว้ จะเดาถูกแน่นอน
ถ้าเศรษฐกิจตกต่ำมีวิธีแก้ 1,2,3,4,5 Bla Bla Bla เศรษฐกิจฟองสบู่มีวิธี
แก้ 1,2,3,4,5 Bla Bla Bla แต่การทำนายเศรษฐกิจหรือดัชนีหุ้น เราท่าน
ทั้งหลายทำได้พอๆกับนักเศรษฐศาสตร์(ไม่ว่าจะระดับกูรูแค่ไหน) คือ
ทุกคนใช้วิธีเดาทั้งนั้น โดยเฉพาะเดากว้างๆเข้าไว้ จะเดาถูกแน่นอน
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 53
ใครว่านักเศรษฐศาสตร์มีทางแก้ไข ...สำหรับกรณีวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
ใช้ นโยบายการคลัง ลุยเดี่ยวไปก่อนเลย ตอนนี้ฟื้นชั่วคราว แต่ขาลงรอบ
2 กำลังจะตามมา
เกือบทุกประเทศจะติด "กับดักเคนส์" แน่นอน
มันเป็นวิกฤติทางปัญญาของนักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลก
ที่นโยบายการเงิน และ การคลัง งัดกันมาใช้อย่างเต็มที่ ญี่ปุ่นก็ยังไม่ฟื้น แถมหนี้สาธารณะท่วมประเทศที่ 200% GDP หนักหนาสาหัสสุดๆ
ข่าวร้ายก็คือ ค่าเงินเยนแข็งขึ้นอีกต่างหาก
ทางออกสำหรับเรื่องนี้ อาจเป็น "เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก"
ที่มีแนวคิด "อ่อนสยบแข็ง" "ยืมพลังศัตรู" และ "รักษาสมดุลหยินหยาง"
โลกกำลังเสียสมดุล กำลังรัฐบาลไม่เพียงพอ ต้องใช้ 3 อย่างนี้ ดึงสมดุลของโลกกลับคืนมาได้ครับ
ใช้ นโยบายการคลัง ลุยเดี่ยวไปก่อนเลย ตอนนี้ฟื้นชั่วคราว แต่ขาลงรอบ
2 กำลังจะตามมา
เกือบทุกประเทศจะติด "กับดักเคนส์" แน่นอน
มันเป็นวิกฤติทางปัญญาของนักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลก
ที่นโยบายการเงิน และ การคลัง งัดกันมาใช้อย่างเต็มที่ ญี่ปุ่นก็ยังไม่ฟื้น แถมหนี้สาธารณะท่วมประเทศที่ 200% GDP หนักหนาสาหัสสุดๆ
ข่าวร้ายก็คือ ค่าเงินเยนแข็งขึ้นอีกต่างหาก
ทางออกสำหรับเรื่องนี้ อาจเป็น "เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก"
ที่มีแนวคิด "อ่อนสยบแข็ง" "ยืมพลังศัตรู" และ "รักษาสมดุลหยินหยาง"
โลกกำลังเสียสมดุล กำลังรัฐบาลไม่เพียงพอ ต้องใช้ 3 อย่างนี้ ดึงสมดุลของโลกกลับคืนมาได้ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 55
"Time for Aggressive Buying Has Passed": Stocks Slump to Start Q4
Posted Oct 01, 2009 04:04pm EDT by Aaron Task in Investing
Related: ^DJI, ^GSPC, SPY, DIA, RTH, ^IXIC, QQQQ
Stocks opened the new month and new quarter with a tumble following disappointing reports on jobless claims and the ISM manufacturing survey.
The Dow fell 2.10%, the S&P lost 2.58% and the Nasdaq shed 3.06% Thursday, once again raising questions about the rally's sustainability.
Bill Strazzullo, chief market strategist of Bell Curve Trading in Boston, isn't ready to declare the bull dead, but he is advising clients to reign in their horns.
"The time for aggressive buying has passed," Strazzullo says, suggesting investors go into "harvest mode" and trim positions where they've had the biggest gains.
Unlike bulls like Neil Hennessy, Strazzullo does not believe the market has embarked upon a multi-year rally, such as the one that emerged from 2002-2007 in the aftermath of the bursting of the tech bubble. Nor does he see "the market unraveling and making new lows" as the bears predict.
Instead, Strazzullo forecast "a slow grind" ahead with the market settling into a trading range "for the next couple of quarters at least," with 925 on the S&P 500 being the point of equilibrium.
