Have we already been in the BEAR market?

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 1

โพสต์

The worst has not come yet,let's c what will happened in The US,when the more default of subprime loans n the plunge of the property n equities market in 1H08.When we had the TOMYAMKONG crisis,SET was driven to the level of 200 compare to its peak @ 1798.Let's wait n c where the Downjones index will goto.The crisis is the crisis,it won't last in the short period though the FED will decrease the fed fund rate n discount rate,it can only relieve the severity of this crisis.The wealth of the people in this world will b swept by this crisis.It means that there will b less consumption.Look back to Thailand,we will c the decline of our export which is only 1 engine that drive our GDP last year.The liquidity of the stocks in SET is considerated low compre to the other market,so the foreign funds have to unload Thai shares first.We will c the more NET SELL from the foreign funds in these few months.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 2

โพสต์

TomyamKoong crisis was limited in Asian countries,but the Hamburger crisis will sweep all this world's wealth.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
newbie_12
Verified User
โพสต์: 2904
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 3

โพสต์

ว้าว

ยินดีตอนรับกลับครอบครัว VI ครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Pn3um0n1a
Verified User
โพสต์: 1935
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 4

โพสต์

โอ ไม่ได้เจอนาน

คิดถึงครับ  :wink:
phobenius
Verified User
โพสต์: 1976
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 5

โพสต์

โอ้ ดันมือซนตอนปิด วันนี้ไป long มาซะ  :cry:

พี่เดฟก็อย่าลืม short นะ
chatchai
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 11443
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 6

โพสต์

ผมคิดว่าราคาหุ้นที่สหรัฐคงไม่ตกต่ำเท่าประเทศไทยเมื่อปี 40 หรอกครับ  เนื่องจาก  ขณะนั้นกิจการใหญ่ๆของไทยมีหนี้เงินกู้สกุลต่างประเทศมากมาย  เมื่อค่าเงินบาทอ่อนค่าอย่างมากและรวดเร็ว  หนี้สินก็เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ

รวมทั้งกรณีของไทยเอง  เมื่อมีปัญหา  เรากลับเลือกที่จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยสูงๆ  เพื่อที่จะหนุนค่าเงินบาทให้แข็ง  ทำให้เป็นการซ้ำเติมภาระหนี้สินและดูดสภาพคล่องออกจากระบบอีก  กว่าจะลดดอกเบี้ย  ก็ล้มกันเกือบหมดแล้ว
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
ภาพประจำตัวสมาชิก
Mon money
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 3134
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 7

โพสต์

อยากให้ทุกคนอ่านบทความนี้กันครับ อย่างน้อยก็มีข้อมูลเชิงประจักท์ให้เห็นบ้างครับ

http://www.fpo.go.th/content.php?action ... 0&id=20632
เป็นบุญหนักหนาเหลือเกินที่ได้เกิดมาเป็นคนไทย เป็นคนไทยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Muffin
Verified User
โพสต์: 874
ผู้ติดตาม: 0

ประเทศกำลังพัฒนา (ชื่อใหม่เท่ห์ๆว่า ตลาดเกิดใหม่)

โพสต์ที่ 8

โพสต์

Global Decoupling?

วันนี้ Asian Wall Street Journal
ลงเรื่องนี้ ปกหน้าเลยครับ

พอดีตอนแรกผมพิมพ์ไปแล้ว คอมแฮงก์ไปก่อนเลยไม่ได้มาพิมพ์ใหม่

ขอบคุณมากครับพี่มน
"Hope is not a strategy"
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 9

โพสต์

Thks so much 4 various ideas.I think the DECOUPLING will b existed,China n India 's GDP/head should b at least double of their figures now.The trade among US,Europe n Japan is the great percentage.If US is in the recession now,European countries n Japan will cirtainly get the severe effect.Though,the asian countries have traded within the region more these few years,but the number of the trade among Asian(ex Japan),Euro,Jap n US. is still the great number.The excess of the products which were produced in this region still need the 3 formers to absorb them.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 10

โพสต์

The more news about the subprime n recession,the less US consumer's confidence n consumption.ML forecast the US's GDP will b 0.60% compare to 2.2% last year.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
Alastor
Verified User
โพสต์: 2590
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 11

โพสต์

Welcome back krub. Nice to read your comments again :D
Wir sind das Rar, der Stolz und der Wert
...
Verified User
โพสต์: 1817
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 12

