AGM 2563
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
AGM 2563
โพสต์ที่ 1
เดือนมกราคม เริ่มมีบริษัทจดทะเบียนที่ปิดปีที่เดือน กันยายน หลายบริษัท ช่วงสัปดาห์นี้
ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายในการจัดประชุม ดังนั้นขอเปิดห้องไว้สำหรับ เพื่อนสมาชิก
ที่ไปประชุมมาและเอื้อเฟื้อเนื้อหาในการประชุมให้กับสมาชิกที่ไม่สามารถไปได้ครับ
วันนี้ไปประชุม TFFIFไว้จะมาสรุปเนื้อหาที่น่าสนใจมาให้นะครับ
ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายในการจัดประชุม ดังนั้นขอเปิดห้องไว้สำหรับ เพื่อนสมาชิก
ที่ไปประชุมมาและเอื้อเฟื้อเนื้อหาในการประชุมให้กับสมาชิกที่ไม่สามารถไปได้ครับ
วันนี้ไปประชุม TFFIFไว้จะมาสรุปเนื้อหาที่น่าสนใจมาให้นะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 2
AGM TFFIF 27 January 2020 14.00 at Bitech Bangna
วันนี้มีผู้เข้าประชุมทั้งหมด 1,040 ราย แบ่งเป็นมาด้วยตนเอง 475 ราย และ มอบฉันทะมา 565 ราย
คิดเป็นจำนวนหุ้น 44.5809% สามารถเปิดประชุมได้ เพราะมากกว่า 33.3%
ก่อนอื่นทาง บลจ กรุงไทย และ MFC ได้สรุปข้อมูลของกองทุนให้ผู้มาประชุมรับทราบดังนี้
TFFIF ลงทุนในสิทธิรายได้ 45% ของรายได้สุทธิทั้งสองเส้นทาง ประกอบไปด้วย
1.ทางด่วนเฉลิมรัช ดึงคนตอนเหนือเข้ากรุงเทพ ระยะทาง 28 KM
2.ทางพิเศษบูรพาวิถึ คนจากกรุงเทพไปตะวันออก ระยะทาง 55 KM
กองทุนทำสัญญากับการทางพิเศษไว้เป็นระยะ 30 ปี
ทรัพย์สิน ณ วันที่ 30 กย 62 เท่ากับ 54,339 ลบ คิดเป็น NAV 11.88 บาท
วาระที่1 รับทราบการจัดการกองทุนรวมในเรื่องที่สำคัญและในอนาคต
การทางพิเศษ เป็นผู้บริหาร ทั้งสองเส้นทาง และ ควบคุมการจัดเก็บค่าผ่านทาง
โดยมีการบำรุงรักษา ตั้งแต่เวลา 22.00- 04.00 น และ เปิดช่องทาง1เลนสำหรับรถวิ่งในช่วงเวลานี้
Q1:ทรัพย์สินในอนาคต มีด้านใด และคาดว่าจะเพิ่มกองเมื่อไหร่
A1:ทางบลจตอบว่า ต้องดูความเหมาะสมของแต่ละทรัพย์สิน
และ จะมีการเปิดเผยข้อมูลให้มากขึ้น ส่วนการการลงทุนขยายเส้นทางเป็นหน้าที่ของการทางพิเศษ
Q2: ตัวเลขรถยนต์ทั้งสองเส้นทาง เติบโตทั้งคู่ ตัวเลขที่เป็น capacity เต็มทั้งสองสาย หรือ ยังมีนโยบายเพิ่มอย่างไร
Q3: มีแนวโน้มจะนำทางด่วนเส้นอื่นเข้ามาอีกไหม เช่น เส้นที่BEMได้ เข้ามาด้วยไหม
A2: เส้นฉลองรัช รับได้ 350,000 คันต่อวัน ปัจจุบัน มีรถ 241,000 คันต่อวัน ยังมีเหลืออีก
เส้นบูรพาวิถี รับได้ 360,000 คันต่อวัน ปัจจุบัน มีรถ 161,000 คันต่อวัน ยังมีเหลืออีก
แต่ทำไมgrowthลดลง ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้งานเป็นหลัก อาจมีขึ้นหรือลงได้
A3: การแบ่งรายได้จากเส้นทางร่วมกับเอกชนทำได้ยาก
การเพิ่มรายได้มาจาก การทางมีproject ฉลองรัช นครนายก - สระบุรี จะเสร็จใน 2569
ทำให้ปริมาณจราจรเพิ่มขึ้น ส่วนอีกเส้นทาง ใช้งบปี63 เสร็จกลางปี 2567
Q4: ถามในงบที่เกิดขึ้นจริง กับ ที่คาดประมาณ ตอน IPO ใกล้เคียงหรือต่างกันมาก อย่างไร
A4: ปริมาณ Traffic ตอนออกกอง Traffic ฉลองรัช เพิ่มขึ้น 20,000 คัน เป็น 240,000 คันต่อวัน
ส่วนเส้นบูรพาวิถี เมื่อก่อน 150,000 คัน เป็น 160,000 คัน จะเห็นว่าเพิ่มขึ้น 10%
แต่รายได้ประมาณการเข้ากอง และ จ่ายคืนผู้ถือหน่วย ซึ่งหายไป 72 ลบ
Q5: มีข่าวจะเอาเส้นทางสาย7 , 9 เอามาเพิ่มใน TFFIF ใช่ไหม
A5: ทรัพย์สินบางโครงการเกิดปัญหาทางกฏหมาย
ทางหลวงมีกระบวนการแก้กม ผ่านทางหลายสภา
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินการ
รายได้จากการลงทุน 99.42% รายได้ดอกเบี้ยรับ 0.58% และ ค่าใช้จ่าย 17.23%
รายได้สุทธิ 82.77%
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 31 ลบ เป็นค่าเบี้ยประกันกองทุน20 ลบ ซึ่งแบ่งออกเป็นสองอย่าง
คือ 1.ประกัน All risk เป็นเงินที่เอาไปซ่อมแซม
2. ประกันภัยธุรกิจชะงัก เป็นเงินที่ตีเป็นรายได้ 24 เดือน ถ้าโครงการหยุดไป
อีกส่วน เป็นค่าธรรมเนียมสำหรับจ่ายเงินปันผลผ่านธนาคาร
วาระที่ 3 รับทราบงบการเงิน
Q6: ผลตอบแทนเงินฝากธนาคาร 59 ลบ คิดเป็นเท่าไหร่
A6: เราเอาส่วนนี้กันเป็นสภาพคล่อง เราจะไปลง Government Bond อายุ 3 เดือนขึ้นไป
ผลตอบแทนที่ได้ ประมาณ 0.4-0.75%
Q7: อธิบาย รายได้ 1,700 ลบ ทำไมปันผล4ครั้งคิดเป็น 1794 ลบ ในงบ
A7: กำไร 1,700 ลบ ไปดูแต่เงินปันผลที่เกินนั้น มาจากรายได้ดอกเบี้ย จากที่ไปลงทุนในสินทรัพย์สภาพคล่อง
Q8: ค่าใช้จ่ายที่รอตัดจำหน่าย และ รายการที่รอตัดบัญชี
A8: อธิบายตามงบ รายได้ส่วนนึงหักค่าใช้จ่าย เราจ่าย 271 ลบ กำไรสุทธิจะน้อยกว่าปกติ
