ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
-
- Verified User
- โพสต์: 393
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 31
ลงมาเย่อะจังครับ..........จนแล้วจนรอด ผมก็ยังไม่กล้าเข้าเลย หุ้นจีน PE ยังสูงอยู่เลยครับ เมื่อวันก่อน eastern china ก็ลงมาตั้ง 8%..........
ไม่มีใครในนี้สนใจซื้อหุ้นจีนกันเลยเหรอครับ?
ไม่มีใครในนี้สนใจซื้อหุ้นจีนกันเลยเหรอครับ?
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11443
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 34
ผมไม่ได้ติดตามหุ้นต่างประเทศเลยครับ แต่ตามความคิดของผม บางครั้งดัชนีหุ้น ราคาหุ้น ก็อาจจะไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจนะครับCEO เขียน:เรียนถามคุณฉัตรชัยครับว่าการที่หุ้นเป็นหมีทั่วโลกแบบนี้จะตามมาด้วยเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกหรือเปล่าครับ
ดัชนีหุ้น ราคาหุ้น ที่ตกในบางประเทศ อาจเป็นเพราะช่วงก่อนหน้านี้ ราคาหุ้นขึ้นสูงเกินพื้นฐาน นักลงทุน นักเก็งกำไรมากสภาพที่ดีเกินจริง อย่างประเทศจีน ดัชนีตกลงมากเกิน 50% จากจุดสูงสุด แล้วสภาพเศรษฐกิจของจีนย่ำแย่มากเลยหรือเปล่า :lol:
เช่นเดียวกับดัชนีหุ้นในไทย หลายคนบอกว่าเศรษฐกิจไม่ดี จนบางคนกลัวว่าจะแย่เหมือนปี 40 ราคาหุ้นตกลงมามากพอควร แต่เราดูผลประกอบการของบริษัทในตลาดดูซิครับ ผมเห็นมีแต่กำไรเพิ่มขึ้นแทบทั้งนั้น
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
- CEO
- Verified User
- โพสต์: 1243
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 35
กรณีของจีนจะเป็นแบบญี่ปุ่นหรือไม่คงต้องตามดูครับ
Nikkei ขึ้นถึง 38915 จุดเมื่อ ปลายปี 1989 แล้วฟองสบู่ก็แตก ร่วงเอาๆมากกว่าเท่าตัวใน3ปี แล้วก็ไม่มีทีท่าว่าจะกลับไปถึงครึ่งของในอดีตได้อีกเลย แต่ญี่ปุ่นก็ไม่ตกต่ำไปแค่ไหนเพราะพื้นฐานของเขาแข็งแกร่งจริง
Nikkei ขึ้นถึง 38915 จุดเมื่อ ปลายปี 1989 แล้วฟองสบู่ก็แตก ร่วงเอาๆมากกว่าเท่าตัวใน3ปี แล้วก็ไม่มีทีท่าว่าจะกลับไปถึงครึ่งของในอดีตได้อีกเลย แต่ญี่ปุ่นก็ไม่ตกต่ำไปแค่ไหนเพราะพื้นฐานของเขาแข็งแกร่งจริง
การซื้อกิจการอาจไม่ใช่การเทคโอเวอร์ และการเทคโอเวอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องเข้าซื้อหุ้น..
-
- Verified User
- โพสต์: 393
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 40
ขอบคุณคุณ CEO ครับสำหรับความรู้ใหม่.........ผมก็เพิ่งทราบเด๊วนี้เองครับเรื่องนิคเคอิ.............