โพสต์

นึกถึงบรรยากาศเก่าๆ
แมงเม่าบินเข้ากลางใจ
phobenius
Verified User
โพสต์: 1976
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 13

โพสต์

พี่จีนทำนิวไฮ จีดีพีด้วยครับ
...
Verified User
โพสต์: 1817
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 14

โพสต์

Mon money เขียน:อยากให้ทุกคนอ่านบทความนี้กันครับ อย่างน้อยก็มีข้อมูลเชิงประจักท์ให้เห็นบ้างครับ

http://www.fpo.go.th/content.php?action ... 0&id=20632
ขอบคุณมากครับพี่  :bow:

ขออนุญาตแปะเนื้อหาบางส่วนเผื่อใครสนใจไปอ่านต่อยอดนะครับ

เศรษฐกิจโลกแยกออกเป็น 2 ขั้วจริงหรือ


บทสรุปผู้บริหาร

           -  ในปัจจุบันเศรษฐกิจโลกขยายตัวชะลอลง นำโดยเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่กำลังประสบปัญหาสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรปและญี่ปุ่นมีแนวโน้มชะลอตัวตามเช่นกัน อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียกลับยังคงขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการตั้งประเด็นว่า เศรษฐกิจโลกในปัจจุบันยังคงต้องพึ่งพาขั้วเศรษฐกิจหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น เหมือนดังเช่นในอดีตตามทฤษฎีหัวรถจักร (Locomotive Theory) หรือไม่ หรือได้เกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง (Paradigm Shift) โดยเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่ โดยเฉพาะเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก (ไม่รวมญี่ปุ่น) ได้เริ่มมีบทบาทสำคัญในฐานะเครื่องยนต์ใหม่ที่ผลักดันเศรษฐกิจโลก ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดแบบ Global Decoupling

           -  จากการวิเคราะห์ข้อมูลเศรษฐกิจล่าสุด พบว่า โครงสร้างเศรษฐกิจโลกได้เปลี่ยนแปลงไปตามแนวคิด Global Decoupling โดยพิจารณาได้จากอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเอเชียที่สูงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่มูลค่าการส่งออกของเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกยังขยายตัวได้ดีมาก เนื่องจากมีการค้าขายระหว่างกัน (Intra-regional Trade) และมีการขยายฐานการส่งออกไปยังตลาดของประเทศในภูมิภาคและประเทศตลาดเกิดใหม่มากขึ้น ซึ่งคาดว่าจะช่วยรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการชะลอตัวการส่งออกไปยังเศรษฐกิจ 3 ขั้วหลักได้

           -  อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นการสร้างความแข็งแกร่ง และป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนทางเศรษฐกิจโลกในระยะต่อไป บทความนี้ จึงได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับประเทศไทยในการ (1) เร่งรัดการขยายการค้าและการลงทุนภายในภูมิภาคเอเชีย รวมทั้งขยายการลงทุนไปยังประเทศเกิดใหม่ที่มีแนวโน้มการเติบโตสูง (2) ควรสนับสนุนให้มีการเพิ่มอุปสงค์ภายในประเทศ (Domestic Demand) ผ่านการกระตุ้นการใช้จ่ายภาครัฐและภาคเอกชนมากขึ้น (3) ควรร่วมมือในการรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) ของสกุลเงินในภูมิภาคเอเชีย ให้เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน และ (4) เร่งกระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ     (Economic Value Added) เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศ

           ในสถานการณ์ปัจจุบันหลายฝ่ายเริ่มมีความกังวลถึงแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่อาจจะชะลอตัวในปี 2551 นำโดยเศรษฐกิจ 3 ขั้วหลักของโลก ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น ที่เริ่มมีสัญญาณความเสี่ยงต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมา  โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ มีเริ่มทิศทางของการชะลอตัวแล้วในปีนี้ และคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9 ต่อปี เทียบกับปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.9 ต่อปี รวมทั้งจะมีแนวโน้มชะลอตัวลงต่อเนื่องในปี 2551 อันเนื่องมาจากภาวะวิกฤตสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพ (Sub-Prime Mortgage Crisis) ของสหรัฐฯ ที่อาจจะลุกลามเข้าสู่ภาคการเงินและกระทบต่อการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศของสหรัฐฯ นอกจากนี้ แนวโน้มราคาสินค้าโภคภัณฑ์และราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมาอาจจะกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจหลักของโลกที่จำเป็นต้องพึ่งพาการบริโภคสินค้าโภคภัณฑ์และพลังงานในปริมาณที่สูง

           อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ใหม่ที่น่าสนใจของเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน คือ ภาวะเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) โดยเฉพาะเศรษฐกิจในเอเชียที่ยังคงสามารถขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดคำถามที่สำคัญว่า เศรษฐกิจโลกในปัจจุบันยังคงต้องพึ่งพาเศรษฐกิจ 3 ขั้วหลัก (สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น) ดังเช่นในอดีตตามแนวคิดทฤษฎี Locomotive Theory หรือได้เกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง (Paradigm Shift) ทำให้เศรษฐกิจโลกโดยรวมเริ่มมีความเป็นอิสระจากเศรษฐกิจ 3 ขั้วหลัก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่กำลังมีแนวโน้มชะลอตัวมากขึ้น

สามารถอ่านเอกสารโดยละเอียดได้จากเอกสารประกอบ
แมงเม่าบินเข้ากลางใจ
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 15

โพสต์

Pls notice y the FED chairman had 2 call an extra meeting n annouce the 0.75% cut in the FED FUND n DISCOUNT rate.The tendency to the 0.50-0.75% cut is likely.I think Mr.chairman might have some in4 that seems to b very serious.From my several years experience,we should less exposure 2 the equity market or the other risky investment.Pls keep in mind,the recession won't end in a short period,it will take 1-2 years.My strategy is to SELL ON THE REBOUND.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 16

โพสต์

15 ปีที่ผ่านมา ฝรั่ง เป็นกลุ่มเดียวที่ Net Buy ยอดคงค้าง 3.33 แสนล้านบาท
4 ยอด Net Buy สะสมช่วง 15 ปีของ ฝรั่ง ยังเหลือยอคงค้าง 3.33 แสนล้านบาท
4 อังกฤษ, สิงคโปร์ และ สหรัฐฯ ถือหุ้น 67.8% ของส่วนที่เป็น Foreign Holder
4 แรงขายจากนักลงทุนต่างชาติ ยังมีกำลังสร้างแรงกดดันต่อตลาดหุ้นไทย ต่อไป
4 Net Buy สะสม 15 ปี ของ ฝรั่ง ยังมียอดคงค้าง 3.33 แสนล้านบาท
ถึงแม้ในช่วงปลายปี 2550 ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน นักลงทุนต่างชาติจะมียอดขายสุทธิในตลาดหุ้น
ไทย เป็นจำนวนมาก แต่หากมองภาพย้อนหลังไป 15 ปี พบว่าโดยภาพรวม นักลงทุนต่างชาติ
เป็นนักลงทุนเพียงกลุ่มเดียวที่มียอดซื้อสุทธิในตลาดหุ้นไทย โดยจากการรวบรวมตั้วเลขจนถึง
24 ม.ค.51 พบว่า กลุ่มนักลงทุนต่างชาติ มียอด Net Buy สูงถึง 3.33 แสนล้านบาท กลุ่มนัก
ลงทุนสถาบัน มียอดขายสุทธิ 0.32 แสนล้านบาท ขณะที่นักลงทุนทั่วไปภายในประเทศมี
ยอดขายสุทธิสูงกว่า 3 แสนล้านบาท (ดูตารางด้านข้างประกอบ) และหากจะมองภาพให้ใกล้
ขึ้นโดยตัดช่วงข้อมูลเฉพาะส่วนที่เริ่มเห็นการ Net Buy รอบล่าสุดของนักลงทุนต่างชาติ คือ
ในช่วงปี 2547 ปี 2550 พบว่า ยอดซื้อสุทธิในช่วง 4 ปี ดังกล่าว ก็มียอดที่สูงถึง 2.63 แสน
ล้านบาท และเมื่อหักส่วนที่เป็น Net Sell ในช่วงต้นปีจนถึง 24 ม.ค.51 จำนวน 0.39 แสนล้าน
บาทออกไป พบว่า ยังคงเหลือยอด Net Buy สะสมของนักลงทุนต่างชาติมากถึง 2.24 แสนล้าน
บาท ภาพดังกล่าวสะท้อนถึงอิทธิพลของกลุ่มนักลงทุนต่างชาติ ที่มีต่อทิศทางการเคลื่อนไหว
ของตลาดหุ้นไทย
4 อังกฤษ, สิงคโปร์ และสหรัฐฯ ถือหุ้น 67.8% ของส่วนที่เป็น Foreign Holder
จากการรวมรวมข้อมูลการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดของแต่ละ
บริษัท แล้วคำนวณมูลค่า Market Cap เพื่อหามูลค่าเงินลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ ในตลาด
หุ้นไทย พบว่า นักลงทุนต่างชาติมีส่วนที่ถือครองหุ้นในตลาดหุ้น 30.69% (ไม่รวม NVDR) คิด
เป็นมูลค่าประมาณ 1.92 ล้านล้านบาท และหากพิจารณาลึกลงไปอีก โดยแยกสัดส่วนการถือ
หุ้นออกเป็น สัญชาติของนักลงทุนประเทศต่างๆ ที่ถือหุ้นในตลาดหุ้นไทย พบว่า 3 อันดับแรก
ของนักลงทุนต่างชาติที่ถือครองหุ้นไทยได้แก่ อังกฤษ มีสัดส่วนการถือครอง 35.41% โดยส่วน
ใหญ่ถือครองหุ้นในกลุ่มพลังงาน อันดับที่ 2 ได้แก่ สิงคโปร์ ถือครอง 19.09% โดยส่วนใหญ่ถือ
ครองหุ้นในกลุ่มสื่อสาร และ อันดับที่ 3 สหรัฐอเมริกา ถือคอรงหุ้นไทย 13.31% โดยมีการถือ
หุ้นค่อนข้างกระจายในกลายกลุ่ม เมื่อรวมกลุ่มนักลงทุน 3 ประเทศดังกล่าวข้างต้น พบว่ามี
สัดส่วนการถือหุ้นในตลาดหุ้นไทย คิดเป็น 67.8% ของส่วนที่ถือครองโดยนักลงทุนต่างประเทศ
ซึ่งถือเป็นประเด็นที่น่าสนใจ เนื่องจากอย่างน้อย 2 ใน 3 ของประเทศที่ถือครองหุ้นไทยสูงสุด
ได้แก่ สหรัฐฯ และ อังกฤษ กำลังตกอยู่ในปัญหา Sub Prime และการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ
ซึ่งอาจจะต้องมีการปรับลดสัดส่วนการลงทุนในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
4 แรงขายจากนักลงทุนต่างชาติ จะสร้างแรงกดดันต่อตลาดหุ้นไทยต่อไป
ฝ่ายวิจัยประเมินว่า แรงขายจากกลุ่มนักลงทุนต่างประเทศ จะยังไม่หมดไป ทั้งนี้พิจารณาจาก
ยอด ซื้อสุทธิ สะสม ที่มีมูลค่าที่สูงมาก ประกอบปัญหาเศรษฐกิจ ที่แต่ละประเทศกำลังประสบ
อยู่ ด้วยปัจจัยดังกล่าวจึงทำให้มีความเป็นไปได้ที่อาจจะเห็น SET Index ปรับตัวลดลงมาได้อีก
As I know,if no net buy from the foreign funds,SET hardly stay on the uptrend.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
por_jai
Verified User
โพสต์: 14338
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 17