Posted Oct 01, 2009 04:04pm EDT by Aaron Task in Investing
Related: ^DJI, ^GSPC, SPY, DIA, RTH, ^IXIC, QQQQ
Stocks opened the new month and new quarter with a tumble following disappointing reports on jobless claims and the ISM manufacturing survey.
The Dow fell 2.10%, the S&P lost 2.58% and the Nasdaq shed 3.06% Thursday, once again raising questions about the rally's sustainability.
Bill Strazzullo, chief market strategist of Bell Curve Trading in Boston, isn't ready to declare the bull dead, but he is advising clients to reign in their horns.
"The time for aggressive buying has passed," Strazzullo says, suggesting investors go into "harvest mode" and trim positions where they've had the biggest gains.
Unlike bulls like Neil Hennessy, Strazzullo does not believe the market has embarked upon a multi-year rally, such as the one that emerged from 2002-2007 in the aftermath of the bursting of the tech bubble. Nor does he see "the market unraveling and making new lows" as the bears predict.
Instead, Strazzullo forecast "a slow grind" ahead with the market settling into a trading range "for the next couple of quarters at least," with 925 on the S&P 500 being the point of equilibrium.
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 57
ขอบคุณที่ถามครับ
"กับดักเคนส์" คือ คำศัพท์ใหม่จากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
มีความหมายถึง สภาพที่ประเทศใดๆ มีความจำเป็นต้องใช้นโยบายการคลังขาดดุลอย่างต่อเนื่อง โดยหยุดไม่ได้ เพราะ ศก.จะกลับกลายเป็นถดถอย ไม่เพียงเท่านั้น การขาดดุลการคลัง คิดเป็นเปอร์เซนต์ต่อ จีดีพี แล้ว ยังอยู่กว่าอัตราการเติบโตของ จีดีพี เสียอีก อย่างต่อเนื่องยาวนาน แปลได้ว่า ศก.เติบโตได้ก็เพราะจากการสร้างหนี้สินของภาครัฐครับ
เช่น ญี่ปุ่น ขาดดุลการคลังเฉลี่ยแล้ว 8% ต่อปี แต่ทำให้ ศก.โตได้แค่ 1-2% ต่อปี ในช่วงเวลา 17 ปีที่ผ่านมา หนี้สาธารณะสูงเป็น 200% ไปแล้ว
สำหรับ อเมริกา และ ยุโรป ตอนนี้ก็เช่นกัน ขาดดุลการคลังถึง 12% ขณะที่ ศก.โตได้แค่ 1% หรือทรงๆ
มีแนวโน้มว่า ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลาย จะติดทั้ง "กับดักสภาพคล่อง" และ "กับดักเคนส์" ครับ
"กับดักเคนส์" คือ คำศัพท์ใหม่จากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก
มีความหมายถึง สภาพที่ประเทศใดๆ มีความจำเป็นต้องใช้นโยบายการคลังขาดดุลอย่างต่อเนื่อง โดยหยุดไม่ได้ เพราะ ศก.จะกลับกลายเป็นถดถอย ไม่เพียงเท่านั้น การขาดดุลการคลัง คิดเป็นเปอร์เซนต์ต่อ จีดีพี แล้ว ยังอยู่กว่าอัตราการเติบโตของ จีดีพี เสียอีก อย่างต่อเนื่องยาวนาน แปลได้ว่า ศก.เติบโตได้ก็เพราะจากการสร้างหนี้สินของภาครัฐครับ
เช่น ญี่ปุ่น ขาดดุลการคลังเฉลี่ยแล้ว 8% ต่อปี แต่ทำให้ ศก.โตได้แค่ 1-2% ต่อปี ในช่วงเวลา 17 ปีที่ผ่านมา หนี้สาธารณะสูงเป็น 200% ไปแล้ว
สำหรับ อเมริกา และ ยุโรป ตอนนี้ก็เช่นกัน ขาดดุลการคลังถึง 12% ขณะที่ ศก.โตได้แค่ 1% หรือทรงๆ
