คือผมยังเป็นนักศึกษาอยู่ครับตอนนี้กำลังเรียนข้อได้เปรียบเสียเปรียบ ระหว่าง NPV กับ IRR ครับ
เลยอยากถามพี่ ๆ ว่า จริง ๆ แล้วเนี่ย IRR มันมีข้อด้อยตรงจุดไหนบ้างอะครับ
รบกวนหน่อยนะครับ ใกล้สอบแล้วด้วย ( อ่าน text แล้วก็งง )
รบกวนอยากทราบ ข้อด้อยของ IRR ครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 128
- ผู้ติดตาม: 0
รบกวนอยากทราบ ข้อด้อยของ IRR ครับ
โพสต์ที่ 2
มีหลายเหตุผลครับ เช่น
- บางโครงการมี Multiple IRR คือมีหลายค่า เพราะมีการ reinvest ในปีหลังๆ,
- ถ้ามีเงินลงทุนจำกัด แล้วต้อง prioritize โครงการ ควร prioritize ตาม NPV เพราะ IRR ไม่ได้บอกขนาดของผลตอบแทน บอกแต่ % Return
- บางโครงการมี Multiple IRR คือมีหลายค่า เพราะมีการ reinvest ในปีหลังๆ,
- ถ้ามีเงินลงทุนจำกัด แล้วต้อง prioritize โครงการ ควร prioritize ตาม NPV เพราะ IRR ไม่ได้บอกขนาดของผลตอบแทน บอกแต่ % Return
"As Above, So Below"
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
IRR Pitfalls
โพสต์ที่ 3
ตอนนี้กำลังเรียนอยู่เหมือนกันค่ะ
เท่าที่เข้าใจก็ประมาณนี้ค่ะ ถ้าผิดประการใด ก็ขอโทษด้วยนะค่ะ :oops:
1. ไม่สามารถจะแยกแยะได้ระหว่าง การยืมกับการให้ยืม
Project C0 C1 IRR NPV@10%
A -1000 +1500 +50% +364 -> คนยืม
B +1000 -1500 +50% - 364 -> คนให้ยืม
จากตัวอย่างนี้ค่ะ เราจะเห็นว่า IRR เป็นบวกทั้งคู่ แต่ความเป็นจริงก็คือ IRR ของคนให้ยืม กับคนถูกยืม มันไม่ควรจะเท่ากัน เพราะ คนที่ยืม ก็ต้องการ IRR น้อย ๆ ขณะที่ให้คนให้ยืม (Borrower) ก็ต้องการ IRR ที่สูง
ดังนั้น กฏของ IRR ที่บอกว่า เลือก Project ที่ให้ IRR สูงๆ ก็ย่อมไม่สามารถนำมาใช้ได้ในกรณีนี้ค่ะ
2. ก็อย่างที่ คุณ Pallas บอกค่ะ บางโครงการมี Multiple IRR คือมีหลายค่า เพราะว่าเพราะว่า cash flow อาจจะมีค่าบวกด้วย แล้วก็มีค่าลบด้วย ทำให้มีโอกาสที่คำนวณแล้วจะได้ IRR มากกว่า 1
ตัวอย่างเช่น บริษัท A ลงทุนเริ่มแรกด้วยเงิน 600Million แล้วก็ expect ว่า จะมี cash inflow ที่ 120 million เป็นเวลา 9 ปี แต่ว่า ในปีที่ 10 ปรากฎว่า บริษัท จะต้องจ่าย ค่า clean up Project ที่ 150million
Cash flow ก็จะเป็นแบบนี้ค่ะ
C0 C1 .... C9 C10
-600 120 120 -150
IRR = -44 กับ 11.6 NPV ที่ 10% = 33 million
สรุปคือ เมื่อไหร่ก็ตามที่ cash-flow expect ว่าจะมีการเปลี่ยน sign อย่างตัวอย่างข้างบนนี้นะค่ะ เราก็มักจะได้ ค่า IRR มากกว่าหนึ่งค่ะ
เท่าที่เข้าใจก็ประมาณนี้ค่ะ ถ้าผิดประการใด ก็ขอโทษด้วยนะค่ะ :oops:
1. ไม่สามารถจะแยกแยะได้ระหว่าง การยืมกับการให้ยืม
Project C0 C1 IRR NPV@10%
A -1000 +1500 +50% +364 -> คนยืม
B +1000 -1500 +50% - 364 -> คนให้ยืม
จากตัวอย่างนี้ค่ะ เราจะเห็นว่า IRR เป็นบวกทั้งคู่ แต่ความเป็นจริงก็คือ IRR ของคนให้ยืม กับคนถูกยืม มันไม่ควรจะเท่ากัน เพราะ คนที่ยืม ก็ต้องการ IRR น้อย ๆ ขณะที่ให้คนให้ยืม (Borrower) ก็ต้องการ IRR ที่สูง
ดังนั้น กฏของ IRR ที่บอกว่า เลือก Project ที่ให้ IRR สูงๆ ก็ย่อมไม่สามารถนำมาใช้ได้ในกรณีนี้ค่ะ
2. ก็อย่างที่ คุณ Pallas บอกค่ะ บางโครงการมี Multiple IRR คือมีหลายค่า เพราะว่าเพราะว่า cash flow อาจจะมีค่าบวกด้วย แล้วก็มีค่าลบด้วย ทำให้มีโอกาสที่คำนวณแล้วจะได้ IRR มากกว่า 1
ตัวอย่างเช่น บริษัท A ลงทุนเริ่มแรกด้วยเงิน 600Million แล้วก็ expect ว่า จะมี cash inflow ที่ 120 million เป็นเวลา 9 ปี แต่ว่า ในปีที่ 10 ปรากฎว่า บริษัท จะต้องจ่าย ค่า clean up Project ที่ 150million
Cash flow ก็จะเป็นแบบนี้ค่ะ
C0 C1 .... C9 C10
-600 120 120 -150
IRR = -44 กับ 11.6 NPV ที่ 10% = 33 million
สรุปคือ เมื่อไหร่ก็ตามที่ cash-flow expect ว่าจะมีการเปลี่ยน sign อย่างตัวอย่างข้างบนนี้นะค่ะ เราก็มักจะได้ ค่า IRR มากกว่าหนึ่งค่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
รบกวนอยากทราบ ข้อด้อยของ IRR ครับ
โพสต์ที่ 4
3. Mutually Exclusive Projects- IRR มักจะให้ rank ที่ผิดพลาด ถ้าเป็น project ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหรือว่าเหมือนๆ กัน
IRR เชื่อถือไม่ได้ ถ้าเป็น Project ที่ มี Pattern ของ cash flow ต่างกัน เช่น อาจจะให้ cash flow มาก ตอนช่วง แรกมาก แล้วช่วงหลัง น้อย หรือสลับกัน
< ข้อนี้อธิบายค่อนข้างยากค่ะ T_T>
4. IRR เป็น ตัวเลขที่ใช้คิดทั้ง project จะใช้ไม่ได้ใน กรณีที่ มี discount rate หลาย ๆ ค่าค่ะ
IRR เชื่อถือไม่ได้ ถ้าเป็น Project ที่ มี Pattern ของ cash flow ต่างกัน เช่น อาจจะให้ cash flow มาก ตอนช่วง แรกมาก แล้วช่วงหลัง น้อย หรือสลับกัน
< ข้อนี้อธิบายค่อนข้างยากค่ะ T_T>
4. IRR เป็น ตัวเลขที่ใช้คิดทั้ง project จะใช้ไม่ได้ใน กรณีที่ มี discount rate หลาย ๆ ค่าค่ะ