โพสต์

My strategy is to SELL ON THE REBOUND.
ขอบคุณมากครับ
กลยุทธเดียวกับพระอาจารย์ผมเลย
กรูเก่ง กิเลสเก่งกว่า
terati20
Verified User
โพสต์: 1104
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 18

โพสต์

Welcome back K David ...
We miss u so much......... :)

By the way, U still work out at CAWOWW SUKHUMVIT ???


8)  8)  8)
สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นในเบื้องต้น ตั้งอยู่ เเละดับไปในที่สุด
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 19

โพสต์

Thks 4 the warm welcome.Anyway,yes,I do.
If the US market collapse,all bourses will follow(Pls look back the BLACK MONDAY period,Thai economy was still good,but SET down from 459 to 244,or 47%.That time he sentiment n the confidence were erased.
pLS KEEP IN MIND THAT NOT ONLY set decrease more than 10%,the other makets do too,so the comparative P/E is still in the same as it did be4 the plunge.When the investors loose the confidence,they need cheaper n safer.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
MindTrick
Verified User
โพสต์: 1289
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 20

โพสต์

ผมว่า ถ้าจะ decouple ได้ ต้องรออีกสักพักใหญ่ เพราะยังไงต้องโดนแรงขายจากฝรั่งที่อิงกับตลาด US ขายให้พอใจ ถึงเวลานั้น มือขาดกันแค่ไหนก็ไม่ทราบได้ ตอนนี้ ถ้าจะถือหุ้น ต้องเฟ้นกันมากๆ และใจเย็นๆ รอซื้อกันตอนตลาดวายจริงๆล่ะครับ


เอามาให้อ่านกัน ดูชื่อคนเขียนครับ มิใช่นักวิเคราะห์วิแคะบ้านๆ
The worst market crisis in 60 years
By George Soros

Published: January 22 2008 19:57 | Last updated: January 22 2008 19:57

The current financial crisis was precipitated by a bubble in the US housing market. In some ways it resembles other crises that have occurred since the end of the second world war at intervals ranging from four to 10 years.