ขอบคุณพี่ฉัตรชัยสำหรับ update ด้วยครับ
ขอบคุณพี่ฉัตรชัยสำหรับ update ด้วยครับ
- siebelize
- Verified User
- โพสต์: 452
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 42
ผมว่าสิ่งที่แตกต่างกันมาก คือการบริโภคภายในประเทศของจีน ที่ดูเหมือนว่าจะรอวันโตขึ้นมาได้อีกมากนะครับCEO เขียน:กรณีของจีนจะเป็นแบบญี่ปุ่นหรือไม่คงต้องตามดูครับ
Nikkei ขึ้นถึง 38915 จุดเมื่อ ปลายปี 1989 แล้วฟองสบู่ก็แตก ร่วงเอาๆมากกว่าเท่าตัวใน3ปี แล้วก็ไม่มีทีท่าว่าจะกลับไปถึงครึ่งของในอดีตได้อีกเลย แต่ญี่ปุ่นก็ไม่ตกต่ำไปแค่ไหนเพราะพื้นฐานของเขาแข็งแกร่งจริง
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11443
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 43
แปลกจริงๆ GDP ก็ยังคงเติบโตอันดับต้นๆของโลก
Jim Roger ก็ยังคงแนะนำให้ลงทุนในจีน
แต่ไหง ดัชนีหุ้นตกลงอย่างมากและต่อเนื่อง
Shanghai Composite 2,202.45 -74.96 (3.29%)
จากจุดสูงสุดที่ 6,124.04 จุด เมื่อปลายปีก่อน ลงมาเหลือเท่ากับ 35.96% ของจุดสูงสุด
Jim Roger ก็ยังคงแนะนำให้ลงทุนในจีน
แต่ไหง ดัชนีหุ้นตกลงอย่างมากและต่อเนื่อง
Shanghai Composite 2,202.45 -74.96 (3.29%)
จากจุดสูงสุดที่ 6,124.04 จุด เมื่อปลายปีก่อน ลงมาเหลือเท่ากับ 35.96% ของจุดสูงสุด
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 393
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 45
[quote="chatchai"]แปลกจริงๆ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1284
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 46
ตอนนี้ Average PE ของตลาดหุ้นจีน อยู่ที่เท่าไรแล้วครับ
In search of super stocks
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11443
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 48
วันนี้ลบไปอีก 2.68% ลงไป New Low ที่ 2,143.42 จุด
ทั้งๆที่ทุกประเทศในเอเชียบวกกันทุกประเทศ
บทวิเคราะห์ที่น่าสนใจ
ทั้งๆที่ทุกประเทศในเอเชียบวกกันทุกประเทศ
บทวิเคราะห์ที่น่าสนใจ
China frets at U.S. risk after Fannie/Freddie bailout
Monday September 8, 2:06 am ET
BEIJING (Reuters) - The U.S. Treasury's takeover of Fannie Mae and Freddie Mac is good news in the short term for China, the biggest holder of the giant mortgage lenders' debt, but Beijing's huge U.S. exposure still poses a serious risk, a prominent government researcher said on Monday.
China owned $376 billion of debt issued by U.S. government agencies, principally Fannie and Freddie, as of mid-2007.
The seizure of the two firms, prompted by worries over their shrinking capital, was the latest in a series of emergency steps taken by U.S. authorities to quell a year-long credit crisis that has helped push many economies toward recession.
"China has bought a lot of asset-backed securities, and there might be short-term improvement in price," said He Fan, an economist with the Chinese Academy of Social Sciences.
But, taking a longer view, he said the bailout posed a problem: if the Treasury issues new debt to fund the rescue, should China be a buyer or not?
"For China, whether or not you buy the new treasuries, there will be losses: if you buy them, you're getting deeper in the hole; if you don't buy, your existing holdings will lose value," He said.
The Treasury's equity stake could reach $100 billion in each of the lenders, which own or guarantee almost half of America's $12 trillion in home loans, but it said the ultimate cost of the rescue plan depends on how well the companies perform.
He said the takeover was the last resort for the U.S. government, underlining that the credit crunch was far from over.
"This shows that the risks involved are greater than we thought. As such, Chinese banks should be cautious and prudent," the researcher added.
Bank of China said on August 29 it had slashed its exposure to Fannie and Freddie to $12.67 billion as of August 25 from $17.3 billion at the end of June.
Vice-Premier Wang Qishan, who is in overall charge of economic and financial policies, did not comment directly on the two agencies' woes. But, speaking in the southern city of Xiamen, he said the credit crisis was having "quite a serious impact."
Although the takeover of the mortgage lenders was a reminder of the investment risks China is taking, He said the country had little room to diversify its $1.8 trillion in currency reserves.
Buying non-government dollar bonds would be even riskier, while the euro is expensive and yields in Japan are low.
"If we don't buy U.S. treasuries and ABS, what else we can buy?" He said. "China just has no way to avoid the risks. Whatever we do, we have to bear the losses."