มีแนวโน้มว่า ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลาย จะติดทั้ง "กับดักสภาพคล่อง" และ "กับดักเคนส์" ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2513
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 58
พอจะเข้าใจคุณอะไรดีละแล้วครับ หากมองรัฐเป็นบริษัทแห่งหนึ่ง ก็ถือว่าสร้างหนี้สินล้นพ้นตัวเลยใช่ไหมครับ
อย่างไรก็ตามรัฐบาลไทยที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งก็สะดวกในการใช้วิธีนี้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจนะครับ เพราะการอัดฉีดเงินเข้าระบบนั้นเหมือนยาชูกำลัง ยังไงก็วิ่งแน่นอนในระยะสั้น ในอีกทางหนึ่ง ผมถามนักลงทุนบางท่านก็เห็นด้วยซะอีก เค้าว่าดี จะได้มีพันธบัตรให้ลงทุนมากๆ ได้ดอกเบี้ยแน่นอน .. เป็นงั้นไป เรียกคะแนนได้พอสมควรครับ
ผมไม่ได้มองว่าควรอัดฉีดหรือไม่อัดฉีด เพราะยังไงแทบทุกรัฐบาลก็ต้องทำอยู่แล้วในฐานะนักลงทุนระยะสั้น(4ปี) ประเด็นน่าจะอยู่ที่การบริหารโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ได้ผลคุ้มค่าเงินที่จ่ายลงไปมากกว่า
ไม่แน่ใจว่าลักษณะการสร้างกองทุนแบบวายุภักษ์ นั่นเป็นหลักการของศก.ไท้เก็กหรือเปล่า คือระดมเงินประชาชนไปลงทุนโดยไม่ก่อหนี้ แต่สุดท้ายก็มาเรื่องเดิม คือการบริหารโครงการให้ได้ผลตอบแทนคุ้มค่าครับ
อย่างไรก็ตามรัฐบาลไทยที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งก็สะดวกในการใช้วิธีนี้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจนะครับ เพราะการอัดฉีดเงินเข้าระบบนั้นเหมือนยาชูกำลัง ยังไงก็วิ่งแน่นอนในระยะสั้น ในอีกทางหนึ่ง ผมถามนักลงทุนบางท่านก็เห็นด้วยซะอีก เค้าว่าดี จะได้มีพันธบัตรให้ลงทุนมากๆ ได้ดอกเบี้ยแน่นอน .. เป็นงั้นไป เรียกคะแนนได้พอสมควรครับ
ผมไม่ได้มองว่าควรอัดฉีดหรือไม่อัดฉีด เพราะยังไงแทบทุกรัฐบาลก็ต้องทำอยู่แล้วในฐานะนักลงทุนระยะสั้น(4ปี) ประเด็นน่าจะอยู่ที่การบริหารโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ได้ผลคุ้มค่าเงินที่จ่ายลงไปมากกว่า
ไม่แน่ใจว่าลักษณะการสร้างกองทุนแบบวายุภักษ์ นั่นเป็นหลักการของศก.ไท้เก็กหรือเปล่า คือระดมเงินประชาชนไปลงทุนโดยไม่ก่อหนี้ แต่สุดท้ายก็มาเรื่องเดิม คือการบริหารโครงการให้ได้ผลตอบแทนคุ้มค่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2513
- ผู้ติดตาม: 0
S&P 1300 !!!!!
โพสต์ที่ 59
ลองอ่านกันดูครับ ขอให้ทุกท่านโชคดีจากไทยเข้มแข็งสู่ไทยอ่อนแอ
โครงการ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ นายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เพิ่งกดปุ่มปล่อยเงิน 2 แสนล้านบาท ไปเมื่อวันศุกร์ ที่แล้ว เม็ดเงินกระจุกตัวอยู่แค่ 4 กระทรวงหลัก ของ สองพรรคการเมืองใหญ่ ถูกนักวิชาการเศรษฐศาสตร์ กลุ่มโพลิซี วอช ค่ายธรรมศาสตร์ ผ่าแผนออกมาวิเคราะห์ ชี้ให้เห็นจุดอ่อนเต็มไปหมด แถมยังไร้ ภูมิคุ้มกันอีกต่างหาก
เป็นการวิเคราะห์เนื้องานล้วนๆ ซึ่งผมขอชื่นชมไว้ตรงนี้ ไม่ใช่วิเคราะห์ เพื่อสอพลอนักการเมืองคนใด เหมือนนักวิชาการมีปลอกคอในช่วงที่ผ่านมา
คุณปัทมาวดี ซูซูกิ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ชี้ว่า ตาม แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข้ง ที่รัฐบาลวางไว้ อาจทำให้ประเทศมีความเสี่ยง และไม่สามารถเติบโตอย่างยั่งยืนได้ในระยะต่อไป เพราะ ไม่มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการขยายตัวเศรษฐกิจจากภายในประเทศ
