เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่าครับfreemindd เขียน:ผมชอบแบบนี้มากกว่าเศรษฐกิจพอเพียง ที่สงเคราะห์กันเป็นรายๆไป
ไม่เป็นระบบ ไม่มีกฏหมายคุ้มครองแน่นอนครอบคลุมเท่าใดนัก
พลังที่มองไม่เห็น
-
- Verified User
- โพสต์: 1601
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 31
"Be sure you put your feet in the right place, then stand firm"
Abraham Lincoln
Abraham Lincoln
-
- Verified User
- โพสต์: 697
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 32
นั่นน่ะซิครับ ผมก็เห็นช่างไม้ ช่างเครื่อง ทำไมพวกนี้บางทีได้เงินเยอะกับพวกจบปริญญาสูงๆเสียอีกfreemindd เขียน: ผมชอบทุนนิยมในประเทศพวกนั้นที่เขาทำอย่างไรก็ไม่รุ้
ให้คนขุดถนน แรงงานจบวุฒิต่ำๆ ได้ค่าแรงแทบไม่ต่างกับ
คนจบปริญญาตรี เพราะทำงานหนักไม่แพ้กัน หนักกว่าด้วยซ้ำ
เอาเท่าที่ผมคิด เดาว่า เพราะพวกนี้ เป็นระดับปฎิบัติ ใช้ความสามารถด้านความชำนาญ และฝีมือ ซึ่งไม่ต้องใช้ความรู้ แต่ฉันมีฝีมือ
มันก็น่าคิดน่ะครับ ทำไมเราไม่เป็นแบบนั้น แต่ตอนนี้ก็เริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงบ้างแล้ว เช่น บริษัทต่างๆเริ่มจ้าง outsource แทนต่ำแหน่งพนักงานประจำ ต่อไปบ้านเราคงจ่ายเงินเดือน เปลี่ยนเป็นระบบ ค่าแรงรายชั่วโมงแทน
ส่วนเรือง ระบบ ไหนดีไม่ดี คงต้องดูกันระยะยาวมั้งครับ อย่างคอมมิวนิส เอาตามทฤษฎี ผมก็เห็นว่าดีมากๆๆ ไม่เกิดชนชั้นในสังคม ทุกคนเท่าเทียมกัน แต่แล้วความต้องการ ความทะเยอทะยาน กิเลสในตัวมนุษย์ ได้ทำลายระบบนี้ทิ้งไป ในแง่ปฎิบัติระบบนี้ล้มเหลวครับ :idea:
-
- Verified User
- โพสต์: 94
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 33
ระบบใหนๆ ในทางอุดมคติมันก็ดีทั้งนั้นแหละครับ
เรื่องพอเพียง คนที่คิดคือในหลวงของเรา ผมอยากให้ท่านสอนสั่งลูกศิษย์สักคน
ถ้ามีเรื่องพอเพียงแล้วต้องถามคนๆนี้ ในหลวงทรงรับรองว่าถูกต้อง ท่านจะได้ไม่ต้องลงมายุ่ง
ไม่ยังงั้นคำๆนี้จะโดนใช้ประโยชน์ จนใครๆที่อยากจะได้ในหลวงคุ้มหัวก็อ้างพอเพียง รักชาติ จริยธรรมสูง
ภาพลบของคำว่าพอเพียงของผมคือสิ่งนี้แหละครับ ใครพูดว่าพอเพียงใส่ผมตอนนี้มีแต่เหม็นเบื่อ
เห็นตีความกันไป 108-1009 ใครรับรองหรือครับว่าถูกต้อง
ตอนนี้คำว่าพอเพียงมีความหมายเหมือนกับคำว่า "ดีงาม" "รักชาติ" "จริยธรรม" กันแล้ว ลองคิดกันดูครับ
เรื่องพอเพียง คนที่คิดคือในหลวงของเรา ผมอยากให้ท่านสอนสั่งลูกศิษย์สักคน
ถ้ามีเรื่องพอเพียงแล้วต้องถามคนๆนี้ ในหลวงทรงรับรองว่าถูกต้อง ท่านจะได้ไม่ต้องลงมายุ่ง
ไม่ยังงั้นคำๆนี้จะโดนใช้ประโยชน์ จนใครๆที่อยากจะได้ในหลวงคุ้มหัวก็อ้างพอเพียง รักชาติ จริยธรรมสูง
ภาพลบของคำว่าพอเพียงของผมคือสิ่งนี้แหละครับ ใครพูดว่าพอเพียงใส่ผมตอนนี้มีแต่เหม็นเบื่อ
เห็นตีความกันไป 108-1009 ใครรับรองหรือครับว่าถูกต้อง
ตอนนี้คำว่าพอเพียงมีความหมายเหมือนกับคำว่า "ดีงาม" "รักชาติ" "จริยธรรม" กันแล้ว ลองคิดกันดูครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 113
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 34
โดยส่วนตัวแล้วผมชอบแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงนะ และก็ชอบทุนนิยมด้วย เพราะทำให้มีตลาดหุ้นอยู่ทุกวันนี้
ผมเองมพยายาม balance ทั้งสองเข้าด้วยกันครับ
พอดีได้อ่านบทความในนิตยสาร Fortune เห็นว่าน่าสนใจ และตรงกับเรื่องที่คุยกันในกระทู้เลยนำมาฝากครับ
(ถ้าใครได้อ่านของจริงแล้ว และเห็นว่าผมสรุปและลอกบางส่วนมาผิด ช่วยแก้ไขให้ด้วยนะครับ)
เป็นความเห็นของศาสตราจารย์ Muhammad Yunus และข้อเท็จจริงบางส่วนเกี่ยวกับระบบทุนนิยม http://money.cnn.com/magazines/fortune/ ... /index.htm)
ท่านเชื่อว่าแนวความคิดของอดัม สมิท เกี่ยวกับระบบทุนนิยมตลาดเสรี ที่ใช้กำไรเป็นสิ่งจูงใจนั้นไม่ได้ผิดแต่อย่างใด เพียงแต่มันมีข้อจำกัดมากเกินไป ด้วยวามคิดเดิมๆ ที่ว่าทุนนิยมจะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวม จากการแข่งขัน การจ้างงาน และสร้างโอกาสต่างๆ นั้นใช้ไม่ได้ผลกับคนส่วนใหญ่
ข้อมูลจาก UN แสดงให้เห็นว่า คนที่รวยที่สุด 2% ของโลก ครอบครองทรัพย์สินความมั่งคั่งมากกว่าครึ่งของโลก (ส่วนใหญ่เป็นคนอเมริกัน, ยุโรป และญี่ปุ่น)
มันจะต้องมีอะไรที่ผิดปกติกับระบบทุนนิยม เพราะผู้คนอีกกว่า 3 พันล้านคนหรือครึ่งหนึ่งของประชากรโลกยังจมอยู่ในความยากจน โดยเราไม่สามารถโทษความไม่มีประสิทธิภาพของตลาด หรือโทษการทุจริต หรือโทษผู้นำเผด็จการ ไปซะทั้งหมด เพราะความจริงแล้ว แม้แต่ในอเมริกาเอง ซึ่งเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ก็ยังมีคนที่จัดว่าจนถึงประมาณ 36 ล้านคน
ศาสตราจารย์ยูนุส ต้องการให้เราคิดให้กว้างขึ้นต่อความหมายของระบบทุนนิยม
ท่านเชื่อว่าปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและยังไม่สามารถแก้ไขได้นั้น เป็นเพราะเราตีความหมายของทุนนิยมแคบเกินไป
พวกเรายังคงหลงไหลได้ปลื้มกับความสำเร็จของแนวความคิดตลาดเสรี จนไม่กล้าแม้ที่จะแสดงความสงสัยในตัวระบบเอง
ท่านกล่าวกับผู้ฟังที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเมื่อปีที่แล้ว
ศาสตราจารย์ยูนุส ไม่ได้ต้องการลบล้างระบบทุนนิยม เพียงแต่ต้องการทำความเข้าใจใหม่ที่แจ่มแจ้งต่อมันเท่านั้น
จะเป็นอย่างไร ถ้าเราอยู่ในโลกที่บริษัทต่างๆ ไม่ได้วัดผลการดำเนินงานกันเพียงแค่รายได้และความสามารถในการกำไร
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทยา ไม่เพียงแต่รายงานตัวเลขต่างๆ ที่เราๆ คุ้นเคย แต่ยังมีรายงานด้วยว่า ในไตรมาสนั้นๆ ยาที่บริษัทผลิต ได้ช่วยชีวิตคนไว้กี่คน
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทอาหาร จะรายงานตัวเลขจำนวนเด็กๆ ที่รอดพ้นจากภาวะขาดแคลนสารอาหาร
จะเป็นอย่างไรถ้าบริษัทจะออกหุ้นที่วัดผลงานกันด้วยการตอบแทนสังคม และพวกเราจะแย่งกันซื้อหุ้นบริษัทที่มีผลงานในการช่วยเหลือชีวิตที่ดีกว่าอีกบริษัทหนึ่ง
หรือจะเป็นอย่างไรถ้าพวกเราพากันเทขายหุ้นบริษัทพลังงานที่ปล่อยของเสียมากกว่าคู่แข่ง
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทต่างๆ นำเอา ทุนทางสังคม (social capital) เข้ามาพิจารณา และลงทุนในแบบที่ยั่งยืนโดยมิได้เน้นกำไรเพียงอย่างเดียว บริษัทนั้นๆ จะยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดและขยายธุรกิจหลัก ไปพร้อมๆ กันกับการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้คนได้หรือไม่
แนวคิดนี้ โจเซฟ สติกลิทซ์ (นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล) ซึ่งได้ยินศาสตราจารย์ยูนุสพูดถึงมาหลายปีแล้ว ก็ยอมรับว่าเป็นแนวคิดที่ยิ่งใหญ่ แต่ปัญหาคือ จะนำเอาไปทำให้เป็นจริงได้ยังไง
ถึงตอนนี้ศาสตราจารย์ยูนุส (ได้รางวัลโนเบลเช่นกัน แต่สาขาสันติภาพ) มีคำตอบให้เพื่อนของทานแล้วครับ
โดยได้รับความร่วมมือจาก Danone บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหารของฝรั่งเศส (ถ้าใครจำได้ เคยโฆษณาบนหน้าอกเสื้อของยูเวนตุสอยู่พักนึงเมื่อหลายปีมาแล้ว)
โรงงานผลิตโยเกิร์ต ขายถ้วยละ 7 เซนต์ (ประมาณ 2.50 บาท) ในบังคลาเทศ คือคำตอบและการนำแนวคิดไปปฏิบัติจริงครับ
ผมเองมพยายาม balance ทั้งสองเข้าด้วยกันครับ
พอดีได้อ่านบทความในนิตยสาร Fortune เห็นว่าน่าสนใจ และตรงกับเรื่องที่คุยกันในกระทู้เลยนำมาฝากครับ