However, there is a profound difference: the current crisis marks the end of an era of credit expansion based on the dollar as the international reserve currency. The periodic crises were part of a larger boom-bust process. The current crisis is the culmination of a super-boom that has lasted for more than 60 years.

Boom-bust processes usually revolve around credit and always involve a bias or misconception. This is usually a failure to recognise a reflexive, circular connection between the willingness to lend and the value of the collateral. Ease of credit generates demand that pushes up the value of property, which in turn increases the amount of credit available. A bubble starts when people buy houses in the expectation that they can refinance their mortgages at a profit. The recent US housing boom is a case in point. The 60-year super-boom is a more complicated case.

Every time the credit expansion ran into trouble the financial authorities intervened, injecting liquidity and finding other ways to stimulate the economy. That created a system of asymmetric incentives also known as moral hazard, which encouraged ever greater credit expansion. The system was so successful that people came to believe in what former US president Ronald Reagan called the magic of the marketplace and I call market fundamentalism. Fundamentalists believe that markets tend towards equilibrium and the common interest is best served by allowing participants to pursue their self-interest. It is an obvious misconception, because it was the intervention of the authorities that prevented financial markets from breaking down, not the markets themselves. Nevertheless, market fundamentalism emerged as the dominant ideology in the 1980s, when financial markets started to become globalised and the US started to run a current account deficit.

Globalisation allowed the US to suck up the savings of the rest of the world and consume more than it produced. The US current account deficit reached 6.2 per cent of gross national product in 2006. The financial markets encouraged consumers to borrow by introducing ever more sophisticated instruments and more generous terms. The authorities aided and abetted the process by intervening whenever the global financial system was at risk. Since 1980, regulations have been progressively relaxed until they have practically disappeared.

The super-boom got out of hand when the new products became so complicated that the authorities could no longer calculate the risks and started relying on the risk management methods of the banks themselves. Similarly, the rating agencies relied on the information provided by the originators of synthetic products. It was a shocking abdication of responsibility.

Everything that could go wrong did. What started with subprime mortgages spread to all collateralised debt obligations, endangered municipal and mortgage insurance and reinsurance companies and threatened to unravel the multi-trillion-dollar credit default swap market. Investment banks' commitments to leveraged buyouts became liabilities. Market-neutral hedge funds turned out not to be market-neutral and had to be unwound. The asset-backed commercial paper market came to a standstill and the special investment vehicles set up by banks to get mortgages off their balance sheets could no longer get outside financing. The final blow came when interbank lending, which is at the heart of the financial system, was disrupted because banks had to husband their resources and could not trust their counterparties. The central banks had to inject an unprecedented amount of money and extend credit on an unprecedented range of securities to a broader range of institutions than ever before. That made the crisis more severe than any since the second world war.

Credit expansion must now be followed by a period of contraction, because some of the new credit instruments and practices are unsound and unsustainable. The ability of the financial authorities to stimulate the economy is constrained by the unwillingness of the rest of the world to accumulate additional dollar reserves. Until recently, investors were hoping that the US Federal Reserve would do whatever it takes to avoid a recession, because that is what it did on previous occasions. Now they will have to realise that the Fed may no longer be in a position to do so. With oil, food and other commodities firm, and the renminbi appreciating somewhat faster, the Fed also has to worry about inflation. If federal funds were lowered beyond a certain point, the dollar would come under renewed pressure and long-term bonds would actually go up in yield. Where that point is, is impossible to determine. When it is reached, the ability of the Fed to stimulate the economy comes to an end.

Although a recession in the developed world is now more or less inevitable, China, India and some of the oil-producing countries are in a very strong countertrend. So, the current financial crisis is less likely to cause a global recession than a radical realignment of the global economy, with a relative decline of the US and the rise of China and other countries in the developing world.