วาระที่ 4 นโยบายจ่ายปันผล มากกว่าหรือเท่ากับ 90% ถ้ามีสภาพคล่องส่วนเกิน ก็จ่ายออกมาในรูปเงินลดทุน
Q9:Freefloat เท่าไหร่ครับ
A9: วันที่ 29 สค มีรายย่อยคิดเป็น 46% ซึ่งมากกว่าช่วง IPO
Q10 & A10 หนังสือชี้ชวน แจ้งว่าจะจ่ายเงินปันผล ในช่วง 4.3-4.5%
เงินปันผลที่ได้จริง ถ้าคิดจำนวนวันเท่ากัน คือ 365วัน จะได้ปันผลเท่ากับ 4.12 % รวมเงินที่คืนทุนด้วย
วันนี้มีผู้เข้าประชุมทั้งหมด 1,040 ราย แบ่งเป็นมาด้วยตนเอง 475 ราย และ มอบฉันทะมา 565 ราย
คิดเป็นจำนวนหุ้น 44.5809% สามารถเปิดประชุมได้ เพราะมากกว่า 33.3%
ก่อนอื่นทาง บลจ กรุงไทย และ MFC ได้สรุปข้อมูลของกองทุนให้ผู้มาประชุมรับทราบดังนี้
TFFIF ลงทุนในสิทธิรายได้ 45% ของรายได้สุทธิทั้งสองเส้นทาง ประกอบไปด้วย
1.ทางด่วนเฉลิมรัช ดึงคนตอนเหนือเข้ากรุงเทพ ระยะทาง 28 KM
2.ทางพิเศษบูรพาวิถึ คนจากกรุงเทพไปตะวันออก ระยะทาง 55 KM
กองทุนทำสัญญากับการทางพิเศษไว้เป็นระยะ 30 ปี
ทรัพย์สิน ณ วันที่ 30 กย 62 เท่ากับ 54,339 ลบ คิดเป็น NAV 11.88 บาท
วาระที่1 รับทราบการจัดการกองทุนรวมในเรื่องที่สำคัญและในอนาคต
การทางพิเศษ เป็นผู้บริหาร ทั้งสองเส้นทาง และ ควบคุมการจัดเก็บค่าผ่านทาง
โดยมีการบำรุงรักษา ตั้งแต่เวลา 22.00- 04.00 น และ เปิดช่องทาง1เลนสำหรับรถวิ่งในช่วงเวลานี้
Q1:ทรัพย์สินในอนาคต มีด้านใด และคาดว่าจะเพิ่มกองเมื่อไหร่
A1:ทางบลจตอบว่า ต้องดูความเหมาะสมของแต่ละทรัพย์สิน
และ จะมีการเปิดเผยข้อมูลให้มากขึ้น ส่วนการการลงทุนขยายเส้นทางเป็นหน้าที่ของการทางพิเศษ
Q2: ตัวเลขรถยนต์ทั้งสองเส้นทาง เติบโตทั้งคู่ ตัวเลขที่เป็น capacity เต็มทั้งสองสาย หรือ ยังมีนโยบายเพิ่มอย่างไร
Q3: มีแนวโน้มจะนำทางด่วนเส้นอื่นเข้ามาอีกไหม เช่น เส้นที่BEMได้ เข้ามาด้วยไหม
A2: เส้นฉลองรัช รับได้ 350,000 คันต่อวัน ปัจจุบัน มีรถ 241,000 คันต่อวัน ยังมีเหลืออีก
เส้นบูรพาวิถี รับได้ 360,000 คันต่อวัน ปัจจุบัน มีรถ 161,000 คันต่อวัน ยังมีเหลืออีก
แต่ทำไมgrowthลดลง ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้งานเป็นหลัก อาจมีขึ้นหรือลงได้
A3: การแบ่งรายได้จากเส้นทางร่วมกับเอกชนทำได้ยาก
การเพิ่มรายได้มาจาก การทางมีproject ฉลองรัช นครนายก - สระบุรี จะเสร็จใน 2569
ทำให้ปริมาณจราจรเพิ่มขึ้น ส่วนอีกเส้นทาง ใช้งบปี63 เสร็จกลางปี 2567
Q4: ถามในงบที่เกิดขึ้นจริง กับ ที่คาดประมาณ ตอน IPO ใกล้เคียงหรือต่างกันมาก อย่างไร
A4: ปริมาณ Traffic ตอนออกกอง Traffic ฉลองรัช เพิ่มขึ้น 20,000 คัน เป็น 240,000 คันต่อวัน
ส่วนเส้นบูรพาวิถี เมื่อก่อน 150,000 คัน เป็น 160,000 คัน จะเห็นว่าเพิ่มขึ้น 10%
แต่รายได้ประมาณการเข้ากอง และ จ่ายคืนผู้ถือหน่วย ซึ่งหายไป 72 ลบ
Q5: มีข่าวจะเอาเส้นทางสาย7 , 9 เอามาเพิ่มใน TFFIF ใช่ไหม
A5: ทรัพย์สินบางโครงการเกิดปัญหาทางกฏหมาย
ทางหลวงมีกระบวนการแก้กม ผ่านทางหลายสภา
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินการ
รายได้จากการลงทุน 99.42% รายได้ดอกเบี้ยรับ 0.58% และ ค่าใช้จ่าย 17.23%
รายได้สุทธิ 82.77%
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 31 ลบ เป็นค่าเบี้ยประกันกองทุน20 ลบ ซึ่งแบ่งออกเป็นสองอย่าง
คือ 1.ประกัน All risk เป็นเงินที่เอาไปซ่อมแซม
2. ประกันภัยธุรกิจชะงัก เป็นเงินที่ตีเป็นรายได้ 24 เดือน ถ้าโครงการหยุดไป
อีกส่วน เป็นค่าธรรมเนียมสำหรับจ่ายเงินปันผลผ่านธนาคาร
วาระที่ 3 รับทราบงบการเงิน
Q6: ผลตอบแทนเงินฝากธนาคาร 59 ลบ คิดเป็นเท่าไหร่
A6: เราเอาส่วนนี้กันเป็นสภาพคล่อง เราจะไปลง Government Bond อายุ 3 เดือนขึ้นไป
ผลตอบแทนที่ได้ ประมาณ 0.4-0.75%
Q7: อธิบาย รายได้ 1,700 ลบ ทำไมปันผล4ครั้งคิดเป็น 1794 ลบ ในงบ
A7: กำไร 1,700 ลบ ไปดูแต่เงินปันผลที่เกินนั้น มาจากรายได้ดอกเบี้ย จากที่ไปลงทุนในสินทรัพย์สภาพคล่อง
Q8: ค่าใช้จ่ายที่รอตัดจำหน่าย และ รายการที่รอตัดบัญชี
A8: อธิบายตามงบ รายได้ส่วนนึงหักค่าใช้จ่าย เราจ่าย 271 ลบ กำไรสุทธิจะน้อยกว่าปกติ
วาระที่ 4 นโยบายจ่ายปันผล มากกว่าหรือเท่ากับ 90% ถ้ามีสภาพคล่องส่วนเกิน ก็จ่ายออกมาในรูปเงินลดทุน
Q9:Freefloat เท่าไหร่ครับ
A9: วันที่ 29 สค มีรายย่อยคิดเป็น 46% ซึ่งมากกว่าช่วง IPO
Q10 & A10 หนังสือชี้ชวน แจ้งว่าจะจ่ายเงินปันผล ในช่วง 4.3-4.5%
เงินปันผลที่ได้จริง ถ้าคิดจำนวนวันเท่ากัน คือ 365วัน จะได้ปันผลเท่ากับ 4.12 % รวมเงินที่คืนทุนด้วย
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 31
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 3
ขอบคุณครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 4