(ถ้าใครได้อ่านของจริงแล้ว และเห็นว่าผมสรุปและลอกบางส่วนมาผิด ช่วยแก้ไขให้ด้วยนะครับ)
เป็นความเห็นของศาสตราจารย์ Muhammad Yunus และข้อเท็จจริงบางส่วนเกี่ยวกับระบบทุนนิยม http://money.cnn.com/magazines/fortune/ ... /index.htm)
ท่านเชื่อว่าแนวความคิดของอดัม สมิท เกี่ยวกับระบบทุนนิยมตลาดเสรี ที่ใช้กำไรเป็นสิ่งจูงใจนั้นไม่ได้ผิดแต่อย่างใด เพียงแต่มันมีข้อจำกัดมากเกินไป ด้วยวามคิดเดิมๆ ที่ว่าทุนนิยมจะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวม จากการแข่งขัน การจ้างงาน และสร้างโอกาสต่างๆ นั้นใช้ไม่ได้ผลกับคนส่วนใหญ่
ข้อมูลจาก UN แสดงให้เห็นว่า คนที่รวยที่สุด 2% ของโลก ครอบครองทรัพย์สินความมั่งคั่งมากกว่าครึ่งของโลก (ส่วนใหญ่เป็นคนอเมริกัน, ยุโรป และญี่ปุ่น)
มันจะต้องมีอะไรที่ผิดปกติกับระบบทุนนิยม เพราะผู้คนอีกกว่า 3 พันล้านคนหรือครึ่งหนึ่งของประชากรโลกยังจมอยู่ในความยากจน โดยเราไม่สามารถโทษความไม่มีประสิทธิภาพของตลาด หรือโทษการทุจริต หรือโทษผู้นำเผด็จการ ไปซะทั้งหมด เพราะความจริงแล้ว แม้แต่ในอเมริกาเอง ซึ่งเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ก็ยังมีคนที่จัดว่าจนถึงประมาณ 36 ล้านคน
ศาสตราจารย์ยูนุส ต้องการให้เราคิดให้กว้างขึ้นต่อความหมายของระบบทุนนิยม
ท่านเชื่อว่าปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและยังไม่สามารถแก้ไขได้นั้น เป็นเพราะเราตีความหมายของทุนนิยมแคบเกินไป
พวกเรายังคงหลงไหลได้ปลื้มกับความสำเร็จของแนวความคิดตลาดเสรี จนไม่กล้าแม้ที่จะแสดงความสงสัยในตัวระบบเอง
ท่านกล่าวกับผู้ฟังที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเมื่อปีที่แล้ว
ศาสตราจารย์ยูนุส ไม่ได้ต้องการลบล้างระบบทุนนิยม เพียงแต่ต้องการทำความเข้าใจใหม่ที่แจ่มแจ้งต่อมันเท่านั้น
จะเป็นอย่างไร ถ้าเราอยู่ในโลกที่บริษัทต่างๆ ไม่ได้วัดผลการดำเนินงานกันเพียงแค่รายได้และความสามารถในการกำไร
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทยา ไม่เพียงแต่รายงานตัวเลขต่างๆ ที่เราๆ คุ้นเคย แต่ยังมีรายงานด้วยว่า ในไตรมาสนั้นๆ ยาที่บริษัทผลิต ได้ช่วยชีวิตคนไว้กี่คน
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทอาหาร จะรายงานตัวเลขจำนวนเด็กๆ ที่รอดพ้นจากภาวะขาดแคลนสารอาหาร
จะเป็นอย่างไรถ้าบริษัทจะออกหุ้นที่วัดผลงานกันด้วยการตอบแทนสังคม และพวกเราจะแย่งกันซื้อหุ้นบริษัทที่มีผลงานในการช่วยเหลือชีวิตที่ดีกว่าอีกบริษัทหนึ่ง
หรือจะเป็นอย่างไรถ้าพวกเราพากันเทขายหุ้นบริษัทพลังงานที่ปล่อยของเสียมากกว่าคู่แข่ง
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทต่างๆ นำเอา ทุนทางสังคม (social capital) เข้ามาพิจารณา และลงทุนในแบบที่ยั่งยืนโดยมิได้เน้นกำไรเพียงอย่างเดียว บริษัทนั้นๆ จะยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดและขยายธุรกิจหลัก ไปพร้อมๆ กันกับการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้คนได้หรือไม่
แนวคิดนี้ โจเซฟ สติกลิทซ์ (นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล) ซึ่งได้ยินศาสตราจารย์ยูนุสพูดถึงมาหลายปีแล้ว ก็ยอมรับว่าเป็นแนวคิดที่ยิ่งใหญ่ แต่ปัญหาคือ จะนำเอาไปทำให้เป็นจริงได้ยังไง
ถึงตอนนี้ศาสตราจารย์ยูนุส (ได้รางวัลโนเบลเช่นกัน แต่สาขาสันติภาพ) มีคำตอบให้เพื่อนของทานแล้วครับ
โดยได้รับความร่วมมือจาก Danone บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหารของฝรั่งเศส (ถ้าใครจำได้ เคยโฆษณาบนหน้าอกเสื้อของยูเวนตุสอยู่พักนึงเมื่อหลายปีมาแล้ว)
โรงงานผลิตโยเกิร์ต ขายถ้วยละ 7 เซนต์ (ประมาณ 2.50 บาท) ในบังคลาเทศ คือคำตอบและการนำแนวคิดไปปฏิบัติจริงครับ
"Practice Makes Perfect"
...Toyota F1 Team...
...Toyota F1 Team...
- jody4003
- Verified User
- โพสต์: 372
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 35
อือ ชอบจังครับ :)Thonburi Funds เขียน:โดยส่วนตัวแล้วผมชอบแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงนะ และก็ชอบทุนนิยมด้วย เพราะทำให้มีตลาดหุ้นอยู่ทุกวันนี้
ผมเองมพยายาม balance ทั้งสองเข้าด้วยกันครับ
พอดีได้อ่านบทความในนิตยสาร Fortune เห็นว่าน่าสนใจ และตรงกับเรื่องที่คุยกันในกระทู้เลยนำมาฝากครับ
(ถ้าใครได้อ่านของจริงแล้ว และเห็นว่าผมสรุปและลอกบางส่วนมาผิด ช่วยแก้ไขให้ด้วยนะครับ)
เป็นความเห็นของศาสตราจารย์ Muhammad Yunus และข้อเท็จจริงบางส่วนเกี่ยวกับระบบทุนนิยม http://money.cnn.com/magazines/fortune/ ... /index.htm)
ท่านเชื่อว่าแนวความคิดของอดัม สมิท เกี่ยวกับระบบทุนนิยมตลาดเสรี ที่ใช้กำไรเป็นสิ่งจูงใจนั้นไม่ได้ผิดแต่อย่างใด เพียงแต่มันมีข้อจำกัดมากเกินไป ด้วยวามคิดเดิมๆ ที่ว่าทุนนิยมจะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวม จากการแข่งขัน การจ้างงาน และสร้างโอกาสต่างๆ นั้นใช้ไม่ได้ผลกับคนส่วนใหญ่
ข้อมูลจาก UN แสดงให้เห็นว่า คนที่รวยที่สุด 2% ของโลก ครอบครองทรัพย์สินความมั่งคั่งมากกว่าครึ่งของโลก (ส่วนใหญ่เป็นคนอเมริกัน, ยุโรป และญี่ปุ่น)
มันจะต้องมีอะไรที่ผิดปกติกับระบบทุนนิยม เพราะผู้คนอีกกว่า 3 พันล้านคนหรือครึ่งหนึ่งของประชากรโลกยังจมอยู่ในความยากจน โดยเราไม่สามารถโทษความไม่มีประสิทธิภาพของตลาด หรือโทษการทุจริต หรือโทษผู้นำเผด็จการ ไปซะทั้งหมด เพราะความจริงแล้ว แม้แต่ในอเมริกาเอง ซึ่งเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ก็ยังมีคนที่จัดว่าจนถึงประมาณ 36 ล้านคน
ศาสตราจารย์ยูนุส ต้องการให้เราคิดให้กว้างขึ้นต่อความหมายของระบบทุนนิยม
ท่านเชื่อว่าปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและยังไม่สามารถแก้ไขได้นั้น เป็นเพราะเราตีความหมายของทุนนิยมแคบเกินไป
พวกเรายังคงหลงไหลได้ปลื้มกับความสำเร็จของแนวความคิดตลาดเสรี จนไม่กล้าแม้ที่จะแสดงความสงสัยในตัวระบบเอง
ท่านกล่าวกับผู้ฟังที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเมื่อปีที่แล้ว
ศาสตราจารย์ยูนุส ไม่ได้ต้องการลบล้างระบบทุนนิยม เพียงแต่ต้องการทำความเข้าใจใหม่ที่แจ่มแจ้งต่อมันเท่านั้น
จะเป็นอย่างไร ถ้าเราอยู่ในโลกที่บริษัทต่างๆ ไม่ได้วัดผลการดำเนินงานกันเพียงแค่รายได้และความสามารถในการกำไร
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทยา ไม่เพียงแต่รายงานตัวเลขต่างๆ ที่เราๆ คุ้นเคย แต่ยังมีรายงานด้วยว่า ในไตรมาสนั้นๆ ยาที่บริษัทผลิต ได้ช่วยชีวิตคนไว้กี่คน
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทอาหาร จะรายงานตัวเลขจำนวนเด็กๆ ที่รอดพ้นจากภาวะขาดแคลนสารอาหาร
จะเป็นอย่างไรถ้าบริษัทจะออกหุ้นที่วัดผลงานกันด้วยการตอบแทนสังคม และพวกเราจะแย่งกันซื้อหุ้นบริษัทที่มีผลงานในการช่วยเหลือชีวิตที่ดีกว่าอีกบริษัทหนึ่ง
หรือจะเป็นอย่างไรถ้าพวกเราพากันเทขายหุ้นบริษัทพลังงานที่ปล่อยของเสียมากกว่าคู่แข่ง
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทต่างๆ นำเอา ทุนทางสังคม (social capital) เข้ามาพิจารณา และลงทุนในแบบที่ยั่งยืนโดยมิได้เน้นกำไรเพียงอย่างเดียว บริษัทนั้นๆ จะยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดและขยายธุรกิจหลัก ไปพร้อมๆ กันกับการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้คนได้หรือไม่