The danger is that the resulting political tensions, including US protectionism, may disrupt the global economy and plunge the world into recession or worse
^
"เมื่อคุณเริ่มทำสิ่งที่รักแล้ว วันต่อๆไปก็จะไม่ใช่การทำงาน"..Brian Tracy
state exact goal/then analyze what fail the goal/then act/if you don't start/dream still be a dream
หุ้นไม่ใช่แค่เศษกระดาษ มันมีคนทำงานจริง
phobenius
Verified User
โพสต์: 1976
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 21

โพสต์

วันจันทร์ข่าวดีเยอะ อย่าลืมมาเตือนเพื่อนๆอีกละกันนะครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 22

โพสต์

From J.P.Morgan.......
The Year of the Bear
The US is now approaching possibly already in a recession. This will be the only thing that will matter for investors over the next few quarters. As a result, the bear market in risk assets, which in hindsight started two months ago, has much further to run, in my view. In short, its time to sell.
Ive continually pointed to employment as the single most important indicators for investors to watch. The labour market now appears so weak that it would be extraordinary for the US to avoid recession. Annual payroll growth has fallen to 1.0%. US employment growth has not fallen this low outside a recession period since the early 1950s (Exhibit 1). In soft landings growth has held above 1.6%.
Unlike the August payroll report, which initially was reported as -4K (but has since been revised to +93K), the weakness in December fits with other labour market indicators, such as the rise in jobless claims and the fall in the employment components of employer surveys.
Moreover, the employment report continued the run of data hinting at a material loss of momentum. Housing remains in a deep funk, there is now evidence of spillover to non-residential construction, business sentiment is souring and capex indicators are weak, and consumer confidence is falling. All this is occurring against a backdrop of a developed-world credit crunch and signs that growth elsewhere in the OECD is slowing. Summary indicators of US activity are around recession levels (Exhibit 2).
A few points to note about this:
First, recessions are always bad for risk assets generally and equities specifically. I do not expect the apparent cheapness of equities either in an absolute sense or relative to, say, Treasuries will prevent a bear market.
Second, the key to equities in the bull market was rising earnings, and earning declines will likewise be the driver of the bear market. In the US, earning forecasts remain wildly optimistic in my view. As Abhijit Chakrabortti, our US strategist, has noted, the resilience of earnings forecasts for the non-financial sector in particular looks odd (Exhibit 3). Cycle indicators, such as the ISM index, now point to imminent downgrades (Exhibit 4).
Third, I continue to expect that a bear market in US risk assets will lead to a bear market in global risk assets. Global markets are simply too interconnected to expect that markets in the rest of the world emerging markets in particular can decouple from a bear market in the US.
Fourth, a turn in investor sentiment and the tightening in global credit greatly increase the prospect of financial accidents. Pinpointing when and where is very difficult. The sub-prime melt-down produced victims in unexpected places last year but that occurred with growth at robust levels and employment still rising. Now, a recession is coming, and with it a bear market in risk assets, in my view. Financial risk will increase dramatically.
Finally, at some stage, probably around mid-year, investors will have to decide what sort of recession is underway. Our US economics team is forecasting a relatively mild recession. My own view is that this could prove to be a very serious recession. For now, I dont think it matters what the recession will be like: risk assets will weaken in the near term. But by mid-year it will be important to make that call. If its a major recession, its likely to be accompanied by a very large fall in earnings. US S&P500 earnings for example, are now running 65% above the long-term trend (Exhibit 5). If this downturn leads to margins mean-reverting, then we are embarking on what will likely be a long and deep bear market, at least in developed economies.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 23

โพสต์

การตั้งสำรองหนี้ที่มีปัญหา
ในกลุ่ม Sub-prime ยังไม่จบสิ้น โดยปัจจุบันพบว่าสถาบันการเงินในสหรัฐได้ตั้งสำรองฯ ไปแล้ว ณ
สิ้นปี 2550 ประมาณ 50% ของลูกหนี้ที่ผิดชำระ 2.5 แสนล้านเหรียญสหรัฐ จากยอดสินเชื่อ
อสังหาริมทรัพย์ในกลุ่ม Sub-prime 1.5 ล้านล้านเหรียญฯ ภายใต้สมมุติฐานที่ว่าอัตราการได้รับ
ชำระคืนอยู่ที่ 40% (Recovery rate) ทั้งนี้มีแนวโน้มว่าลูกหนี้อสังหาริมทรัพย์กลุ่ม Sub-prime
บางส่วนจะกลายเป็นหนี้ที่ผิดชำระเพิ่มเติมจากตัวเลขข้างต้น อ้างอิงจากการรายงานของ Housing
and Urban Development ในสหรัฐ คาดว่าจะมีลูกหนี้ในกลุ่ม Sub-prime ประมาณ 5 แสนหลังคา
เรือน จะถูกคิดดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราที่สูงขึ้นตามที่ระบุในสัญญาเงินกู้