DDD EGM 2020
07/02/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 63ราย มาด้วยตนเอง 38ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 84%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 24/04/2019
+ ผถห.สอบถามว่าทำไมไม่รอ agm อีก 2เดือน ตอบ เป็นโอกาศทางธุรกิจ จะทำให้บริษัทได้ประโยชน์เร็วขึ้น
วาระ 2
+ อนุมัติการเข้าซื้อหุ้นบริษัท คิวรอน และอเล็กซี่เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลติ้ง
+ kuron ทำธุรกิจขายสินค้า
+ alexi เทรน BA
+ pnd ทำขนส่ง
+ ยอดขาย lesasha 48% และ ยาสีฟัน Sparkle 33%
+ lesasha มีส่วนแบ่งตลาด 41% ของอุปกรณ์จัดแต่งทรงผม
+ sparkle ส่วนแบ่งตลาด 31% ในกลุ่มฟันขาว
+ jason ทำถุงมือออกกำลังกาย ยอดขาย 8%
+ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้คือ BA ปัจจุบันเราจ้างoutsourceอยู่ เดือนละ 2ล้าน จะช่วยลดค่าใช้จ่าย
+ kuron ทำส่วน onlineได้ดี เราเอาสินค้าเข้าไปขายร่วมได้
+ kuron ส่งออกน้อย เรามีตลาดฟิลิปปินส์ และจีน
+ การต่อรองกับ supplier จะดีขึ้น
+ kuron ยอดขายมีการเติบโตตามเศรษฐกิจมาตลอด
+ มูลค่าการลงทุน ซื้อหุ้น 76% ราคา 610ล้าน และสิทธิซื้อหุ้นอีก 24% 193ล้าน ใน 2ปี
+ pnd จะโอนทรัพย์สินทั้งหมดมาที่ kuron และจะไม่ทำธุรกิจแข่ง
+ ใช้เงินสด 610ล้าน จากที่มี 3950ล้าน ไม่มีผลกระทบกับสภาพคล่อง
+ คาดว่าจะโอนหุ้น กพ และทำสัญญาอื่นๆภายใน q1
+ ถ้านับตามกำไรสุทธิ รายการนี้จะมีขนาด 570% แต่ถ้าตามมูลค่าตามบัญชี 11% จึงไม่มีผลต่อการบริหารงาน
+ ประเมินตามวิธี dca 5ปี ให้รายได้เติบโต 5.5% ได้ช่วงราคา 630-666ล้าน ราคาขาย 610ล้าน เหมาะสม
+ ผถห.สอบถามว่าสภาพเศรษฐกิจไม่ดี ถือว่ารีบซื้อหรือเปล่า ตอบ มีการติดตามการทำงานเขามาสองปีกว่าแล้ว คิดว่าช่วงนี้เหมาะแก่การต่อรอง ยอดขาย kuron ค่อนข้างแข็ง ลูกค้าเป็นคนไทย
+ ถือเป็น backdoor หรือไม่ ตอบ ไม่ไช่ backdoor เนื่องจากปีที่ผ่านมากำไร ddd ไม่ค่อยดี ทำให้ขนาดรายการเขาโตกว่า แต่ลักษณะบริหารเราไปควบคุมเขา
+ ค่าความนิยม ตอบ น่าจะทำในงบหลังซื้อหุ้น
+ เงื่อนไขของ put option ที่จะขายหุ้นเพิ่ม ตอบ เขาจะมีสิทธิขายเพิ่ม เมื่อกำไรถึงเป้าที่กำหนดไว้
+ pnd ห้ามทำธุรกิจแข่งกี่ปี ตอบ ทำขนส่งให้กลุ่ม kuron กรรมการ ผถห และตัว pnd เองห้ามทำธุรกิจแข่ง
+ ทำไมเขาขาย ตอบ คุณวิรัช แซ่โง้ว ปีนี้ 57 ไม่มีลูก ทำมา 25ปี อยากไปทำอย่างอื่นบ้าง ตอนนี้จ้างผบหมืออาชีพอยู่แล้ว
+ จะใช้ช่องทางขายเขา ba 200กว่าคน แข็งแรงมาก จะประหยัดขึ้น
+ online kuron มีระบบคลังที่ดี ส่งของรายคนได้ดี
+ marketing sparkle เขาก็ไช้ ญาญ่า น่าจะต่อรองได้ดีขึ้น
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ ธุรกิจเป็นยังไงบ้าง ตอบ เราพยายามแก้ปัญหาที่เจอตลอด
+ ต่างประเทศ เป็นยังไง ตอบ เรามีเปิดบนิษัทร่วม jm solution ของเกาหลี ซึ่งเค้ามีคนอยู่ที่จีนเลย ต้นทุนเขาถูกเพราะวอลุมใหญ่ มาร์กหน้าทำ 1000ล้านชิ้น จะเอาสินค้าบางตัวมาขาย
+ ฟิลิปปินส์ ได้ตามเป้า แต่ช้าในการผลิต และการขออย.ในเมืองไทยก่อน
+ ในประเทศน่าจะลุยตลาดเพิ่ม
+ คู่สัญญาที่เลิกไป ตอบ มีแผนงาน ได้ 70%แล้ว น่าจะเห็นใน q1-2
+ กัมพูชา พม่า ได้คู่ค้าแล้ว โตเร็ว แต่บางทีมีของไหลออกไปจากไทย บางเจ้าขายได้ 100ล้าน
+ จะมี m&a หรือ jv ในปีนี้ไหม ตอบ มีธุรกิจที่น่าสนใจ แต่ต้องดูรายละเอียดให้พอ
+ สถานที่จัดประชุม agm น่าจะเป็น โนโวเทลสุวรรณภูมิ
+ เป้าหมาย ต้องมีการกระจายความเสี่ยงมากขึ้น
+ ปันผล หรือ warrant ตอบ ตอนนี้สภาพคล่องยังดี ไม่น่าจะออก warrant
+ การเยี่ยมชมโรงงาน ตอบ ติดต่อ ir แต่อยากให้จัดเป็นรอบๆ
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 0138427000
07/02/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 63ราย มาด้วยตนเอง 38ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 84%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 24/04/2019
+ ผถห.สอบถามว่าทำไมไม่รอ agm อีก 2เดือน ตอบ เป็นโอกาศทางธุรกิจ จะทำให้บริษัทได้ประโยชน์เร็วขึ้น
วาระ 2
+ อนุมัติการเข้าซื้อหุ้นบริษัท คิวรอน และอเล็กซี่เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลติ้ง
+ kuron ทำธุรกิจขายสินค้า
+ alexi เทรน BA
+ pnd ทำขนส่ง
+ ยอดขาย lesasha 48% และ ยาสีฟัน Sparkle 33%
+ lesasha มีส่วนแบ่งตลาด 41% ของอุปกรณ์จัดแต่งทรงผม
+ sparkle ส่วนแบ่งตลาด 31% ในกลุ่มฟันขาว
+ jason ทำถุงมือออกกำลังกาย ยอดขาย 8%
+ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้คือ BA ปัจจุบันเราจ้างoutsourceอยู่ เดือนละ 2ล้าน จะช่วยลดค่าใช้จ่าย
+ kuron ทำส่วน onlineได้ดี เราเอาสินค้าเข้าไปขายร่วมได้
+ kuron ส่งออกน้อย เรามีตลาดฟิลิปปินส์ และจีน
+ การต่อรองกับ supplier จะดีขึ้น
+ kuron ยอดขายมีการเติบโตตามเศรษฐกิจมาตลอด
+ มูลค่าการลงทุน ซื้อหุ้น 76% ราคา 610ล้าน และสิทธิซื้อหุ้นอีก 24% 193ล้าน ใน 2ปี
+ pnd จะโอนทรัพย์สินทั้งหมดมาที่ kuron และจะไม่ทำธุรกิจแข่ง
+ ใช้เงินสด 610ล้าน จากที่มี 3950ล้าน ไม่มีผลกระทบกับสภาพคล่อง
+ คาดว่าจะโอนหุ้น กพ และทำสัญญาอื่นๆภายใน q1
+ ถ้านับตามกำไรสุทธิ รายการนี้จะมีขนาด 570% แต่ถ้าตามมูลค่าตามบัญชี 11% จึงไม่มีผลต่อการบริหารงาน
+ ประเมินตามวิธี dca 5ปี ให้รายได้เติบโต 5.5% ได้ช่วงราคา 630-666ล้าน ราคาขาย 610ล้าน เหมาะสม
+ ผถห.สอบถามว่าสภาพเศรษฐกิจไม่ดี ถือว่ารีบซื้อหรือเปล่า ตอบ มีการติดตามการทำงานเขามาสองปีกว่าแล้ว คิดว่าช่วงนี้เหมาะแก่การต่อรอง ยอดขาย kuron ค่อนข้างแข็ง ลูกค้าเป็นคนไทย
+ ถือเป็น backdoor หรือไม่ ตอบ ไม่ไช่ backdoor เนื่องจากปีที่ผ่านมากำไร ddd ไม่ค่อยดี ทำให้ขนาดรายการเขาโตกว่า แต่ลักษณะบริหารเราไปควบคุมเขา
+ ค่าความนิยม ตอบ น่าจะทำในงบหลังซื้อหุ้น
+ เงื่อนไขของ put option ที่จะขายหุ้นเพิ่ม ตอบ เขาจะมีสิทธิขายเพิ่ม เมื่อกำไรถึงเป้าที่กำหนดไว้
+ pnd ห้ามทำธุรกิจแข่งกี่ปี ตอบ ทำขนส่งให้กลุ่ม kuron กรรมการ ผถห และตัว pnd เองห้ามทำธุรกิจแข่ง
+ ทำไมเขาขาย ตอบ คุณวิรัช แซ่โง้ว ปีนี้ 57 ไม่มีลูก ทำมา 25ปี อยากไปทำอย่างอื่นบ้าง ตอนนี้จ้างผบหมืออาชีพอยู่แล้ว
+ จะใช้ช่องทางขายเขา ba 200กว่าคน แข็งแรงมาก จะประหยัดขึ้น
+ online kuron มีระบบคลังที่ดี ส่งของรายคนได้ดี
+ marketing sparkle เขาก็ไช้ ญาญ่า น่าจะต่อรองได้ดีขึ้น
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ ธุรกิจเป็นยังไงบ้าง ตอบ เราพยายามแก้ปัญหาที่เจอตลอด
+ ต่างประเทศ เป็นยังไง ตอบ เรามีเปิดบนิษัทร่วม jm solution ของเกาหลี ซึ่งเค้ามีคนอยู่ที่จีนเลย ต้นทุนเขาถูกเพราะวอลุมใหญ่ มาร์กหน้าทำ 1000ล้านชิ้น จะเอาสินค้าบางตัวมาขาย
+ ฟิลิปปินส์ ได้ตามเป้า แต่ช้าในการผลิต และการขออย.ในเมืองไทยก่อน
+ ในประเทศน่าจะลุยตลาดเพิ่ม
+ คู่สัญญาที่เลิกไป ตอบ มีแผนงาน ได้ 70%แล้ว น่าจะเห็นใน q1-2
+ กัมพูชา พม่า ได้คู่ค้าแล้ว โตเร็ว แต่บางทีมีของไหลออกไปจากไทย บางเจ้าขายได้ 100ล้าน
+ จะมี m&a หรือ jv ในปีนี้ไหม ตอบ มีธุรกิจที่น่าสนใจ แต่ต้องดูรายละเอียดให้พอ
+ สถานที่จัดประชุม agm น่าจะเป็น โนโวเทลสุวรรณภูมิ
+ เป้าหมาย ต้องมีการกระจายความเสี่ยงมากขึ้น
+ ปันผล หรือ warrant ตอบ ตอนนี้สภาพคล่องยังดี ไม่น่าจะออก warrant
+ การเยี่ยมชมโรงงาน ตอบ ติดต่อ ir แต่อยากให้จัดเป็นรอบๆ
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 0138427000
แก้ไขล่าสุดโดย Toro149 เมื่อ ศุกร์ ก.พ. 07, 2020 11:58 am, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 5
MACO EGM 2020
14/01/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 154ราย มาด้วยตนเอง 100ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 85%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 24/04/2562
วาระ 2
+ เข้าซื้อหุ้นของบริษัท ฮัลโล บางกอก แอลอีดี จำกัด 50% 1950ล้านบาท
+ มี 3รายการที่เกี่ยวเนื้องกัน 1.ซื้อหุ้น hello led 1950ล้าน 2.ขายหุ้นเพิ่มทุนให้ planb 1553ล้าน 3.ให้สิทธิ planb บริหารจัดการสื่อในไทยทั้งหมด 5ปี 3500ล้าน
+ hello led มี 134ป้าย 74จอ กำไร65ล้านบาท
+ ราคาซื้อ ใช้ dcf ประมาณจาก รายได้ เพิ่ม 2.6%/ปี
+ irr 9.81%
+ ifa เห็นว่า มีความเสี่ยงเรื่องใบอนุญาติก่อสร้างป้าย และไม่มีอำนาจควบคุมเพราะถือ50% มีกรรมการ 2คนจาก4คน จึงเห็นว่าไม่ควรทำรายการ
+ กรรมการเห็นว่า มีการส่งคนไปเป็น cfo และถือ 50% คิดว่ามีอำนาจควบคุมพอสมควร
+ ธุรกิจพิมพ์พ่นหมึก ไม่อยู่ในผังเมือง อาจจะต้องย้าย ไม่ไช่ธุรกิจหลัก และมีคชจย้ายไม่เกินหลักแสนบาท
+ หากป้ายที่ไม่มีใบอนุญาติเกิดปัญหา แก้ไขไม่ได้ใน1ปี ทางผถหเดิมจะร่วมรับผิดชอบ
+ มีการเปรียบเทียบความเสี่ยงก่อนเข้าซื้อหรือไม่ ตอบ มีการตรวจสอบว่ายังมีบางส่วนไม่มีใบอนุญาติ
+ การแก้ไขในรอบ 1ปี มั่นใจไหม ตอบ เป็นความตั้งใจ
+ มีการประกันภัยพิบัติหรือไม่ ตอบ มีประกัน
+ กรรมการตรวจสอบตอบ ยอมรับว่ามีความเสี่ยง ธุรกิจป้ายซัพพลายจำกัด ที่ผ่านมาควบรวมมาตลอด ป้ายที่ถูกต้องจะมีต้นทุนสูงกว่า ป้ายของ hello led เราก็มีใช้อยู่ด้วย ป้ายบางส่วนที่ซ้ำซ้อนอาจจะเอาออกเพื่อลดต้นทุน จะทำให้ตลาดนี้จาก red ocean เป็น blue ocean