แนวคิดนี้ โจเซฟ สติกลิทซ์ (นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล) ซึ่งได้ยินศาสตราจารย์ยูนุสพูดถึงมาหลายปีแล้ว ก็ยอมรับว่าเป็นแนวคิดที่ยิ่งใหญ่ แต่ปัญหาคือ จะนำเอาไปทำให้เป็นจริงได้ยังไง
ถึงตอนนี้ศาสตราจารย์ยูนุส (ได้รางวัลโนเบลเช่นกัน แต่สาขาสันติภาพ) มีคำตอบให้เพื่อนของทานแล้วครับ
โดยได้รับความร่วมมือจาก Danone บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหารของฝรั่งเศส (ถ้าใครจำได้ เคยโฆษณาบนหน้าอกเสื้อของยูเวนตุสอยู่พักนึงเมื่อหลายปีมาแล้ว)
โรงงานผลิตโยเกิร์ต ขายถ้วยละ 7 เซนต์ (ประมาณ 2.50 บาท) ในบังคลาเทศ คือคำตอบและการนำแนวคิดไปปฏิบัติจริงครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 3763
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 36
เรื่องของกรามีนแบงค์ (กรามีน = หมู่บ้านในภาษีบังกลาเทศ) เป็นเรื่องที่น่าส่งเสริมครับ อย่างไรก็ตามสิ่งหนึ่งที่กรามีนแบงค์ยังคงเป็นที่สงสัยกันอยู่ก็เนื่องจากระบบในการคิดหนี้เสียครับ ซึ่งยังไม่เข้มงวดกว่าธนาคารแห่งอื่นๆ ในบังกลาเทศThonburi Funds เขียน:โดยส่วนตัวแล้วผมชอบแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงนะ และก็ชอบทุนนิยมด้วย เพราะทำให้มีตลาดหุ้นอยู่ทุกวันนี้
ผมเองมพยายาม balance ทั้งสองเข้าด้วยกันครับ
พอดีได้อ่านบทความในนิตยสาร Fortune เห็นว่าน่าสนใจ และตรงกับเรื่องที่คุยกันในกระทู้เลยนำมาฝากครับ
(ถ้าใครได้อ่านของจริงแล้ว และเห็นว่าผมสรุปและลอกบางส่วนมาผิด ช่วยแก้ไขให้ด้วยนะครับ)
เป็นความเห็นของศาสตราจารย์ Muhammad Yunus และข้อเท็จจริงบางส่วนเกี่ยวกับระบบทุนนิยม http://money.cnn.com/magazines/fortune/ ... /index.htm)
ท่านเชื่อว่าแนวความคิดของอดัม สมิท เกี่ยวกับระบบทุนนิยมตลาดเสรี ที่ใช้กำไรเป็นสิ่งจูงใจนั้นไม่ได้ผิดแต่อย่างใด เพียงแต่มันมีข้อจำกัดมากเกินไป ด้วยวามคิดเดิมๆ ที่ว่าทุนนิยมจะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวม จากการแข่งขัน การจ้างงาน และสร้างโอกาสต่างๆ นั้นใช้ไม่ได้ผลกับคนส่วนใหญ่
ข้อมูลจาก UN แสดงให้เห็นว่า คนที่รวยที่สุด 2% ของโลก ครอบครองทรัพย์สินความมั่งคั่งมากกว่าครึ่งของโลก (ส่วนใหญ่เป็นคนอเมริกัน, ยุโรป และญี่ปุ่น)
มันจะต้องมีอะไรที่ผิดปกติกับระบบทุนนิยม เพราะผู้คนอีกกว่า 3 พันล้านคนหรือครึ่งหนึ่งของประชากรโลกยังจมอยู่ในความยากจน โดยเราไม่สามารถโทษความไม่มีประสิทธิภาพของตลาด หรือโทษการทุจริต หรือโทษผู้นำเผด็จการ ไปซะทั้งหมด เพราะความจริงแล้ว แม้แต่ในอเมริกาเอง ซึ่งเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ก็ยังมีคนที่จัดว่าจนถึงประมาณ 36 ล้านคน
ศาสตราจารย์ยูนุส ต้องการให้เราคิดให้กว้างขึ้นต่อความหมายของระบบทุนนิยม
ท่านเชื่อว่าปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและยังไม่สามารถแก้ไขได้นั้น เป็นเพราะเราตีความหมายของทุนนิยมแคบเกินไป
พวกเรายังคงหลงไหลได้ปลื้มกับความสำเร็จของแนวความคิดตลาดเสรี จนไม่กล้าแม้ที่จะแสดงความสงสัยในตัวระบบเอง
ท่านกล่าวกับผู้ฟังที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเมื่อปีที่แล้ว
ศาสตราจารย์ยูนุส ไม่ได้ต้องการลบล้างระบบทุนนิยม เพียงแต่ต้องการทำความเข้าใจใหม่ที่แจ่มแจ้งต่อมันเท่านั้น
จะเป็นอย่างไร ถ้าเราอยู่ในโลกที่บริษัทต่างๆ ไม่ได้วัดผลการดำเนินงานกันเพียงแค่รายได้และความสามารถในการกำไร
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทยา ไม่เพียงแต่รายงานตัวเลขต่างๆ ที่เราๆ คุ้นเคย แต่ยังมีรายงานด้วยว่า ในไตรมาสนั้นๆ ยาที่บริษัทผลิต ได้ช่วยชีวิตคนไว้กี่คน
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทอาหาร จะรายงานตัวเลขจำนวนเด็กๆ ที่รอดพ้นจากภาวะขาดแคลนสารอาหาร
จะเป็นอย่างไรถ้าบริษัทจะออกหุ้นที่วัดผลงานกันด้วยการตอบแทนสังคม และพวกเราจะแย่งกันซื้อหุ้นบริษัทที่มีผลงานในการช่วยเหลือชีวิตที่ดีกว่าอีกบริษัทหนึ่ง
หรือจะเป็นอย่างไรถ้าพวกเราพากันเทขายหุ้นบริษัทพลังงานที่ปล่อยของเสียมากกว่าคู่แข่ง
จะเป็นอย่างไร ถ้าบริษัทต่างๆ นำเอา ทุนทางสังคม (social capital) เข้ามาพิจารณา และลงทุนในแบบที่ยั่งยืนโดยมิได้เน้นกำไรเพียงอย่างเดียว บริษัทนั้นๆ จะยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดและขยายธุรกิจหลัก ไปพร้อมๆ กันกับการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้คนได้หรือไม่
แนวคิดนี้ โจเซฟ สติกลิทซ์ (นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล) ซึ่งได้ยินศาสตราจารย์ยูนุสพูดถึงมาหลายปีแล้ว ก็ยอมรับว่าเป็นแนวคิดที่ยิ่งใหญ่ แต่ปัญหาคือ จะนำเอาไปทำให้เป็นจริงได้ยังไง
ถึงตอนนี้ศาสตราจารย์ยูนุส (ได้รางวัลโนเบลเช่นกัน แต่สาขาสันติภาพ) มีคำตอบให้เพื่อนของทานแล้วครับ
โดยได้รับความร่วมมือจาก Danone บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหารของฝรั่งเศส (ถ้าใครจำได้ เคยโฆษณาบนหน้าอกเสื้อของยูเวนตุสอยู่พักนึงเมื่อหลายปีมาแล้ว)
โรงงานผลิตโยเกิร์ต ขายถ้วยละ 7 เซนต์ (ประมาณ 2.50 บาท) ในบังคลาเทศ คือคำตอบและการนำแนวคิดไปปฏิบัติจริงครับ
Impossible is Nothing
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 37
ย้อนกลับไปสู่สมัย Barter Trade
มีการนำสินค้าหรือบริการที่ตัวเองผลิตได้ไปแลกกับผู้อื่น
แต่ก็มีข้อจำกัดอยู่มาก จนนำไปสู่การหาสิ่งทดแทนมูลค่า
นั่นก็คือ "Money" หรือ เงิน
ดังนั้น "เงิน" ก็คือสิ่งสมมติที่ใช้เก็บมูลค่า เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน
เพื่อนำไปแลกสินค้าบริการกับผู้อื่น
ดังนั้นตัวมันเองไม่ได้มีความชั่วร้ายแต่อย่างใดเลย
และโดยธรรมชาติแล้ว ผู้ที่ผลิตมากกว่าควรจะมีอำนาจในการ
เอาเงินไปแลกซื้อ สินค้า/บริการ ได้มากกว่า
ผู้ที่ผลิตสิ่งที่เป็นที่ต้องการของสังคมมากกว่า ก็เช่นเดียวกัน
ควรจะมีอำนาจเอาเงินไปแลกซื้อ สินค้า/บริการ ได้มากกว่า
ผู้ที่สามารถบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงกว่า
หรือมีความสามารถมากกว่า ก็พิจารณาได้ในทำนองเดียวกัน
ระบบทุนนิยมหรือ Capitalism ตอบโจทย์เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี
อย่างไรก็ตามผมคิดว่าระบบนี้ก็ยังมีช่องโหว่อยู่ไม่ใช่น้อย
(อย่างบทความของคุณ Thonburi Funds เป็นต้น)
ลองคิดดูว่าถ้าหาก
- ร.พ. มุ่งเน้นแต่เรื่องกำไรอย่างเดียว
ลืมมิติในแง่การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
- ความมั่งคั่งตกอยู่ในกลุ่มคนไม่กี่กลุ่ม
โดยมีคนอีกครึ่งค่อนโลกกำลังจะอดตาย
- การมุ่งเน้นในการสะสมทุน โดยไม่สนใจผลกระทบที่จะเกิดกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
เช่น ค้ายาเสพติด ปล่อยมลพิษทำลายสิ่งแวดล้อม โดยสนใจเพียงแค่แสวงหาความมั่งคั่ง
หรืออำนาจในการบริโภคที่เพิ่มขึ้น
สุดท้ายแล้วบ้านตัวเอง (โลก) ก็ถูกทำลาย
มีเงินมากมาย(สิ่งที่สมมติขึ้น) จะมีประโยชน์อะไร ถ้าเราไม่มีบ้านให้อยู่
ถ้าเรามีปัญหาสังคมมากมาย ความขัดแย้ง การแย่งชิงทรัพยากร
สงคราม ลัทธิก่อการร้าย หรือแม้แต่ระเบิดที่กรุงเทพ
ลองคิดดูว่า คนในสังคม โดยรวมแล้วมีคุณภาพชีวิตและความสุขโดยรวมดีขึ้นหรือไม่
หรือตัวเลขผู้ที่เจ็บป่วยด้านจิตใจ มีภาวะเครียด อาการซึมเศร้า มากขึ้นจนน่าตกใจ
ถ้าผมจำตัวเลขไม่ผิด ทุก 10 คนจะมี 1 คนที่มีความเจ็บป่วยทางจิต หรือโรคเครียด
การหยิบยกเอาเรื่องคุณธรรม หรือการพัฒนาจิตใจมาพูดควรจะเป็นเรื่องเหม็นเบื่อหรือไม่