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 393
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 49
ผมมีเวลาไปนั่งดูมาแล้วครับ มันเป็นการ Abitrage ครับซึ่งถ้ามาดูกันจริงๆตั้งแต่ 2007, ตลาด ซั่งไฮ่ คอมโพสิต มันขึ้นไปไม่สมเหตุผลอยู่แล้วครับ ถ้าเทียบกับหุ้นตัวเดียวกันที่ 'dual listed' ในหลายตลาด เช่น Hang Seng, NYSE หรือในเมืองจีนเองที่เรียกว่ากระดาน A ครับ ซึ่งไม่อนุญาติให้ต่างชาติและสถาบันมาซื้อได้ รวมถึงไม่อนุญาติให้รายย่อยในประเทศไปซื้อ off-shore หุ้นตัวเดียวกันเช่นในกระดาน H ในฮ่องกงได้เช่นกันครับ (ที่ผมทราบมา Goldman Sachs กับ JPM ซื้อได้ครับ ML ซื้อไม่ได้ แต่มี tool บางอย่างที่ทำให้ซื้อได้ สรุปว่าสถาบันใหญ่ๆซิกแซกซื้อได้ครับ )
มันก็เลยทำให้ 2007 ถ้าใครขายหุ้นตัวเดียวกันในตลาดซั่งไฮ่ จะได้กำไรมากกว่ามากในการขายในตลาดอื่น เพราะมัน Abitrage กันไม่ทันครับ ทีนี้ พอมันเป็นขาลงเรื่อยๆ จะเห็นว่า Gap จะต่างกันน้อยทุกที คือที่ซั่งไฮ่ premium น้อยมากครับ อย่างตลาดที่ mature มากๆ มันจะมีเหตุผลกว่าเช่น
สมมติว่า Toyota ที่บวกรับข่าวดีในตอนเช้าในเอเชีย(เช้าเอเชีย ดึกที่อเมกา)จากการประกาศผลประกอบการที่ดีเกินคาด หุ้นบวกไปปิดที่มากขึ้น สมมติ 500 JPY = 5%, เพราะฉะนั้นในตอนกลางคืนในเอเชียซึ่ง NY เปิด หุ้น Toyota ที่ไป list ใน USA จะบวกขึ้นไป 5% โดยประมาณเลยครับที่ ณ ค่าเงินประเทศนั้นๆ อาจจะ 5 USD เป็นต้นครับ ซึ่งได้นำ F/X มาดูด้วย มันจะใกล้เคียงกันมาก แต่ที่เมืองจีนตอนขาขึ้นมันไม่ใช่อย่างนั้น มันบวกไปเว่อร์มากๆ และค้างอยู่ตรงนั้นนาน ทำให้ปีนี้ มันไหลลงมาเจอกับที่ Hang Seng เพราะสุดท้าย ตามหลักการถ้าที่ NYSE หรือ Hang Seng ไม่ขึ้นมาเจอ, ตัวมันก็ต้องปรับราคาไปเจอเค้าครับ
ผมพูดเพราะดูราคาจากหุ้น mkt cap ใหญ่ๆสดๆเมื่อวานเลยครับที่ listed ทั้งสองตลาด ผมจับมานั่งดูจะเห็นว่าที่ Hang Seng เมื่อวานบวกไปเยอะมาก (800 กว่าจุด ก็เพราะได้หุ้นพวกนี้แหละครับ)เช่นจาก China Life, Cosco ซึ่งหุ้นพวกนี้กลับ ลดลงในซั่งไฮ่ ทำให้ PE ใกล้กันมากแล้วครับ คือตามหลักสุดท้ายมันต้องเท่ากันเพราะเกิดการ Abitrage จาก investors ได้ ทำให้ ซั่งไฮ่ มีเหตุผลมากขึ้น
ผิดถูกอย่างไรแนะนำด้วยน่ะครับ อันนี้ผมคิดและดูของผมคนเดียว อาจจะไม่ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ครับ
มันก็เลยทำให้ 2007 ถ้าใครขายหุ้นตัวเดียวกันในตลาดซั่งไฮ่ จะได้กำไรมากกว่ามากในการขายในตลาดอื่น เพราะมัน Abitrage กันไม่ทันครับ ทีนี้ พอมันเป็นขาลงเรื่อยๆ จะเห็นว่า Gap จะต่างกันน้อยทุกที คือที่ซั่งไฮ่ premium น้อยมากครับ อย่างตลาดที่ mature มากๆ มันจะมีเหตุผลกว่าเช่น
สมมติว่า Toyota ที่บวกรับข่าวดีในตอนเช้าในเอเชีย(เช้าเอเชีย ดึกที่อเมกา)จากการประกาศผลประกอบการที่ดีเกินคาด หุ้นบวกไปปิดที่มากขึ้น สมมติ 500 JPY = 5%, เพราะฉะนั้นในตอนกลางคืนในเอเชียซึ่ง NY เปิด หุ้น Toyota ที่ไป list ใน USA จะบวกขึ้นไป 5% โดยประมาณเลยครับที่ ณ ค่าเงินประเทศนั้นๆ อาจจะ 5 USD เป็นต้นครับ ซึ่งได้นำ F/X มาดูด้วย มันจะใกล้เคียงกันมาก แต่ที่เมืองจีนตอนขาขึ้นมันไม่ใช่อย่างนั้น มันบวกไปเว่อร์มากๆ และค้างอยู่ตรงนั้นนาน ทำให้ปีนี้ มันไหลลงมาเจอกับที่ Hang Seng เพราะสุดท้าย ตามหลักการถ้าที่ NYSE หรือ Hang Seng ไม่ขึ้นมาเจอ, ตัวมันก็ต้องปรับราคาไปเจอเค้าครับ