+ สิ่งที่มอง คือมองอะไรที่ใหญ่กว่า hello led แต่มองภาพรวมตลาด ให้ลูกค้ายอมจ่ายมากขึ้น
+ รายได้มาจากสินค้าที่ไม่ถูกต้อง ตอบ พระราชบัญญัต ปี33 ป้ายที่เกิดก่อนมีปัญหา ส่วนของ maco เราก็ยกเลิกป้ายไปกว่า 200ป้าย พยายามทำให้ถูกต้องมากที่สุด มีทางเลือกว่าจะไม่ไปยุ่งปล่อยไปแบบนั้น หรือเราเข้าไปแก้ไข ซึ่งเราถือเป็นพี่ใหญ่แล้วควรจะทำ
+ หากมีความเสียหาย ผถหเดิม ร่วมรับผิดชอบ วงเงิน 1750ล
+ ป้ายที่ไม่ถูกต้อง เป็นจำนวนเท่าไร ตอบ ไม่อยากให้คิดจำนวน เพราะมีป้ายใหญ่เล็ก ของเรามี 10-15%ของรายได้
+ จะผลักดันเจ้าอื่นให้ทำถูกต้องยังไง ตอบ เราอาจจะมีต้นทุนสูงกว่าเล็กน้อย ถ้าส่วนใหญ่ถูก สุดท้ายส่วนที่เหลือจะถูกเอง
+ ป้าย planb ทำเลดีมากๆ สีลม สาธร
+ โอกาศทางธุรกิจรอไม่ได้ โอกาศนี้ดีมาก คงไม่รอให้เหมือนธุรกิจทีวีดิจิตอลที่รายได้ลดลงมาก
+ อนุมัติ 99.8%
วาระ 3
+ ออกและเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน ให้ planb จำนวน1080ล้านหุ้น 1.4381บาท/หุ้น รวมมูลค่า 1553ล้านบาท
+ ifa ประเมินมูลค่า สูงกว่าราคาเสนอขาย 2.6%
+ ราคาเสนอขาย เป็นราคาเฉลี่ย 7วัน ก่อนมติกรรมการ
+ vgi bts ไม่มีสิทธิออกเสียง
+ ราคาทำไมสูงกว่านี้ไม่ได้ ตอบ เราคิดว่าได้ราคาค่อนข้างดี ใช้ราคาเฉลี่ยย้อนหลัง
+ hello led มีเยอะในกทม planb มีทำเลดี maco มีเยอะในปริมณฑล พอรวมกันทำให้เข้มแข็งมากขึ้น
+ ในวาระสองถ้าผลเสียหายมากกว่า 1750ล จะทำอย่างไร ตอบ ป้ายเหล่านั้นยังอยู่ ยังทำรายได้ ผลเสียหายคงไม่เยอะ
+ อนุมัติ 99.6%
วาระ 4
+ ลดทุนจดทะเบียน 207ล้านหุ้น ที่ยังไม่ได้ออกจำหน่าย
วาระ 5
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 4
วาระ 6
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน 1080ล้านหุ้น
วาระ 7
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 6
วาระ 8
+ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุน 1080ล้านหุ้น ให้ planb
วาระ 9
+ ทำสัญญาให้ plqnb บริหารสื่อของ maco ในไทย เป็นเวลา 5ปี ตั้งแต่วันลงนามสัญญา ถึง 31 ธค 67
+ กรณีรายได้ เท่ากับหรือน้อยกว่า 900ล/ปี maco จะได้รับ 85%ของรายได้
+ กรณีรายได้ มากกว่า 900ล/ปี maco จะได้รับ 90%ของรายได้ เฉพาะส่วนที่เกิน 900ล
+ ค่าตอบแทนขั้นต่ำ 700ล/ปี สำหรับสื่อไม่น้อยกว่า 1000ป้่าย
+ ปีแรก 1กค - 31ธค63 ค่าตอบแทนขั้นต่ำ 350ล
+ ชำระค่าตอบแทน รายเดือน
+ ถ้า planb ได้สิทธิติดตั้งป้าย ต้องให้ maco ได้สิทธิติดตั้งก่อน
+ ifa เห็นว่า การให้ plqnb บริหารสื่อ จะได้ประโยชน์มากกว่าบริหารเอง 240ล/5ปี
+ ความเสี่ยง ตอบ เป็นเรื่องธุรกิจ พยายามปิดความเสี่ยง
+ hello ไม่อยู่ในดิวไช่ไหม ตอบ แยกจากกัน
+ planb ขายให้ hello แบ่งกี่% ตอบ เรายังไม่เห็นว่าแบ่งอย่างไร หลังถือ hello เราจะเห็นสองทาง จะไม่เกิดการย้ายออเดอร์ไปฝั่งใดฝั่งนึง
+ ป้ายที่ไม่มีศักยภาพ ตอบ ประมาณ 10% ต้องคุยกับ hello
+ ถ้าป้าย maco ลดลง มีผลไหม ตอบ ไม่มีผล
+ ที่ planb ได้สิทธิ 7-11 ตอบ เขาได้สิทธิก่อน
+ การให้ planb ขายเจ้าเดียวจะบริหารดีกว่า ไม่ตัดราคากัน ต่างคนต่างทำหน้าที่
+ ผถห.ฝากว่า ถ้ามีความแตกต่างในการแบ่งรายได้ของplanb กับ hello และ maco ขอให้เจรจาให้เป็นตัวเลขเดียวกัน เพราะถือว่าอยู่กลุ่มเดียวกันแล้ว
+ ผถห.ฝากให้ปรับโครงสร้างองค์กรอย่างค่อยเป็นค่อยไป และการไม่มีทีมขายของตนเองก็เป็นความเสี่ยง ถ้าคนที่มีความสามารถออกไปแล้ว จะเรียกกลับมาไม่ไช่เรื่องง่าย
วาระ 10
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 9
วาระ 11
+ อื่นๆ
+ การซื้อ hello ดีขึ้นอย่างไร ตอบ การช่วยบริหาร น่าจะทำให้กำไรดีขึ้นหลักร้อยล้าน
+ hello รายได้ เติบโตเท่าไร ตอบ รายได้อาจจะไม่เติบโตมาก เพราะจำนวนป้ายไม่ได้เพิ่มเยอะ แต่การคุมต้นทุนจะทำให้มาจิ้นดีขึ้น
+ จะไม่มีการแข่งเรื่องแย่งสิทธิการเช่าป้าย และการแข่งราคาขายโฆษณา กำไรน่าจะดีทั้ง hello และ maco
+ utilization rate hello 65% maco 65-70%
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6323701715
14/01/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 154ราย มาด้วยตนเอง 100ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 85%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 24/04/2562
วาระ 2
+ เข้าซื้อหุ้นของบริษัท ฮัลโล บางกอก แอลอีดี จำกัด 50% 1950ล้านบาท