ศาสนาพุทธสอนให้เดินทางสายกลาง ไม่ตึงหรือหย่อนจนเกินไป
ในมิติของเศรษฐกิจ ก็ควรจะมีจุดสมดุลย์ หรือพอเพียง
จะคิดค้นพัฒนาด้านวัตถุหรือเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตก็ทำไป
แต่ต้องอยู่บนหลักการแห่งความพอเพียง (พอดี) ... ซึ่งไม่ใช่ให้หยุดพัฒนา
บุคคลที่ก่อให้เกิดคุณูปการอย่างมากมายต่อโลกและสังคม
ล้วนทำเพื่อผู้อื่น ไม่ใช่ทำทุกอย่างเพื่อตัวเอง
ถ้าเราปล่อยให้สังคมถูกขับเคลื่อนไปตามกิเลศหรือความต้องการที่ไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์
ผมว่ามนุษย์ที่บอกว่าตัวเองเป็นสัตว์ประเสริฐก็อาจจะไม่จริง
เพียงแต่ใช้ความฉลาดที่ตัวเองมีมากกว่าไปเบียดเบียนกันเองและสัตว์ชนิดอื่นเท่านั้น
อ่านแล้วไม่ชอบใจ ก็ขออภัยด้วยครับ
มีการนำสินค้าหรือบริการที่ตัวเองผลิตได้ไปแลกกับผู้อื่น
แต่ก็มีข้อจำกัดอยู่มาก จนนำไปสู่การหาสิ่งทดแทนมูลค่า
นั่นก็คือ "Money" หรือ เงิน
ดังนั้น "เงิน" ก็คือสิ่งสมมติที่ใช้เก็บมูลค่า เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน
เพื่อนำไปแลกสินค้าบริการกับผู้อื่น
ดังนั้นตัวมันเองไม่ได้มีความชั่วร้ายแต่อย่างใดเลย
และโดยธรรมชาติแล้ว ผู้ที่ผลิตมากกว่าควรจะมีอำนาจในการ
เอาเงินไปแลกซื้อ สินค้า/บริการ ได้มากกว่า
ผู้ที่ผลิตสิ่งที่เป็นที่ต้องการของสังคมมากกว่า ก็เช่นเดียวกัน
ควรจะมีอำนาจเอาเงินไปแลกซื้อ สินค้า/บริการ ได้มากกว่า
ผู้ที่สามารถบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงกว่า
หรือมีความสามารถมากกว่า ก็พิจารณาได้ในทำนองเดียวกัน
ระบบทุนนิยมหรือ Capitalism ตอบโจทย์เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี
อย่างไรก็ตามผมคิดว่าระบบนี้ก็ยังมีช่องโหว่อยู่ไม่ใช่น้อย
(อย่างบทความของคุณ Thonburi Funds เป็นต้น)
ลองคิดดูว่าถ้าหาก
- ร.พ. มุ่งเน้นแต่เรื่องกำไรอย่างเดียว
ลืมมิติในแง่การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
- ความมั่งคั่งตกอยู่ในกลุ่มคนไม่กี่กลุ่ม
โดยมีคนอีกครึ่งค่อนโลกกำลังจะอดตาย
- การมุ่งเน้นในการสะสมทุน โดยไม่สนใจผลกระทบที่จะเกิดกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
เช่น ค้ายาเสพติด ปล่อยมลพิษทำลายสิ่งแวดล้อม โดยสนใจเพียงแค่แสวงหาความมั่งคั่ง
หรืออำนาจในการบริโภคที่เพิ่มขึ้น
สุดท้ายแล้วบ้านตัวเอง (โลก) ก็ถูกทำลาย
มีเงินมากมาย(สิ่งที่สมมติขึ้น) จะมีประโยชน์อะไร ถ้าเราไม่มีบ้านให้อยู่
ถ้าเรามีปัญหาสังคมมากมาย ความขัดแย้ง การแย่งชิงทรัพยากร
สงคราม ลัทธิก่อการร้าย หรือแม้แต่ระเบิดที่กรุงเทพ
ลองคิดดูว่า คนในสังคม โดยรวมแล้วมีคุณภาพชีวิตและความสุขโดยรวมดีขึ้นหรือไม่
หรือตัวเลขผู้ที่เจ็บป่วยด้านจิตใจ มีภาวะเครียด อาการซึมเศร้า มากขึ้นจนน่าตกใจ
ถ้าผมจำตัวเลขไม่ผิด ทุก 10 คนจะมี 1 คนที่มีความเจ็บป่วยทางจิต หรือโรคเครียด
การหยิบยกเอาเรื่องคุณธรรม หรือการพัฒนาจิตใจมาพูดควรจะเป็นเรื่องเหม็นเบื่อหรือไม่
ศาสนาพุทธสอนให้เดินทางสายกลาง ไม่ตึงหรือหย่อนจนเกินไป
ในมิติของเศรษฐกิจ ก็ควรจะมีจุดสมดุลย์ หรือพอเพียง
จะคิดค้นพัฒนาด้านวัตถุหรือเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตก็ทำไป
แต่ต้องอยู่บนหลักการแห่งความพอเพียง (พอดี) ... ซึ่งไม่ใช่ให้หยุดพัฒนา
บุคคลที่ก่อให้เกิดคุณูปการอย่างมากมายต่อโลกและสังคม
ล้วนทำเพื่อผู้อื่น ไม่ใช่ทำทุกอย่างเพื่อตัวเอง
ถ้าเราปล่อยให้สังคมถูกขับเคลื่อนไปตามกิเลศหรือความต้องการที่ไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์
ผมว่ามนุษย์ที่บอกว่าตัวเองเป็นสัตว์ประเสริฐก็อาจจะไม่จริง
เพียงแต่ใช้ความฉลาดที่ตัวเองมีมากกว่าไปเบียดเบียนกันเองและสัตว์ชนิดอื่นเท่านั้น
อ่านแล้วไม่ชอบใจ ก็ขออภัยด้วยครับ
"Winners never quit, and quitters never win."
-
- Verified User
- โพสต์: 94
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 38
แหะๆ ผมไม่ได้บอกว่าพอเพียงไม่ดีนา คุณ HVI
เพียงแต่ว่ามันถูกเอาใช้เป็นเครื่องมือ นี่แหละที่ผมไม่ชอบ
ในเมื่อไม่มีใครมาฟันธงว่าความหมายมันคืออะไร
ใครเสียงดังกว่าก็ถือว่ามีอำนาจในคำนั้นไปเลย
ความพอเพียงของผม มันไม่เกี่ยวกับศีลธรรม จริยธรรมอะไรเลยสักนิด
มันก็แค่ subset นึงของระบบทุนนิยมแค่นั้นเอง แล้วก็ไม่ทุกคนด้วยที่เหมาะกับมัน
(อ่ะ นี่ผมคิดอย่างนี้นา ผมก็ว่าผมคิดถูกหล่ะ ความหมายมัน 108-1009 อยู่แล้ว)
โดยส่วนตัว ผมมองเห็นอันตรายจากคำๆนี่มากกว่าประโยชน์นะ
ในระยะยาวมันจะเป็นแค่เครื่องมือของผู้มีอำนาจเท่านั้นเอง
เพียงแต่ว่ามันถูกเอาใช้เป็นเครื่องมือ นี่แหละที่ผมไม่ชอบ
ในเมื่อไม่มีใครมาฟันธงว่าความหมายมันคืออะไร
ใครเสียงดังกว่าก็ถือว่ามีอำนาจในคำนั้นไปเลย
ความพอเพียงของผม มันไม่เกี่ยวกับศีลธรรม จริยธรรมอะไรเลยสักนิด
มันก็แค่ subset นึงของระบบทุนนิยมแค่นั้นเอง แล้วก็ไม่ทุกคนด้วยที่เหมาะกับมัน
(อ่ะ นี่ผมคิดอย่างนี้นา ผมก็ว่าผมคิดถูกหล่ะ ความหมายมัน 108-1009 อยู่แล้ว)
โดยส่วนตัว ผมมองเห็นอันตรายจากคำๆนี่มากกว่าประโยชน์นะ
ในระยะยาวมันจะเป็นแค่เครื่องมือของผู้มีอำนาจเท่านั้นเอง
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 39
ผมว่าหลายๆกระทู้ในนี้ก็คุยกันเกี่ยวกับความหมายของมันแล้วนะครับDemigod เขียน:แหะๆ ผมไม่ได้บอกว่าพอเพียงไม่ดีนา คุณ HVI
เพียงแต่ว่ามันถูกเอาใช้เป็นเครื่องมือ นี่แหละที่ผมไม่ชอบ
ในเมื่อไม่มีใครมาฟันธงว่าความหมายมันคืออะไร
ใครเสียงดังกว่าก็ถือว่ามีอำนาจในคำนั้นไปเลย
ความพอเพียงของผม มันไม่เกี่ยวกับศีลธรรม จริยธรรมอะไรเลยสักนิด
มันก็แค่ subset นึงของระบบทุนนิยมแค่นั้นเอง แล้วก็ไม่ทุกคนด้วยที่เหมาะกับมัน
(อ่ะ นี่ผมคิดอย่างนี้นา ผมก็ว่าผมคิดถูกหล่ะ ความหมายมัน 108-1009 อยู่แล้ว)
โดยส่วนตัว ผมมองเห็นอันตรายจากคำๆนี่มากกว่าประโยชน์นะ
ในระยะยาวมันจะเป็นแค่เครื่องมือของผู้มีอำนาจเท่านั้นเอง
หรือถ้าจะลองหาความหมายจริงๆ ก็คงหาได้ไม่ยากนัก คงไม่ต้องมีใครมาฟันธง
หรือลองเข้าไปอ่านความหมายของ Website มูลนิธิชัยพัฒนาก็ได้Sufficiency Economy is a philosophy that guides the livelihood and behavior of people at all levels, from the family to the community to the country, on matters concerning national development and administration. It calls for a middle way to be observed, especially in pursuing economic development in keeping with the world of globalization. Sufficiency means moderation and reasonableness, including the need to build a reasonable immune system against shocks from the outside or from the inside. Intelligence, attentiveness, and extreme care should be used to ensure that all plans and every step of their implementation are based on knowledge. At the same time we must build up the spiritual foundation of all people in the nation, especially state officials, scholars, and business people at all levels, so they are conscious of moral integrity and honesty and they strive for the appropriate wisdom to live life with forbearance, diligence, self-awareness, intelligence, and attentiveness. In this way we can hope to maintain balance and be ready to cope with rapid physical, social, environmental, and cultural changes from the outside world.