ผมพูดเพราะดูราคาจากหุ้น mkt cap ใหญ่ๆสดๆเมื่อวานเลยครับที่ listed ทั้งสองตลาด ผมจับมานั่งดูจะเห็นว่าที่ Hang Seng เมื่อวานบวกไปเยอะมาก (800 กว่าจุด ก็เพราะได้หุ้นพวกนี้แหละครับ)เช่นจาก China Life, Cosco ซึ่งหุ้นพวกนี้กลับ ลดลงในซั่งไฮ่ ทำให้ PE ใกล้กันมากแล้วครับ คือตามหลักสุดท้ายมันต้องเท่ากันเพราะเกิดการ Abitrage จาก investors ได้ ทำให้ ซั่งไฮ่ มีเหตุผลมากขึ้น
ผิดถูกอย่างไรแนะนำด้วยน่ะครับ อันนี้ผมคิดและดูของผมคนเดียว อาจจะไม่ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 187
- ผู้ติดตาม: 0
ตลาดหุ้นเซียงไฮ้
โพสต์ที่ 51
อินโฟเควสท์ (12 ก.ย. 51)--เจอร์รี ลู นักวิเคราะห์จากมอร์แกน สแตนลีย์ คาดการณ์ว่า ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของจีนใกล้เผชิญกับภาวะ "ล่มสลาย" เนื่องจากราคาบ้านและยอดขายบ้านทรุดตัวลงอย่างหนัก ซึ่งส่งผลให้ตัวเลขกำไรของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธนาคารพาณิชย์ตกต่ำลง
"ราคาที่อยู่อาศัยในเมืองใหญ่ๆของจีนตกต่ำลงอย่างมาก เราเชื่อว่ามีความเป็นไปได้สูงมากที่ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของจีนจะเผชิญภาวะล่มสลาย และจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธนาคารพาณิชย์" นักวิเคราะห์มอร์แกน สแตนลีย์กล่าว
ความต้องการอสังหาริมทรัพย์ในจีนทรุดตัวลงอย่างหนักนับตั้งแต่รัฐบาลประกาศกฏข้อบังคับให้ผู้ซื้อบ้านชำระเงินดาวน์เพิ่มขึ้นและปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน โดยมีเป้าหมายที่จะสกัดกั้นราคาบ้านไม่ให้ร้อนแรงจนเกินไป นอกจากนี้ ตลาดหุ้นจีนที่ร่วงลงไปกว่า 60% ในปีนี้และความกังวลที่ว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลงอีกนั้น ยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ความต้องการอสังหาริมทรัพย์ในจีนถดถอยลงด้วย
ก่อนหน้านี้ ธนาคารกลางจีนและคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการธนาคารจีน (CBRC) สั่งการให้ธนาคารพาณิชย์เพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เพื่อควบคุมความเสี่ยงที่อาจเป็นภัยคุกคามภาคธุรกิจธนาคารในประเทศ
นักวิเคราะห์กล่าวว่า การเรียกร้องให้เพิ่มความเข้มงวดในการใช้นโยบายด้านสินเชื่อครั้งนี้มีเป้าหมายที่จะพัฒนาตลาดสินเชื่อสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้ดีขึ้น ภายใต้เจตนารมณ์ของธนาคารกลางที่หวังจะป้องกันความเสี่ยงทางการเงินที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่นโยบายดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อเจ้าของโครงการ เนื่องการทำธุรกรรมทางการเงินจะเผชิญอุปสรรคมากยิ่งขึ้น
ในช่วงครึ่งปีแรก ยอดการปล่อยสินเชื่อสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ในจีนพุ่งขึ้น 22.5% ต่อปี ที่ระดับ 5.2 ล้านล้านหยวน (7.615 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 15-20% ของสินทรัพย์ทั้งหมดในธุรกิจธนาคาร