+ มี 3รายการที่เกี่ยวเนื้องกัน 1.ซื้อหุ้น hello led 1950ล้าน 2.ขายหุ้นเพิ่มทุนให้ planb 1553ล้าน 3.ให้สิทธิ planb บริหารจัดการสื่อในไทยทั้งหมด 5ปี 3500ล้าน
+ hello led มี 134ป้าย 74จอ กำไร65ล้านบาท
+ ราคาซื้อ ใช้ dcf ประมาณจาก รายได้ เพิ่ม 2.6%/ปี
+ irr 9.81%
+ ifa เห็นว่า มีความเสี่ยงเรื่องใบอนุญาติก่อสร้างป้าย และไม่มีอำนาจควบคุมเพราะถือ50% มีกรรมการ 2คนจาก4คน จึงเห็นว่าไม่ควรทำรายการ
+ กรรมการเห็นว่า มีการส่งคนไปเป็น cfo และถือ 50% คิดว่ามีอำนาจควบคุมพอสมควร
+ ธุรกิจพิมพ์พ่นหมึก ไม่อยู่ในผังเมือง อาจจะต้องย้าย ไม่ไช่ธุรกิจหลัก และมีคชจย้ายไม่เกินหลักแสนบาท
+ หากป้ายที่ไม่มีใบอนุญาติเกิดปัญหา แก้ไขไม่ได้ใน1ปี ทางผถหเดิมจะร่วมรับผิดชอบ
+ มีการเปรียบเทียบความเสี่ยงก่อนเข้าซื้อหรือไม่ ตอบ มีการตรวจสอบว่ายังมีบางส่วนไม่มีใบอนุญาติ
+ การแก้ไขในรอบ 1ปี มั่นใจไหม ตอบ เป็นความตั้งใจ
+ มีการประกันภัยพิบัติหรือไม่ ตอบ มีประกัน
+ กรรมการตรวจสอบตอบ ยอมรับว่ามีความเสี่ยง ธุรกิจป้ายซัพพลายจำกัด ที่ผ่านมาควบรวมมาตลอด ป้ายที่ถูกต้องจะมีต้นทุนสูงกว่า ป้ายของ hello led เราก็มีใช้อยู่ด้วย ป้ายบางส่วนที่ซ้ำซ้อนอาจจะเอาออกเพื่อลดต้นทุน จะทำให้ตลาดนี้จาก red ocean เป็น blue ocean
+ สิ่งที่มอง คือมองอะไรที่ใหญ่กว่า hello led แต่มองภาพรวมตลาด ให้ลูกค้ายอมจ่ายมากขึ้น
+ รายได้มาจากสินค้าที่ไม่ถูกต้อง ตอบ พระราชบัญญัต ปี33 ป้ายที่เกิดก่อนมีปัญหา ส่วนของ maco เราก็ยกเลิกป้ายไปกว่า 200ป้าย พยายามทำให้ถูกต้องมากที่สุด มีทางเลือกว่าจะไม่ไปยุ่งปล่อยไปแบบนั้น หรือเราเข้าไปแก้ไข ซึ่งเราถือเป็นพี่ใหญ่แล้วควรจะทำ
+ หากมีความเสียหาย ผถหเดิม ร่วมรับผิดชอบ วงเงิน 1750ล
+ ป้ายที่ไม่ถูกต้อง เป็นจำนวนเท่าไร ตอบ ไม่อยากให้คิดจำนวน เพราะมีป้ายใหญ่เล็ก ของเรามี 10-15%ของรายได้
+ จะผลักดันเจ้าอื่นให้ทำถูกต้องยังไง ตอบ เราอาจจะมีต้นทุนสูงกว่าเล็กน้อย ถ้าส่วนใหญ่ถูก สุดท้ายส่วนที่เหลือจะถูกเอง
+ ป้าย planb ทำเลดีมากๆ สีลม สาธร
+ โอกาศทางธุรกิจรอไม่ได้ โอกาศนี้ดีมาก คงไม่รอให้เหมือนธุรกิจทีวีดิจิตอลที่รายได้ลดลงมาก
+ อนุมัติ 99.8%
วาระ 3
+ ออกและเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน ให้ planb จำนวน1080ล้านหุ้น 1.4381บาท/หุ้น รวมมูลค่า 1553ล้านบาท
+ ifa ประเมินมูลค่า สูงกว่าราคาเสนอขาย 2.6%
+ ราคาเสนอขาย เป็นราคาเฉลี่ย 7วัน ก่อนมติกรรมการ
+ vgi bts ไม่มีสิทธิออกเสียง
+ ราคาทำไมสูงกว่านี้ไม่ได้ ตอบ เราคิดว่าได้ราคาค่อนข้างดี ใช้ราคาเฉลี่ยย้อนหลัง
+ hello led มีเยอะในกทม planb มีทำเลดี maco มีเยอะในปริมณฑล พอรวมกันทำให้เข้มแข็งมากขึ้น
+ ในวาระสองถ้าผลเสียหายมากกว่า 1750ล จะทำอย่างไร ตอบ ป้ายเหล่านั้นยังอยู่ ยังทำรายได้ ผลเสียหายคงไม่เยอะ
+ อนุมัติ 99.6%
วาระ 4
+ ลดทุนจดทะเบียน 207ล้านหุ้น ที่ยังไม่ได้ออกจำหน่าย
วาระ 5
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 4
วาระ 6
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน 1080ล้านหุ้น
วาระ 7
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 6
วาระ 8
+ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุน 1080ล้านหุ้น ให้ planb
วาระ 9
+ ทำสัญญาให้ plqnb บริหารสื่อของ maco ในไทย เป็นเวลา 5ปี ตั้งแต่วันลงนามสัญญา ถึง 31 ธค 67
+ กรณีรายได้ เท่ากับหรือน้อยกว่า 900ล/ปี maco จะได้รับ 85%ของรายได้
+ กรณีรายได้ มากกว่า 900ล/ปี maco จะได้รับ 90%ของรายได้ เฉพาะส่วนที่เกิน 900ล
+ ค่าตอบแทนขั้นต่ำ 700ล/ปี สำหรับสื่อไม่น้อยกว่า 1000ป้่าย
+ ปีแรก 1กค - 31ธค63 ค่าตอบแทนขั้นต่ำ 350ล
+ ชำระค่าตอบแทน รายเดือน
+ ถ้า planb ได้สิทธิติดตั้งป้าย ต้องให้ maco ได้สิทธิติดตั้งก่อน
+ ifa เห็นว่า การให้ plqnb บริหารสื่อ จะได้ประโยชน์มากกว่าบริหารเอง 240ล/5ปี
+ ความเสี่ยง ตอบ เป็นเรื่องธุรกิจ พยายามปิดความเสี่ยง
+ hello ไม่อยู่ในดิวไช่ไหม ตอบ แยกจากกัน
+ planb ขายให้ hello แบ่งกี่% ตอบ เรายังไม่เห็นว่าแบ่งอย่างไร หลังถือ hello เราจะเห็นสองทาง จะไม่เกิดการย้ายออเดอร์ไปฝั่งใดฝั่งนึง
+ ป้ายที่ไม่มีศักยภาพ ตอบ ประมาณ 10% ต้องคุยกับ hello
+ ถ้าป้าย maco ลดลง มีผลไหม ตอบ ไม่มีผล
+ ที่ planb ได้สิทธิ 7-11 ตอบ เขาได้สิทธิก่อน
+ การให้ planb ขายเจ้าเดียวจะบริหารดีกว่า ไม่ตัดราคากัน ต่างคนต่างทำหน้าที่
+ ผถห.ฝากว่า ถ้ามีความแตกต่างในการแบ่งรายได้ของplanb กับ hello และ maco ขอให้เจรจาให้เป็นตัวเลขเดียวกัน เพราะถือว่าอยู่กลุ่มเดียวกันแล้ว