http://www.chaipat.or.th/chaipat/journa ... onomy.html
อันที่จริงแล้ว แนวคิดนี้เป็น "ปรัชญา" ซึ่งนำไปใช้ได้ในหลายๆด้าน
ไม่เพียงเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ ดังนั้นคงไม่ใช่แค่ subset ของทุนนิยม
และมีความเกี่ยวข้องอย่างมากกับศีลธรรม จริยธรรม
ประเด็นที่สำคัญผมกลับมองว่า
ถ้านำปรัชญานี้ไปประยุกต์ใช้จริงๆ จะเกิดประโยชน์จริงหรือไม่
และเป็นทางออกของปัญหาหลายๆอย่างในปัจจุบันหรือไม่
มากกว่าใครมีอำนาจ ใครเป็นคนใช้ หรือคนเข้าใจความหมายมันอย่างไร
"Winners never quit, and quitters never win."
- สามัญชน
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 5162
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 40
มาคาระวะทุกความเห็นครับ เยี่ยมยอดทั้งนั้นเลย........
เว็บเรานี่....เป็นแหล่งชุมนุมมังกรซ่อนพยัฆค์จริงๆ
ผมคุยในวงนอก(นอกเว็บ) ไม่เคยได้ไอเดียมากๆแบบคุยในเว็บนี้เลยครับ.....
คาระวะอีกทีครับ
ความคิดดีๆมาจากการมีเสรีในการคิด
ใครหนอเคยพูดไว้(ผมจำไม่ได้) เขาพูดว่า
" ผมยอมสละชีวิต เพื่อให้คุณมีเสรีภาพที่จะพูด แม้ว่าสิ่งที่คุณพูดจะเป็นการทำร้ายผมก็ตาม "
ถ้าเราสามารถวิจารณ์เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเสรี โดยไม่ต้องกลัวติดคุก ผมว่าจะได้ไอเดียดีๆยิ่งๆขึ้นไปอีก เพราะปัจจุบันมีหลายคนคิดหลายคนแย้งแต่ไม่กล้าแย้งมากเพราะกลัวภัยจะมาถึงตัว
เว็บเรานี่....เป็นแหล่งชุมนุมมังกรซ่อนพยัฆค์จริงๆ
ผมคุยในวงนอก(นอกเว็บ) ไม่เคยได้ไอเดียมากๆแบบคุยในเว็บนี้เลยครับ.....
คาระวะอีกทีครับ
ความคิดดีๆมาจากการมีเสรีในการคิด
ใครหนอเคยพูดไว้(ผมจำไม่ได้) เขาพูดว่า
" ผมยอมสละชีวิต เพื่อให้คุณมีเสรีภาพที่จะพูด แม้ว่าสิ่งที่คุณพูดจะเป็นการทำร้ายผมก็ตาม "
ถ้าเราสามารถวิจารณ์เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเสรี โดยไม่ต้องกลัวติดคุก ผมว่าจะได้ไอเดียดีๆยิ่งๆขึ้นไปอีก เพราะปัจจุบันมีหลายคนคิดหลายคนแย้งแต่ไม่กล้าแย้งมากเพราะกลัวภัยจะมาถึงตัว
ทุกความเห็นย่อมเปลี่ยนไปตามความรู้ การเรียนรู้ย่อมไม่มีจุดสิ้นสุด
- สามัญชน
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 5162
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 43
ผมขอร่วมวิจารณ์ เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยคนครับ แต่แน่นอนว่ามีข้อจำกัดการวิจารณ์อยู่ในระดับที่จะไม่ให้ภัยมาถึงตัวเท่านั้นเอง
หลายๆคนได้ยินคำนี้บ่อยจนมีปฏิกิริยาไปหลายแบบทั้งชอบทั้งไม่ชอบบางคนรุนแรงกว่านี้อีกถึงขั้น......ไปเลย
และเมื่อได้ยินมากๆเข้าก็ตีความไปคนละแบบตามความเข้าใจของตัวเอง และเมื่อไหร่ที่มีคนตีความไปในทางลบก็จะมีคนออกมาบอกว่า คุณไม่เข้าใจเศรษฐกิจพอเพียง แต่ถ้าตีความไปในแง่บวกก็จะ เฉยๆ ไม่โต้แย้งอะไร ทั้งๆที่จะตรงกับความหมายจริงๆหรือไม่ก็ตาม แต่ถ้าเห็นว่าดีก็บอกว่าตรงกับใจฉันละ ฉันไม่ว่าอะไร
คำถาม ทำไมคำๆนี้ ถึงสามารถตีความได้108และ 1009 ได้มากขนาดนี้ จัดได้ว่าเป็นคำประวัติศาสตร์เลยทีเดียวที่มีการตีความได้หลากหลายที่สุด แล้วถ้าต่างคนต่างเข้าใจไปคนละทาง พอถึงตอนปฏิบัติจะไม่ไปกันคนละทิศหรอกหรือ
ขนาดศีลข้อห้า ห้ามดื่มสุราเมรัย ความหมายชัดๆ ชัดแจ่มแจ๋ว คนยังทำไม่ค่อยได้ แล้วที่ความหมายไม่ชัดจะเป็นอย่างไร จะไม่อลเวงกันหรอกหรือ
หลายๆคนได้ยินคำนี้บ่อยจนมีปฏิกิริยาไปหลายแบบทั้งชอบทั้งไม่ชอบบางคนรุนแรงกว่านี้อีกถึงขั้น......ไปเลย
และเมื่อได้ยินมากๆเข้าก็ตีความไปคนละแบบตามความเข้าใจของตัวเอง และเมื่อไหร่ที่มีคนตีความไปในทางลบก็จะมีคนออกมาบอกว่า คุณไม่เข้าใจเศรษฐกิจพอเพียง แต่ถ้าตีความไปในแง่บวกก็จะ เฉยๆ ไม่โต้แย้งอะไร ทั้งๆที่จะตรงกับความหมายจริงๆหรือไม่ก็ตาม แต่ถ้าเห็นว่าดีก็บอกว่าตรงกับใจฉันละ ฉันไม่ว่าอะไร
คำถาม ทำไมคำๆนี้ ถึงสามารถตีความได้108และ 1009 ได้มากขนาดนี้ จัดได้ว่าเป็นคำประวัติศาสตร์เลยทีเดียวที่มีการตีความได้หลากหลายที่สุด แล้วถ้าต่างคนต่างเข้าใจไปคนละทาง พอถึงตอนปฏิบัติจะไม่ไปกันคนละทิศหรอกหรือ
ขนาดศีลข้อห้า ห้ามดื่มสุราเมรัย ความหมายชัดๆ ชัดแจ่มแจ๋ว คนยังทำไม่ค่อยได้ แล้วที่ความหมายไม่ชัดจะเป็นอย่างไร จะไม่อลเวงกันหรอกหรือ
ทุกความเห็นย่อมเปลี่ยนไปตามความรู้ การเรียนรู้ย่อมไม่มีจุดสิ้นสุด
- สามัญชน
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 5162
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 44
ผมคิดว่าปัญหาอยู่ตรง ชื่อ กับ เนื้อหาข้างใน ไม่สอดคล้องกัน
ชื่อนั้นบอกว่า พอเพียง ซึ่งคำๆนี้ในพจนานุกรมไม่มีบอกความหมายไว้นะครับ(พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน 2525) มีแต่คำว่า พอ เฉยๆ ซึ่งบอกไว้ว่า ว.เท่าที่ต้องการ ควรแก่ความต้องการ, เต็ม, เต็มความต้องการ, เหมาะ,เพียงทำได้,ควร,ถูก,ชอบ และถ้าเช็คกับภาษาอังกฤษ ซึ่งใช้คำว่า sufficiency ความหมายก็จะตรงกันเป๊ะกับคำว่า พอ
ปัญหาก็เกิดขึ้นเพราะว่า คนตีความว่า ถ้ามีมากแล้ว มีเต็มแล้ว ควรจะพอได้แล้ว ซึ่งทุกคนก็เห็นด้วยถ้ามีมากจริง และคนที่ตีความแบบนี้ก็ไม่ผิด เพราะเป็นการตีความตามสากลที่ใครๆก็ใช้ในความหมายนี้
แต่ที่จริงคนส่วนใหญ่มีไม่พอ ไม่ใช่แค่มีไม่พอเสริมกิเลสตัณหาราคะแต่เพียงด้านเดียวอย่างที่ชอบโจมตีกัน แต่มีไม่พอตามความต้องการของร่างกายตามธรรมชาติก็เยอะ แล้วจะให้พอเพียงได้อย่างไร แค่ไม่อดมื้อกินมื้อก็เก่งแล้ว เงินเดือนที่ได้ก็ชักหน้าไม่ถึงหลังทุกๆเดือน ขนาดประหยัดสุดๆ
แต่ถ้าดูในเนื้อหาซึ่งมีมากมายนั้น ผมสรุปได้ว่าเนื้อหาน่าจะเหมาะกับคำว่า พอเหมาะ มากกว่า ซึ่งคำๆนี้มีในพจนานุกรม แปลว่า ก.เหมาะเจาะ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า optimum ที่แปลว่า ที่ได้ผลดีที่สุด
และที่สำคัญจะมีความหมายตรงกับคำว่า มัชฌิมาปฏิปทาในภาษาบาลีที่แปลว่า ทางสายกลาง (แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงกลางเป๊ะๆ แต่หมายถึงจุดที่เหมาะสมที่สุด ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป)
ซึ่งถ้ายึดตามความหมายนี้ ผมจะเห็นด้วยทันที........