นักวิเคราะห์กล่าวว่า หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ยอดขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซาและเม็ดเงินทุนที่กระจัดกระจายจะทำให้ธนาคารพาณิชย์เผชิญความเสี่ยง ซึ่งจะยิ่งกดดันให้เศรษฐกิจในประเทศตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงาน--จบ--
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/สุนิตา โทร.0-2253-5050 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--
"ราคาที่อยู่อาศัยในเมืองใหญ่ๆของจีนตกต่ำลงอย่างมาก เราเชื่อว่ามีความเป็นไปได้สูงมากที่ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของจีนจะเผชิญภาวะล่มสลาย และจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธนาคารพาณิชย์" นักวิเคราะห์มอร์แกน สแตนลีย์กล่าว
ความต้องการอสังหาริมทรัพย์ในจีนทรุดตัวลงอย่างหนักนับตั้งแต่รัฐบาลประกาศกฏข้อบังคับให้ผู้ซื้อบ้านชำระเงินดาวน์เพิ่มขึ้นและปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน โดยมีเป้าหมายที่จะสกัดกั้นราคาบ้านไม่ให้ร้อนแรงจนเกินไป นอกจากนี้ ตลาดหุ้นจีนที่ร่วงลงไปกว่า 60% ในปีนี้และความกังวลที่ว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลงอีกนั้น ยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ความต้องการอสังหาริมทรัพย์ในจีนถดถอยลงด้วย
ก่อนหน้านี้ ธนาคารกลางจีนและคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการธนาคารจีน (CBRC) สั่งการให้ธนาคารพาณิชย์เพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เพื่อควบคุมความเสี่ยงที่อาจเป็นภัยคุกคามภาคธุรกิจธนาคารในประเทศ
นักวิเคราะห์กล่าวว่า การเรียกร้องให้เพิ่มความเข้มงวดในการใช้นโยบายด้านสินเชื่อครั้งนี้มีเป้าหมายที่จะพัฒนาตลาดสินเชื่อสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้ดีขึ้น ภายใต้เจตนารมณ์ของธนาคารกลางที่หวังจะป้องกันความเสี่ยงทางการเงินที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่นโยบายดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อเจ้าของโครงการ เนื่องการทำธุรกรรมทางการเงินจะเผชิญอุปสรรคมากยิ่งขึ้น
ในช่วงครึ่งปีแรก ยอดการปล่อยสินเชื่อสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ในจีนพุ่งขึ้น 22.5% ต่อปี ที่ระดับ 5.2 ล้านล้านหยวน (7.615 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 15-20% ของสินทรัพย์ทั้งหมดในธุรกิจธนาคาร
นักวิเคราะห์กล่าวว่า หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ยอดขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซาและเม็ดเงินทุนที่กระจัดกระจายจะทำให้ธนาคารพาณิชย์เผชิญความเสี่ยง ซึ่งจะยิ่งกดดันให้เศรษฐกิจในประเทศตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงาน--จบ--
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/สุนิตา โทร.0-2253-5050 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--