ประเทศไทยส่งออกไปสหรัฐ 12.73% ของยอดการส่งออกรวม แต่เมื่อรวมการส่งออกทางอ้อมผ่าน
ประเทศคู่ค้าอื่นๆ พบว่าประเทศไทยส่งออกสุทธิไปสหรัฐ 24.28%
◙ จากการศึกษาของ ADB พบว่าประเทศในแถบเอเซียส่งออกไปสหรัฐฯ รวมกัน 50% ของผลผลิตรวม
แต่เมื่อรวมยอดการค้าระหว่างประเทศ พบว่าเอเซียส่งออกสุทธิไปสหรัฐ 60% ของผลผลิตรวม
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
s3410312
Verified User
โพสต์: 180
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 24

โพสต์

Thanks krub.
Nothing like it seem.
ภาพประจำตัวสมาชิก
DeepTVI
Verified User
โพสต์: 439
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 25

โพสต์

[quote="Pn3um0n1a"]โอ ไม่ได้เจอนาน

คิดถึงครับ
MindTrick
Verified User
โพสต์: 1289
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 26

โพสต์

เพื่อจะได้ดูแนวโน้มยาวๆว่าบ้านเราจะมีกลุ่มธุรกิจไหน น่าจะพอยืนหยัดได้บ้าง....ตอนนี้ อยากให้ช่วยกันออกความเห็นว่า

1.มีปัจจัย อะไรบ้าง ที่ทำให้ประเทศเรา เดินสวนทาง[decouple] กับ US ที่กำลังตกต่ำลง

2.ตรงกันข้าม... ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ ไทย ตกต่ำไปตาม US

ที่ผมพอจะเห็นคือ
1.
-ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเพิ่มขึ้น ซึ่งทั้งนี้ก็มาจากการคาด"เดา" ว่า การมีรัฐบาลใหม่จะทำให้เศรษกิจดีขึ้น
-การใช้จ่ายภาครัฐ จะเกิดช่วยผลักดันเศษฐกิจ โดยระยะแรกคงส่งผลให้เกิดการเก็งกำไรพวกหุ้นรับเหมาต่างๆ
-กลุ่มยานยนต์ ดูแล้วมีการลงทุนไหลเข้า แต่กว่าจะซื้อที่ สร้า้ง รง.เสร็จ จนกำไรเข้ามาในบัญชี คงกินเวลาเป็นปี
-กลุ่มที่ทำรายได้จากในประเทศเป็นหลักจะยืนหยัดได้ และค้ำภาพรวมไว้ไม่ให้แย่มาก

2.
-การส่งออก อิงกับตลาด US โดยตรงไม่น้อย และทางอ้อมอีกก็มากพอตัว
-ส่งออกเราก็ อิงกับยุโรป ญี่ปุ่น ซึ่งก็โยงกับ US อีกที โดนอีกทาง
-ฝรั่ง(foreign) ขายของกระหน่ำ เพื่อลดความเสี่ยง ส่วนจะไปลงที่ไหนต่อค่อยว่ากัน ถือเงินสดไว้ก่อน

ท่านอื่นๆคิดว่าไงครับ
^
"เมื่อคุณเริ่มทำสิ่งที่รักแล้ว วันต่อๆไปก็จะไม่ใช่การทำงาน"..Brian Tracy
state exact goal/then analyze what fail the goal/then act/if you don't start/dream still be a dream
หุ้นไม่ใช่แค่เศษกระดาษ มันมีคนทำงานจริง
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 27

โพสต์

S&P noted that the deteriorating global situation leaves limited scope for
country rating upgrades in the Asian region. However, for some countries,
including Pakistan, Taiwan, Thailand and Sri Lanka, the ratings or outlook
are susceptible to downward revisions, given existing weaknesses. Yet, in
many cases the greatest risk stems perhaps not from the recession itself, but
from possible policy missteps by governments when faced with the fallout of
a US, or possibly global, slowdown.
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
ภาพประจำตัวสมาชิก
david
Verified User
โพสต์: 852
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 28

โพสต์

มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐฯ
เหตุการณ์: ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิ้ลยู บุช แถลงรายละเอียดของมาตรการ
กระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและการลงทุน
ภาคเอกชน:

การลดดอกเบี้ย และการลดภาษีเพียงอย่างเดียวไม่น่าจะช่วยได้มากนัก
เพราะปัญหาในขณะนี้เป็นเรื่องของงบดุลของธนาคาร ซึ่งทำให้ธนาคารไม่
สามารถปล่อยเงินกู้ได้คล่องเหมือนเมื่อก่อน การลดดอกเบี้ยจึงอาจไม่ได้ผล
นัก อีกอย่างการลดดอกเบี้ยนโยบายซึ่งเป็นดอกเบี้ยระยะสั้นก็ไม่ค่อยจะทำ
ให้ดอกเบี้ยระยะยาวลดลงมากนัก เห็นได้ว่าตั้งแต่ ก.ย. ที่ผ่านมาก Fed ลด
ดอกเบี้ยนโยบายไปแล้ว 175 bps แต่อัตราดอกเบี้ย 10 และ 20 ปีลดไป
เพียง 110 และ 60 bps เท่านั้น (ถึง 23 ม.ค.)
การคืนภาษีเองก็ไม่มีผลมากนักเมื่อ recession คราวก่อนในปี 2544 ส่วน
ครั้งนี้เองก็คงช่วยอะไรได้จำกัด จากการศึกษาพบว่าเมื่อปี 2544 ที่มีการคืน
ภาษีนั้น มีไม่ถึงหนึ่งในสี่ของครัวเรือนที่นำเงินที่ได้มาไปจับจ่ายใช้สอย
ส่วนมากจะเก็บเงินดังกล่าวไว้ในบัญชีเงินฝากหรือเก็บไว้จ่ายค่าผ่อนบ้าน
ทำให้กระตุ้นเศรษฐกิจได้จำกัด
1.My Facebook page, https://www.facebook.com/pages/Kitichai ... 5514051589.
2.U may follow my stock comment via http://twitter.com/value_talk
3.กระทู้ที่โพสท์นี้เป็นความเห็นส่วนตัว การซื้อขายหุ้นขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละคน
phobenius
Verified User
โพสต์: 1976
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 29

โพสต์

อาทิตย์หน้าเลือกตั้งประธานาธิปดีคนใหม่ ใช่ปล่าวครับ

ส่วนพี่จอรช์ บุช ผมว่าแกดำเนินนโยบายแบบดำดินมานานแล้ว
เอาแต่รบ กลัวหน้าแตก

ผมว่าการที่สหรัฐเปลี่ยน ประธานาธิปดีในช่วงนี้ อาจจะสร้างศรัทธากลับมาใหม่ได้อีกครั้งหนึ่ง ในระยะสั้น

แต่

การกดดันจากภาคการเงินยังน่าจะสร้างความกังวลต่อไประดับหนึ่งทีเดียว และยอดขายบ้านใหม่ยังคงต่ำกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้เช่นกัน อาทิตย์นี้มีตัวเลขหลายตัวที่น่าจะจับตามองสำหรับการชะลอตัวของสหรัฐ cci และ ยอดจ้างงานว่าเป็นอย่างไร

แต่ดูจากตัวเลขหลายๆตัวยังไม่เห็นสัญญาณเท่าที่ตลาดคาดการณ์เท่าไหร่ส่วนใหญ่จะต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ซะมากกว่า


โดยรวมน่าจะเห็นตลาดสหรัฐอยู่ในภาวะท่ามกลางการกดดันชะลอตัวหลายๆอย่าง แต่สำหรับประเทศไทย สหรัฐเป็นตัวแปรหนึ่งที่มีความสำคัญ แต่ยังไม่คิดว่าวงจรเศรษฐกิจของไทยและสหรัฐจะอยู่รอบเดียวกันครับ ถ้าไม่เกิดช็อคแรงๆเกิดขึ้นจริง เศรษฐกิจไทยน่าจะพอถูไถๆ ไปได้เรื่อยๆครับ
Dimsum
Verified User
โพสต์: 187
ผู้ติดตาม: 0

Have we already been in the BEAR market?

โพสต์ที่ 30

โพสต์

อเมริกากำหนดวันเลือกตั้งประธานาธิบดีตายตัวครับ จะเลือกต้นเดือนพ.ย.ของทุก ๆ 4 ปี (ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) และกว่าประธานาธิบดีจะเริ่มทำงานพร้อมครม.ก็ต้นปีหน้าครับ
โพสต์โพสต์