ชื่อนั้นบอกว่า พอเพียง ซึ่งคำๆนี้ในพจนานุกรมไม่มีบอกความหมายไว้นะครับ(พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน 2525) มีแต่คำว่า พอ เฉยๆ ซึ่งบอกไว้ว่า ว.เท่าที่ต้องการ ควรแก่ความต้องการ, เต็ม, เต็มความต้องการ, เหมาะ,เพียงทำได้,ควร,ถูก,ชอบ และถ้าเช็คกับภาษาอังกฤษ ซึ่งใช้คำว่า sufficiency ความหมายก็จะตรงกันเป๊ะกับคำว่า พอ
ปัญหาก็เกิดขึ้นเพราะว่า คนตีความว่า ถ้ามีมากแล้ว มีเต็มแล้ว ควรจะพอได้แล้ว ซึ่งทุกคนก็เห็นด้วยถ้ามีมากจริง และคนที่ตีความแบบนี้ก็ไม่ผิด เพราะเป็นการตีความตามสากลที่ใครๆก็ใช้ในความหมายนี้
แต่ที่จริงคนส่วนใหญ่มีไม่พอ ไม่ใช่แค่มีไม่พอเสริมกิเลสตัณหาราคะแต่เพียงด้านเดียวอย่างที่ชอบโจมตีกัน แต่มีไม่พอตามความต้องการของร่างกายตามธรรมชาติก็เยอะ แล้วจะให้พอเพียงได้อย่างไร แค่ไม่อดมื้อกินมื้อก็เก่งแล้ว เงินเดือนที่ได้ก็ชักหน้าไม่ถึงหลังทุกๆเดือน ขนาดประหยัดสุดๆ
แต่ถ้าดูในเนื้อหาซึ่งมีมากมายนั้น ผมสรุปได้ว่าเนื้อหาน่าจะเหมาะกับคำว่า พอเหมาะ มากกว่า ซึ่งคำๆนี้มีในพจนานุกรม แปลว่า ก.เหมาะเจาะ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า optimum ที่แปลว่า ที่ได้ผลดีที่สุด
และที่สำคัญจะมีความหมายตรงกับคำว่า มัชฌิมาปฏิปทาในภาษาบาลีที่แปลว่า ทางสายกลาง (แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงกลางเป๊ะๆ แต่หมายถึงจุดที่เหมาะสมที่สุด ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป)
ซึ่งถ้ายึดตามความหมายนี้ ผมจะเห็นด้วยทันที........
ทุกความเห็นย่อมเปลี่ยนไปตามความรู้ การเรียนรู้ย่อมไม่มีจุดสิ้นสุด
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 46
ผมว่าสำหรับท่านที่ศึกษาและมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา รวมทั้งเป็น VI ผมแน่ใจว่าจะเข้าใจปรัชญา
หรือความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงได้แทบจะทันที เพราะจริงๆแล้วล้วนมีความเกี่ยวข้องกันทั้งสิ้น
VI มักจะลงทุนในบริษัทที่ตัวเองรู้และเข้าใจ ไม่ได้ให้ความสำคัญกับภาวะตลาดมากนัก
และมักจะซื้อหุ้นที่คุ้มค่า(PE ต่ำ) มี Margin of safety มีความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน
และศึกษาพัฒนาความรู้ในบริษัทที่ลงทุนอยู่เสมอ
และเชื่อว่าในระยะยาวแล้วราคาจะเป็นไปในแนวทางเดียวกับกำไรเสมอ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอนให้เราประยุกต์ความพอเหมาะพอดีและมีเหตุผลในชีวิตประจำวัน
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการใช้จ่าย การใช้ชีวิต พัฒนาภูมิคุ้มกันจากความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน
เป็นต้นว่าเพิ่งทำงานได้ใหม่ๆ ก็อยากได้มือถือรุ่นใหม่ล่าสุด แล้วก็ไปก่อหนี้บัตรเครดิต
ต้องผ่อนเสียดอกเบี้ยสูงๆ แบบนี้เรียกว่าไม่ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับชีวิตประจำวัน
พุทธศาสนาสอนให้เดินทางสายกลาง ไม่สุดโต่ง หรือไม่ย่อหย่อน สอนให้เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทรงวางทางเดินแห่งความหลุดพ้นหรือ มรรคมีองค์ 8
หรือพูดอย่างย่อก็คือหลักไตรสิกขา หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา
และหลักธรรมใดที่มีศรัทธาจะต้องมีปัญญาเข้ามาในองค์ธรรมนั้นด้วยเสมอ ไม่เช่นนั้นก็อาจจะกลายเป็นความเชื่ออย่างงมงาย
จะเห็นได้ว่าทั้ง ปรัชญาด้านการลงทุน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพุทธปรัชญา
3 สิ่งนี้ สอดคล้องประสานเข้ากันได้เป็นอย่างดี สำหรับผมแล้ว ผมไม่มีความสงสัยใดๆเลยว่า
หากคนหมู่มากในสังคมใดก็ตามสามารถนำไปปฏิบัติจนกลายเป็น รากฐานของสังคมแล้วนั้น
ความเจริญอย่างยั่งยืนจะเกิดขึ้นกับสังคมนั้นอย่างแน่นอน
ส่วนที่พี่หมอตั้งประเด็นก็มีเหตุผล
แต่จะเรียกอย่างไรคงไม่มีนัยสำคัญ สำหรับผมมากนัก
จะเป็น "พอเพียง" ก็ดี "พอดี" ก็ดี หรือ "พอเหมาะ" ก็ดี
หากสามารถสื่อถึงสิ่งเดียวกัน ก็เป็นอันว่าใช้ได้แล้วครับ
หรือความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงได้แทบจะทันที เพราะจริงๆแล้วล้วนมีความเกี่ยวข้องกันทั้งสิ้น
VI มักจะลงทุนในบริษัทที่ตัวเองรู้และเข้าใจ ไม่ได้ให้ความสำคัญกับภาวะตลาดมากนัก
และมักจะซื้อหุ้นที่คุ้มค่า(PE ต่ำ) มี Margin of safety มีความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน
และศึกษาพัฒนาความรู้ในบริษัทที่ลงทุนอยู่เสมอ
และเชื่อว่าในระยะยาวแล้วราคาจะเป็นไปในแนวทางเดียวกับกำไรเสมอ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอนให้เราประยุกต์ความพอเหมาะพอดีและมีเหตุผลในชีวิตประจำวัน
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการใช้จ่าย การใช้ชีวิต พัฒนาภูมิคุ้มกันจากความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน
เป็นต้นว่าเพิ่งทำงานได้ใหม่ๆ ก็อยากได้มือถือรุ่นใหม่ล่าสุด แล้วก็ไปก่อหนี้บัตรเครดิต
ต้องผ่อนเสียดอกเบี้ยสูงๆ แบบนี้เรียกว่าไม่ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับชีวิตประจำวัน
พุทธศาสนาสอนให้เดินทางสายกลาง ไม่สุดโต่ง หรือไม่ย่อหย่อน สอนให้เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทรงวางทางเดินแห่งความหลุดพ้นหรือ มรรคมีองค์ 8
หรือพูดอย่างย่อก็คือหลักไตรสิกขา หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา
และหลักธรรมใดที่มีศรัทธาจะต้องมีปัญญาเข้ามาในองค์ธรรมนั้นด้วยเสมอ ไม่เช่นนั้นก็อาจจะกลายเป็นความเชื่ออย่างงมงาย
จะเห็นได้ว่าทั้ง ปรัชญาด้านการลงทุน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพุทธปรัชญา
3 สิ่งนี้ สอดคล้องประสานเข้ากันได้เป็นอย่างดี สำหรับผมแล้ว ผมไม่มีความสงสัยใดๆเลยว่า
หากคนหมู่มากในสังคมใดก็ตามสามารถนำไปปฏิบัติจนกลายเป็น รากฐานของสังคมแล้วนั้น
ความเจริญอย่างยั่งยืนจะเกิดขึ้นกับสังคมนั้นอย่างแน่นอน
ส่วนที่พี่หมอตั้งประเด็นก็มีเหตุผล
แต่จะเรียกอย่างไรคงไม่มีนัยสำคัญ สำหรับผมมากนัก
จะเป็น "พอเพียง" ก็ดี "พอดี" ก็ดี หรือ "พอเหมาะ" ก็ดี
หากสามารถสื่อถึงสิ่งเดียวกัน ก็เป็นอันว่าใช้ได้แล้วครับ
"Winners never quit, and quitters never win."
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 47
และท่านที่เข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียง จะทำให้ประเทศถอยหลังลงคลอง
ประชาชนต้องกลับไปทำไร่ ไถนา นั่นก็ความเข้าใจที่ผิดพลาดไม่น้อยเลยครับ
อันที่จริงแล้วมันเป็น trend ของการพัฒนาในระดับโลกด้วยซ้ำ
Sufficiency Economy
In relation to modern thoughts in Development Economics
This journey to find a more balanced development strategy is not an attempt to abandon economic theory and principles contained in the body of knowledge known as Development Economics. On the contrary, we should look at the latest situation in the field of development economics. In May 1999, the World Bank and the University of Zagreb held an international symposium on the The Future of Development Economics in Dobrovnik out of which a book edited by Professor Gerald Meier and Professor Joseph Stiglitz with the title Frontiers of Development Economics-the Future in Perspective was published in 2001. Many leading development economists and Nobel laureates contributed to this publication.
Dr. Chirayu Israngkun Na Ayuthaya
Chairman
NIDA Council
Going through this publication, it would appear that the development strategy based on the Sufficiency Economy Philosophy together with a strong emphasis on sustainable agriculture is not only consistent but should add substance and depth to the current trends of thoughts on development economics as appeared in the above-mentioned publication.