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในอนาคต ยังต้องพึ่งการส่งออกและ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นหลัก เมื่อครบ 3 ปี เม็ดเงิน 1.43 ล้านล้านบาท จากโครงการไทยเข้มแข็งหมดไปแล้ว แต่โครงสร้างเศรษฐกิจไทยก็ยังเหมือนเดิม (ต้องพึ่งการส่งออกร้อยละ 70 ของจีดีพี) รัฐบาลใน อนาคตอาจไม่มีรายได้เพียงพอที่จะชำระหนี้ก้อนมหาศาลที่รัฐบาลนี้กู้มาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
การวิเคราะห์ของ อาจารย์ปัทมาวดี ผมเห็นว่า เป็นการวิเคราะห์ที่ตรงเป้า นี่คือสิ่งที่ "ซ่อนเร้น" ไว้ในโครงการเศรษฐกิจไทยเข้มแข็ง 1.43 ล้านล้านบาท นอกจากแผนจะหลวมแล้ว หลายคนสงสัยว่าจะเป็นรายการ "แบ่งเค้ก" เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางการเงินให้พรรคการเมืองร่วมรัฐบาล หรือสร้างความเข้มแข็งให้คนไทยกันแน่ เพราะโครงการที่ใส่เงินลงไปนับล้านล้านบาท ล้วนเป็นการสานต่อโครงการเก่า โครงการใหม่มีน้อยมาก
แต่ที่แน่ๆก็คือ คนไทยส่วนใหญ่ จะตกอยู่ในสภาพ อ่อนแอต่อไป โดยเฉพาะ "เกษตรกร" และ "ภาคการเกษตร" ที่รัฐบาลจะลงทุนหลายแสนล้านบาทภายใต้โครงการไทยเข้มแข็งเอา "น้ำ" และ "ถนนไร้ฝุ่น" เข้าไปให้เกษตรกร
เรื่องนี้ผมเคยเขียนไปวันก่อนว่า รัฐบาลเอาถนนเอาความเจริญเข้าไปในชนบท เอาความฟุ่มเฟือยต่างๆเข้าไปให้ แต่ไม่เอา "ความรู้" ไม่เอา "วิธีการเพิ่มผลผลิต" ไม่เอา "พันธุ์พืชใหม่ๆ" เข้าไปให้ ทำให้ "เกษตรกร" ต้องตกอยู่ในสภาพยากจนเป็น "รากหญ้า" ต่อไปชั่วนาตาปี ไม่มีโอกาสที่จะเจริญเติบโตขึ้นมาเป็น "ต้นหญ้า" ที่เขียวขจีได้
เช่นเดียวกับการวิเคราะห์ของ อาจารย์ปัทมาวดี ที่บอกว่า งบลงทุนในชุมชน 60,000 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดเล็กที่ไม่มีการบูรณาการต่อเนื่องกัน การพัฒนาสินค้าโอทอปก็ไม่มี (นอกจากขยันจัดงานโอทอปเพราะส่วนแบ่งกันเองเยอะดี) งบชลประทาน 200,000 ล้านบาท ก็เป็นงบเพิ่มเติมในพื้นที่ชลประทานอยู่แล้ว แต่ งบเพิ่มพื้นที่ ชลประทานใหม่มีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดเล็ก (เห็นหรือยังว่าเป็นงบใครเข้มแข็งกันแน่)
แต่ งบเพื่อการวิจัยและพัฒนา เพื่อ เพิ่มผลผลิตภาคการเกษตร และ ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่เห็นมีในแผนไทยเข้มแข็งฉบับนี้
ดูแล้วก็สรุปผลได้ไม่ยาก เมื่อครบสามปีตามแผนไทยเข้มแข็ง คนไทยส่วนใหญ่ก็ยังอ่อนแอต่อไป แต่คนที่จะเข้มแข็งจริงๆจากงบไทยเข้มแข็ง 1.43 ล้านล้านบาทก็คือ นักการเมืองใหญ่ซีกรัฐบาล ที่แบ่งเค้กโครงการกันไป
แล้วทิ้งหนี้ก้อนโต 1.43 ล้านล้านบาทให้คนไทยใช้หนี้ ซึ่ง ดร. พรายพล คุ้มทรัพย์ วิเคราะห์ชัดเจนว่า รัฐบาลจะมีเงินเพียงพอในการใช้หนี้ เศรษฐกิจไทยต้องโตอย่างน้อยปีละ 5 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป แต่ รัฐบาลคาดว่าจะโตแค่ 3 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น เห็นทีคนไทยอาจต้องเจอวิกฤติรอบใหม่ในอีก 3 ปีข้างหน้า จบโครงการไทยเข้มแข็ง ประเทศไทยก็อ่อนปวกเปียกทันที.
"ลม เปลี่ยนทิศ"
(ที่มา ไทยรัฐ , 10 กันยายน 2552)