+ ผถห.ฝากให้ปรับโครงสร้างองค์กรอย่างค่อยเป็นค่อยไป และการไม่มีทีมขายของตนเองก็เป็นความเสี่ยง ถ้าคนที่มีความสามารถออกไปแล้ว จะเรียกกลับมาไม่ไช่เรื่องง่าย
วาระ 10
+ แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท ตามวาระ 9
วาระ 11
+ อื่นๆ
+ การซื้อ hello ดีขึ้นอย่างไร ตอบ การช่วยบริหาร น่าจะทำให้กำไรดีขึ้นหลักร้อยล้าน
+ hello รายได้ เติบโตเท่าไร ตอบ รายได้อาจจะไม่เติบโตมาก เพราะจำนวนป้ายไม่ได้เพิ่มเยอะ แต่การคุมต้นทุนจะทำให้มาจิ้นดีขึ้น
+ จะไม่มีการแข่งเรื่องแย่งสิทธิการเช่าป้าย และการแข่งราคาขายโฆษณา กำไรน่าจะดีทั้ง hello และ maco
+ utilization rate hello 65% maco 65-70%
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6323701715
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 6
NEX EGM 2020
11/02/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 92ราย มาด้วยตนเอง 62ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 50%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ เมื่อ 28/08/2019
วาระ 2
+ ลดทุนจดทะเบียน โดยตัดเศษหุ้น 28หุ้น ที่เหลือจากการเพิ่มทุนคราวที่แล้ว
วาระ 3
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน จาก 464ล้านหุ้น เป็น 858ล้านหุ้น
+ โดยให้ผถหเดิม 4:1 จำนวน 116ล้านหุ้น ขาย 2.5บาทต่อหุ้น เป็นเงิน 290ล้าน
+ รองรับ nex-w2 232ล้านหุ้น ที่จะแจกให้ผถหหลังเพิ่มทุน ro อัตราการให้ 2.5:1 ราคาใช้สิทธิ 1บาท อายุ 3ปี
+ รองรับหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอำนวจทั่วไป General Mandate 46ล้านหุ้น
+ เพื่อนำเงินไปซื้อสินทรัพย์ จากบริษัท โกลเด้น ดราก้อน ออโต้เซอร์วิส จำกัด เพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ ศูนย์บริการรถบัสโดยสารแบบครบวงจร มูลค่า 440ล้าน
วาระ 4
+ อนุมัติการออก NEX-W2
+ ผถหถามว่าจะได้เงินรวมเท่าไร ตอบ เพิ่มทุน 290ล้าน เอาไปซื้อที่ดินและทรัพย์สิน 440ล้าน น่าจะได้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่า 10% คืนทุน 5.7ปี บนธุรกิจเดิมที่ซื้อมา
+ เป็นส่วนหนึ่งในแผนธุรกิจที่จะเดินไป ไม่ไช่แค่ธุรกิจอู่ซ่อมรถ
+ ทำไมไม่ทำ xr กับ xw พร้อมกัน ตอบ เพราะ xw ให้กับผถหแต่ไม่อยากให้มากเกินไป อยากใช้เวลาในการพลิกฟื้นกิจการ
+ ทำไม pp ถึงไม่ได้ warrant ตอบ warrant แจกให้กับผถหเดิม ซึ่งร่วมกับบริษัทมา ส่วน pp อาจจะมาตอนที่ทุกอย่างชัดแล้ว ควรจะได้ผลประโยชน์น้อยกว่า
+ หาก pp เพิ่มทุนไม่สำเร็จจะมีผลในการใช้เงินหรือไม่ ตอบ มีผลบ้าง แต่ไม่มาก
+ เห็นข่าวแจ้งตลาดว่ามีการเลื่อนส่งมอบที่ดิน ตอบ เปลี่ยนเงื่อนไขการจ่ายเงินด้วย งวดแรกอย่างช้าเมษา หลังวางเงินมีสิทธิประโยชน์ในที่ดิน ถึงจะยังไม่ได้โอน
+ อยากให้เพิ่มเงื่อนไข pp ไม่ต่ำกว่า 2.5บาท
+ ผถหแนะว่าน่าจะเรียงลำดับเวลาให้ชัดเจน เรื่มจาก xr > xw > pp เพราะฉะนั้นถึง pp จะไม่ได้รับ warrant แต่ก็จะซื้อในราคาที่ไดลูทการ xw ไปแล้ว
วาระ 5
+ อนุมัติจัดสรรหุ้นเพิ่มทุน ตามวาระ 3
+ อยากให้อธิบายบริษัทที่ไปซื้อลึกๆหน่อย ตอบ เราไม่ได้ทำศูนย์ซ่อมรถ หรือขายรถอย่างเดียว ตรงนี้เป็นจุดเริ่มต้น
+ ทุกวันนี้การขนส่งระบบล้อยังพัฒนาช้า เรามองว่าเป็นช่องที่มีอะไรให้ทำอีกเยอะ และเราไปเป็นส่วนหนึ่งได้ ถึงทำสัญญากับ sunlong
+ รถขนาดใหญ่ ยังไม่มีคนทำเรื่องความปลอดภัยอย่างจริงจัง
+ อยากให้มองว่าการท่องเที่ยวเป็นส่วนนึง กระทบบ้าง แต่ยังไงอุตท่องเที่ยวไทยไม่น่าตาย
+ เราจะเป็น service center ให้ผู้ประกอบการ
+ ผลตอบแทน 10% เป็นการประเมินโดยสภาพปัจจุบัน ยังไม่รวมการเพิ่มธุรกิจใหม่
+ ผถหถามว่าธุรกิจตอนนี้เป็นอย่างไร ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์เป็นตัวฉุด จะทำอย่างไร ตอบ ตั้งแต่ต้นปีมีการประเมินแผนงาน ในทางบัญชีอะไรที่จะไม่มีผลตอบแทนเราจะไม่เก็บไว้ เพื่อให้บริษัทแข็งแกร่ง
+ เงินระดมทุนคราวที่แล้ว ตอบ เรื่มปลายปี เรื่มปล่อยรถ 15-20คัน เทียบเม็ดเงินที่ลงไปดี มีอีกหลายสิบคัน แต่อาจจะช้าไปบ้างจากเหตุจีน ในq1 น่าจะมีส่วนนี้เยอะ
+ คิดว่าเดินมาในธุรกิจที่ถูกต้อง มีการสร้างทีมที่มีประสบการณ์
+ รถที่อยู่ใน loop ของเรา สะสมมา 7-8ปี ยังไงก็ต้องวนมาหาเรา ไม่ว่าจะซ่อมหรือซื้อรถใหม่ จึงเห็นโอกาศ เราคิดว่าได้เปรียบเรื่องต้นทุน
+ เชื่อว่า q1 จะเห็นผลประกอบการที่ดีขึ้น
+ การเคลียของเก่าจะเป็นตอนไหน เลยหรือไม่ ตอบ ในq4เลย ไม่อยากทิ้งให้เป็นภาระ
วาระ 6
+ อื่นๆ
+ ข่าวว่าจะทำรถเมล์ไช่ไหม ตอบ อาจจะไม่ได้ทำโดยตรง แต่เกี่ยวข้อง support ให้เค้า
+ รถบรรทุกยังไม่ได้ทำ ทำเฉพาะขนคน
+ มีทั้งดีเซลและ ngv