For instance, Professor Irma Adelman, rejecting the solution of a single factor development model, strongly recommended that Development should be analyzed as a highly multi-faceted, non-linear, path dependent, dynamic process involving systematically shifting interaction pattern that require changes in policies and institutions over time.
Applying these thoughts to the relatively remote rural areas of Thailand, the development process starts by building upon satisfying the basic needs of the farmers and their households. As a stronger foundation is created with dynamic changes occurring in knowledge accumulation, cooperative experience, infrastructural improvement as well as technological advancement, the farmers or the group of farmers can expand more of their production toward the appropriate markets thereby improving their standard of living with less risks and vulnerability.
http://www.training.nida.ac.th/hightlig ... ?file=suff
ประชาชนต้องกลับไปทำไร่ ไถนา นั่นก็ความเข้าใจที่ผิดพลาดไม่น้อยเลยครับ
อันที่จริงแล้วมันเป็น trend ของการพัฒนาในระดับโลกด้วยซ้ำ
Sufficiency Economy
In relation to modern thoughts in Development Economics
This journey to find a more balanced development strategy is not an attempt to abandon economic theory and principles contained in the body of knowledge known as Development Economics. On the contrary, we should look at the latest situation in the field of development economics. In May 1999, the World Bank and the University of Zagreb held an international symposium on the The Future of Development Economics in Dobrovnik out of which a book edited by Professor Gerald Meier and Professor Joseph Stiglitz with the title Frontiers of Development Economics-the Future in Perspective was published in 2001. Many leading development economists and Nobel laureates contributed to this publication.
Dr. Chirayu Israngkun Na Ayuthaya
Chairman
NIDA Council
Going through this publication, it would appear that the development strategy based on the Sufficiency Economy Philosophy together with a strong emphasis on sustainable agriculture is not only consistent but should add substance and depth to the current trends of thoughts on development economics as appeared in the above-mentioned publication.
For instance, Professor Irma Adelman, rejecting the solution of a single factor development model, strongly recommended that Development should be analyzed as a highly multi-faceted, non-linear, path dependent, dynamic process involving systematically shifting interaction pattern that require changes in policies and institutions over time.
Applying these thoughts to the relatively remote rural areas of Thailand, the development process starts by building upon satisfying the basic needs of the farmers and their households. As a stronger foundation is created with dynamic changes occurring in knowledge accumulation, cooperative experience, infrastructural improvement as well as technological advancement, the farmers or the group of farmers can expand more of their production toward the appropriate markets thereby improving their standard of living with less risks and vulnerability.
http://www.training.nida.ac.th/hightlig ... ?file=suff
"Winners never quit, and quitters never win."
-
- Verified User
- โพสต์: 113
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 48
[quote="สามัญชน"]
และที่สำคัญจะมีความหมายตรงกับคำว่า มัชฌิมาปฏิปทาในภาษาบาลีที่แปลว่า ทางสายกลาง (แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงกลางเป๊ะๆ
และที่สำคัญจะมีความหมายตรงกับคำว่า มัชฌิมาปฏิปทาในภาษาบาลีที่แปลว่า ทางสายกลาง (แต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงกลางเป๊ะๆ
"Practice Makes Perfect"
...Toyota F1 Team...
...Toyota F1 Team...
-
- Verified User
- โพสต์: 113
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 49
แต่ในบทความบอกว่ามีหนี้เสียแค่ 2% เองนะครับwoody เขียน:
เรื่องของกรามีนแบงค์ (กรามีน = หมู่บ้านในภาษีบังกลาเทศ) เป็นเรื่องที่น่าส่งเสริมครับ อย่างไรก็ตามสิ่งหนึ่งที่กรามีนแบงค์ยังคงเป็นที่สงสัยกันอยู่ก็เนื่องจากระบบในการคิดหนี้เสียครับ ซึ่งยังไม่เข้มงวดกว่าธนาคารแห่งอื่นๆ ในบังกลาเทศ
(มีอัตราการชำระหนี้ 98%)
"Practice Makes Perfect"
...Toyota F1 Team...
...Toyota F1 Team...
-
- Verified User
- โพสต์: 697
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 50
ถ้าเป็น trend ที่เขาทำกัน บอกมาเลย ครับ ประเทศไหนบ้างและท่านที่เข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียง จะทำให้ประเทศถอยหลังลงคลอง
ประชาชนต้องกลับไปทำไร่ ไถนา นั่นก็ความเข้าใจที่ผิดพลาดไม่น้อยเลยครับ
อันที่จริงแล้วมันเป็น trend ของการพัฒนาในระดับโลกด้วยซ้ำ
ที่ทำแล้ว ประสบความสำเร็จแล้ว
แต่ก่อนบอก ช่วยมาเปรียบเทียบกับประเทศไทยในขณะนี้ ที่กำลังดำเนินเศษรฐกิจพอเพียง ต่างจากประเทศที่คุณบอกหรือเปล่า (ผมมั่นใจผมแย้งคุณได้ทุกประเทศ ถ้าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หุ หุ) :D
โดยทฤษฎี เศษรฐกิจพอเพียง ผมเห็นด้วยเต็มที่ครับ และสนับสนุนให้รัฐทำความเข้าใจแก่ประชน
แม้แต่ ทางทฤษฎี คอมมิวนิส ผมก็เห็นด้วยเต็มร้อย แต่ปฎิบัติ ได้ผลหรือเปล่ามันคนล่ะเรื่องกัน :lol:
-
- Verified User
- โพสต์: 3763
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 52
If a borrower fails to repay the basic loan and is unwilling to go into the flexi-loan, she becomes a willing defaulter. If a borrower takes the flexi-loan option and tries again and again to repay the money, but still does not succeed, she becomes an unwilling defaulter. Any amount of flexi-loan which does not get paid back within two years it becomes overdue, and 100 per cent provision is made for that amount. Amount that does not get paid back in three years, becomes bad debt, and is written off entirely....http://www.grameen-info.org/bank/bank2.htmlThonburi Funds เขียน: แต่ในบทความบอกว่ามีหนี้เสียแค่ 2% เองนะครับ
(มีอัตราการชำระหนี้ 98%)
ปล. ไม่ได้ไม่เห็นด้วยนะครับกลับความคิดของ Microfinance แต่แค่ให้ต้องระวังเรื่อง bad debt ไว้บ้างเพราะเคยได้อ่านมาว่าการตั้งสำรองหนี้เสียที่นี่ยังไม่ค่อยจะเข้มงวดเหมือนแบงค์อื่นๆ
Impossible is Nothing
- jody4003
- Verified User
- โพสต์: 372
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 53
อันนี้ถ้าทำให้เคืองก็ขออภัยครับ
ทุนนิยม เหมาะกับจริตมนุษย์แท้ๆมากกว่าเพราะหยาบกว่า เพราะถูกขับเคลื่อนด้วยกิเลสและความโลภอย่างแท้จริง การคำนึงถึงต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมเพื่อ sustainability ของมนุษยชาติ ต่ำมาก หรือ ไม่มีเลย
พอเพียง แม้ไม่ได้ถูกอธิบายต่อในเชิงลึกกว่านั้น แต่ผมเชื่อว่า ผู้ดำริเริ่มใด้มองการไกลใว้อยู่แล้วว่าจะถูกนำมาเกื้อหนุนการต่อยอดในการ "เติมเต็ม" มิติการเป็นมนุษย์ที่ประเสริฐ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า
พอเพียง จะทำให้มนุษย์ ผู้"เข้าใจ" และ"ปฏิบัติตาม" ดำรงตนอยู่ในทางสายกลาง ไม่โลภ ไม่แก่งแย่งชิงดีแต่ไม่เฉื่อยชา และในแง่ส่วนรวม "จะไม่เกิดวิกฤติเศรฐกิจ,การเมืองและสังคมที่รุนแรง" จะเกิดก็คงเป็นเพียง recession อ่อนๆ และ ปรับตัวเป็นขาขึ้นอย่างช้าๆและมั่นคงต่อไป เปรียบใด้ดั่งหุ้น WG
โดยสรุป พอเพียงนั้น ละเอียดอ่อนและครอบคลุมในเชิงความเป็นมนุษย์กว่ามากครับ
ทุนนิยม เหมาะกับจริตมนุษย์แท้ๆมากกว่าเพราะหยาบกว่า เพราะถูกขับเคลื่อนด้วยกิเลสและความโลภอย่างแท้จริง การคำนึงถึงต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมเพื่อ sustainability ของมนุษยชาติ ต่ำมาก หรือ ไม่มีเลย
พอเพียง แม้ไม่ได้ถูกอธิบายต่อในเชิงลึกกว่านั้น แต่ผมเชื่อว่า ผู้ดำริเริ่มใด้มองการไกลใว้อยู่แล้วว่าจะถูกนำมาเกื้อหนุนการต่อยอดในการ "เติมเต็ม" มิติการเป็นมนุษย์ที่ประเสริฐ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า
พอเพียง จะทำให้มนุษย์ ผู้"เข้าใจ" และ"ปฏิบัติตาม" ดำรงตนอยู่ในทางสายกลาง ไม่โลภ ไม่แก่งแย่งชิงดีแต่ไม่เฉื่อยชา และในแง่ส่วนรวม "จะไม่เกิดวิกฤติเศรฐกิจ,การเมืองและสังคมที่รุนแรง" จะเกิดก็คงเป็นเพียง recession อ่อนๆ และ ปรับตัวเป็นขาขึ้นอย่างช้าๆและมั่นคงต่อไป เปรียบใด้ดั่งหุ้น WG
โดยสรุป พอเพียงนั้น ละเอียดอ่อนและครอบคลุมในเชิงความเป็นมนุษย์กว่ามากครับ
- jody4003
- Verified User
- โพสต์: 372
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 54
ลองเอาตัวอย่างทุนนิยมจ๋าของโลกมาดูก็ได้ครับ USA
ผลของการเป็นทุนนิยม
เศรรษฐกิจที่เฟื่องฟู
วิวัฒนาการที่ก้าวไกล
การใช้ชีวิตที่สะดวกสะบายในแง่วัตถุ
แต่
ตอนนี้ ไม่ใช่ วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่กำลังจะมาหรือครับ ที่สหรัฐกำลังเผชิญอยู่
เงินทองที่ถูกใช้ไปในการสงคราม และ ทรัพยากรธรรมชาติ
ประชาชนที่หวาดระแวงกับความปลอดภัย
และ สงครามโลกครับ
หากทุนนิยมเบ่งบานไปเรื่อยๆแบบทุกวันนี้ การที่โลกใบนี้จะไม่ใช่โลกที่มนุษย์อาศัยอยู่ได้จะไม่ใช่นิยายวิทยาศาสตร์แล้วครับ
แต่ก็เป็น เรื่องตลกอีกนั่นแหล่ะ ที่สิ่งที่จะช่วยไม่ให้มนุษยชาติต้องสูญพันธุ์ไป ก็คงจะต้องเป็นวิทยาการที่เบ่งบานจากทุนนิยมนั่นแล
ผลของการเป็นทุนนิยม
เศรรษฐกิจที่เฟื่องฟู
วิวัฒนาการที่ก้าวไกล
การใช้ชีวิตที่สะดวกสะบายในแง่วัตถุ
แต่
ตอนนี้ ไม่ใช่ วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่กำลังจะมาหรือครับ ที่สหรัฐกำลังเผชิญอยู่
เงินทองที่ถูกใช้ไปในการสงคราม และ ทรัพยากรธรรมชาติ
ประชาชนที่หวาดระแวงกับความปลอดภัย
และ สงครามโลกครับ
หากทุนนิยมเบ่งบานไปเรื่อยๆแบบทุกวันนี้ การที่โลกใบนี้จะไม่ใช่โลกที่มนุษย์อาศัยอยู่ได้จะไม่ใช่นิยายวิทยาศาสตร์แล้วครับ
แต่ก็เป็น เรื่องตลกอีกนั่นแหล่ะ ที่สิ่งที่จะช่วยไม่ให้มนุษยชาติต้องสูญพันธุ์ไป ก็คงจะต้องเป็นวิทยาการที่เบ่งบานจากทุนนิยมนั่นแล
-
- Verified User
- โพสต์: 697
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 55
พอพูดคำว่า พอเพียง ภาพ อนุรักษ์นิยม ฟุ้งเต็มไปหมด เลยครับ :lol:
ผมถึงบอกไงครับ ทฤษฎีกับปฎิบัติทำได้สอดคล้องกันหรือเปล่า
เศษรฐกิจสังคมนิยม คอมมิวนิส ดีจะตาย ทุกคนเท่าเทียมกัน มีเงินเดือนเท่ากัน ฐานะทางสังคมเท่าเทียมกัน อะไรก็เท่าเทียมกันหมด ดีออก แล้วทำได้ในทางปฎิบัติหรือเปล่าครับ อยู่ไม่ถึงร้อยปี ก็ล่มสลายไปจะหมดแล้ว
ที่ระบบนี้ล้มไป ก็ไม่ใช่เพราะแรงขับ ความทะเยอทยาน กิเลสในตัวมนุษย์หรือครับ?? :lol:
ทฤษฎีเศษรฐกิจพอเพียง ผมเห็นด้วยเต็มที่ครับ
การที่มนุษย์ถูกกดถูกบีบ ซักวันหนึ่ง ก็ต้องถูกแรงขับออกมาครับ
ผมถึงบอกไงครับ ทฤษฎีกับปฎิบัติทำได้สอดคล้องกันหรือเปล่า
เศษรฐกิจสังคมนิยม คอมมิวนิส ดีจะตาย ทุกคนเท่าเทียมกัน มีเงินเดือนเท่ากัน ฐานะทางสังคมเท่าเทียมกัน อะไรก็เท่าเทียมกันหมด ดีออก แล้วทำได้ในทางปฎิบัติหรือเปล่าครับ อยู่ไม่ถึงร้อยปี ก็ล่มสลายไปจะหมดแล้ว
ที่ระบบนี้ล้มไป ก็ไม่ใช่เพราะแรงขับ ความทะเยอทยาน กิเลสในตัวมนุษย์หรือครับ?? :lol:
ทฤษฎีเศษรฐกิจพอเพียง ผมเห็นด้วยเต็มที่ครับ
การที่มนุษย์ถูกกดถูกบีบ ซักวันหนึ่ง ก็ต้องถูกแรงขับออกมาครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 113
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 57
ขอบคุณ คุณ woody สำหรับข้อมูลครับwoody เขียน: If a borrower fails to repay the basic loan and is unwilling to go into the flexi-loan, she becomes a willing defaulter. If a borrower takes the flexi-loan option and tries again and again to repay the money, but still does not succeed, she becomes an unwilling defaulter. Any amount of flexi-loan which does not get paid back within two years it becomes overdue, and 100 per cent provision is made for that amount. Amount that does not get paid back in three years, becomes bad debt, and is written off entirely....http://www.grameen-info.org/bank/bank2.html
ปล. ไม่ได้ไม่เห็นด้วยนะครับกลับความคิดของ Microfinance แต่แค่ให้ต้องระวังเรื่อง bad debt ไว้บ้างเพราะเคยได้อ่านมาว่าการตั้งสำรองหนี้เสียที่นี่ยังไม่ค่อยจะเข้มงวดเหมือนแบงค์อื่นๆ
ถ้าเป็นอย่างนี้ แนวคิดใหม่เรื่อง Social Business Enterprise ที่กำลังนำไปปฏิบัติ
คงต้องใช้ความระมัดระวังและรอบคอบอย่างมากเลยนะครับ
เพราะถ้ามีหนี้เสียมาก มันก็จะไม่ต่างอะไรกับระบบธนาคารในปัจจุบัน
ทุกอย่างจะเป็นโดมิโน
เนื่องจากโรงงานโยเกิร์ตดังกล่าว จะมี suplpiers ที่กู้เงินจากกรามีนแบงค์
เพื่อลงทุนเลี้ยงวัวนม แล้วจัดส่งนมไปให้โรงงานโยเกิร์ต
โรงงานเมื่อผลิตเสร็จ ก็จะจัดจำหน่ายผ่าน ตัวแทนจำหน่าย
ซึ่งก็กู้เงินจากกรามีนแบงค์อีกเช่นกัน
ผู้บริโภค หลักๆ ก็คือสมาชิกของกรามีนแบงค์ ประมาณ 6.6 ล้านคนทั่วบังคลาเทศ
แต่อย่างไรก็ดี
ด้วยประวัติการดำเนินงานที่ยาวนานกว่า 3 ทศวรรษ
ผมเชื่อว่า กรามีนแบงค์ น่าที่จะจัดการกับหนี้เสียได้ค่อนข้างดีครับ
คงต้องเอาใจช่วยให้ประสบความสำเร็จ
เห็นว่า ถ้านำไปใช้ได้จริง Unicef จะนำไปเป็นแบบอย่างให้กับประเทศอื่นๆ ด้วยครับ
นอกจากนี้ Franck Riboud ของ CEO ของ DANONE เองก็ดูจะมั่นใจในระบบนี้ โดยกล่าวว่า
"เพราะมันไม่ใช่การกุศล แต่เป็นธุรกิจ ซึ่งพอเป็นธุรกิจ มันก็จะยั่งยืน และผู้ถือหุ้นจะมีความสุข"
"Practice Makes Perfect"
...Toyota F1 Team...
...Toyota F1 Team...
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 58
ถ้าเป็น trend ที่เขาทำกัน บอกมาเลย ครับ ประเทศไหนบ้างlekmak333 เขียน:
ที่ทำแล้ว ประสบความสำเร็จแล้ว
แต่ก่อนบอก ช่วยมาเปรียบเทียบกับประเทศไทยในขณะนี้ ที่กำลังดำเนินเศษรฐกิจพอเพียง ต่างจากประเทศที่คุณบอกหรือเปล่า (ผมมั่นใจผมแย้งคุณได้ทุกประเทศ ถ้าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หุ หุ)
"Winners never quit, and quitters never win."
-
- Verified User
- โพสต์: 697
- ผู้ติดตาม: 0
พลังที่มองไม่เห็น
โพสต์ที่ 59
ชอบก็เพราะทฤษฎีเหล่านี้มันมี หลัก เหตุและผลในตัวมันเองครับ :Dคุณชอบทุนนิยมที่สุด เพราะมันตอบสนองความต้องการ ความทะเยอทะยาน และกิเลสของมนุษย์ได้ดี
คุณเห็นด้วยเต็มที่กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แล้วยังเห็นด้วยเต็มร้อยกับคอมมิวนิสต์
แต่ที่จริงแล้วทั้ง 3 อย่างมันไม่ได้สอดคล้องกันซะทีเดียว
ผมเลยไม่เข้าใจว่าคุณจะเห็นด้วยกับทั้ง 3 สิ่งที่มันมีความขัดแย้งในตัวมันเองได้อย่างไร
ผมไม่เห็นด้วยกับคอมมิวนิสต์ในหลายด้านเช่น
ผมไม่เห็นด้วยในแง่ คนทำ 10 ทำไมได้แค่ 1
ในเมื่อคนอื่นทำ 1 ก็ได้ 1 เท่ากัน
คงคล้ายๆกับ ที่ว่า ศาสนาทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี กระมั้ง
อย่างทำ 10 ได้ 1 ในสังคมนิยม ตัวนิยามก็บอกให้ประชาชนมุ่งไปที่การพัฒนาชาติ ทฤษฎีมันบอกอย่างชัดเจน กิเลสในตัวเราต่างหากที่บอกว่าทำแล้วเสียเปรียบน่ะ โดยลืมไปว่าเขามุ่งเน้นไปที่การพัฒนาชาติ คนไม่ปฎิบัติตามเองต่างหาก เพราะมนุษย์ไม่ได้ไร้จิตใจ มีแรงขับ มีอารมณ์ มีกิเลส :lol: :lol: :lol:
ผมถึงบอกไงครับ ทำจริงมันได้หรือเปล่า
เอาเข้าจริงๆ เราจะต้านกระแสกิเลส แรงขับ ความทะเยอทยาน ได้ซักแค่ไหน
ผมชอบทุนนิยมมากกว่าระบบอื่น ตรงที่มันสามารถ ปฎิบัติเห็นได้จริง
ให้เสรีภาพ ทำให้เศษรฐกิจเติบโต แต่ผมก็ยอมรับน่ะ ว่ามีช่องโหว่ แบบที่ข้างบนเขาเขียน
เรื่องเศษรฐกิจพอเพียง เป็นแนวพระราชดำริ ผมเลยต้องจำกัดการวิจารณ์ไว้อย่างมีขอบเขต เลยต้องขอเปรียบเทียบกับระบบอื่นให้เห็น