+ smartbus เกี่ยวกับเราไหม ตอบ เป็นลูกค้าเรา มาซ่อมบำรุง
+ smartbus จำนวนเท่าไร ตอบ ตอนนี้หลักร้อย ต่อไปน่าจะเป็นพัน เพราะต้องเปลี่ยนทั้งหมด
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6091430738
11/02/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 92ราย มาด้วยตนเอง 62ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 50%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ เมื่อ 28/08/2019
วาระ 2
+ ลดทุนจดทะเบียน โดยตัดเศษหุ้น 28หุ้น ที่เหลือจากการเพิ่มทุนคราวที่แล้ว
วาระ 3
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน จาก 464ล้านหุ้น เป็น 858ล้านหุ้น
+ โดยให้ผถหเดิม 4:1 จำนวน 116ล้านหุ้น ขาย 2.5บาทต่อหุ้น เป็นเงิน 290ล้าน
+ รองรับ nex-w2 232ล้านหุ้น ที่จะแจกให้ผถหหลังเพิ่มทุน ro อัตราการให้ 2.5:1 ราคาใช้สิทธิ 1บาท อายุ 3ปี
+ รองรับหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอำนวจทั่วไป General Mandate 46ล้านหุ้น
+ เพื่อนำเงินไปซื้อสินทรัพย์ จากบริษัท โกลเด้น ดราก้อน ออโต้เซอร์วิส จำกัด เพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ ศูนย์บริการรถบัสโดยสารแบบครบวงจร มูลค่า 440ล้าน
วาระ 4
+ อนุมัติการออก NEX-W2
+ ผถหถามว่าจะได้เงินรวมเท่าไร ตอบ เพิ่มทุน 290ล้าน เอาไปซื้อที่ดินและทรัพย์สิน 440ล้าน น่าจะได้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่า 10% คืนทุน 5.7ปี บนธุรกิจเดิมที่ซื้อมา
+ เป็นส่วนหนึ่งในแผนธุรกิจที่จะเดินไป ไม่ไช่แค่ธุรกิจอู่ซ่อมรถ
+ ทำไมไม่ทำ xr กับ xw พร้อมกัน ตอบ เพราะ xw ให้กับผถหแต่ไม่อยากให้มากเกินไป อยากใช้เวลาในการพลิกฟื้นกิจการ
+ ทำไม pp ถึงไม่ได้ warrant ตอบ warrant แจกให้กับผถหเดิม ซึ่งร่วมกับบริษัทมา ส่วน pp อาจจะมาตอนที่ทุกอย่างชัดแล้ว ควรจะได้ผลประโยชน์น้อยกว่า
+ หาก pp เพิ่มทุนไม่สำเร็จจะมีผลในการใช้เงินหรือไม่ ตอบ มีผลบ้าง แต่ไม่มาก
+ เห็นข่าวแจ้งตลาดว่ามีการเลื่อนส่งมอบที่ดิน ตอบ เปลี่ยนเงื่อนไขการจ่ายเงินด้วย งวดแรกอย่างช้าเมษา หลังวางเงินมีสิทธิประโยชน์ในที่ดิน ถึงจะยังไม่ได้โอน
+ อยากให้เพิ่มเงื่อนไข pp ไม่ต่ำกว่า 2.5บาท
+ ผถหแนะว่าน่าจะเรียงลำดับเวลาให้ชัดเจน เรื่มจาก xr > xw > pp เพราะฉะนั้นถึง pp จะไม่ได้รับ warrant แต่ก็จะซื้อในราคาที่ไดลูทการ xw ไปแล้ว
วาระ 5
+ อนุมัติจัดสรรหุ้นเพิ่มทุน ตามวาระ 3
+ อยากให้อธิบายบริษัทที่ไปซื้อลึกๆหน่อย ตอบ เราไม่ได้ทำศูนย์ซ่อมรถ หรือขายรถอย่างเดียว ตรงนี้เป็นจุดเริ่มต้น
+ ทุกวันนี้การขนส่งระบบล้อยังพัฒนาช้า เรามองว่าเป็นช่องที่มีอะไรให้ทำอีกเยอะ และเราไปเป็นส่วนหนึ่งได้ ถึงทำสัญญากับ sunlong
+ รถขนาดใหญ่ ยังไม่มีคนทำเรื่องความปลอดภัยอย่างจริงจัง
+ อยากให้มองว่าการท่องเที่ยวเป็นส่วนนึง กระทบบ้าง แต่ยังไงอุตท่องเที่ยวไทยไม่น่าตาย
+ เราจะเป็น service center ให้ผู้ประกอบการ
+ ผลตอบแทน 10% เป็นการประเมินโดยสภาพปัจจุบัน ยังไม่รวมการเพิ่มธุรกิจใหม่
+ ผถหถามว่าธุรกิจตอนนี้เป็นอย่างไร ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์เป็นตัวฉุด จะทำอย่างไร ตอบ ตั้งแต่ต้นปีมีการประเมินแผนงาน ในทางบัญชีอะไรที่จะไม่มีผลตอบแทนเราจะไม่เก็บไว้ เพื่อให้บริษัทแข็งแกร่ง
+ เงินระดมทุนคราวที่แล้ว ตอบ เรื่มปลายปี เรื่มปล่อยรถ 15-20คัน เทียบเม็ดเงินที่ลงไปดี มีอีกหลายสิบคัน แต่อาจจะช้าไปบ้างจากเหตุจีน ในq1 น่าจะมีส่วนนี้เยอะ
+ คิดว่าเดินมาในธุรกิจที่ถูกต้อง มีการสร้างทีมที่มีประสบการณ์
+ รถที่อยู่ใน loop ของเรา สะสมมา 7-8ปี ยังไงก็ต้องวนมาหาเรา ไม่ว่าจะซ่อมหรือซื้อรถใหม่ จึงเห็นโอกาศ เราคิดว่าได้เปรียบเรื่องต้นทุน
+ เชื่อว่า q1 จะเห็นผลประกอบการที่ดีขึ้น
+ การเคลียของเก่าจะเป็นตอนไหน เลยหรือไม่ ตอบ ในq4เลย ไม่อยากทิ้งให้เป็นภาระ
วาระ 6
+ อื่นๆ
+ ข่าวว่าจะทำรถเมล์ไช่ไหม ตอบ อาจจะไม่ได้ทำโดยตรง แต่เกี่ยวข้อง support ให้เค้า
+ รถบรรทุกยังไม่ได้ทำ ทำเฉพาะขนคน
+ มีทั้งดีเซลและ ngv
+ smartbus เกี่ยวกับเราไหม ตอบ เป็นลูกค้าเรา มาซ่อมบำรุง
+ smartbus จำนวนเท่าไร ตอบ ตอนนี้หลักร้อย ต่อไปน่าจะเป็นพัน เพราะต้องเปลี่ยนทั้งหมด
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6091430738
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 7
CGD EGM 2020
24/02/2020 9:00
+ ผู้ร่วมประชุม 145ราย มาด้วยตนเอง 46ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 77%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 26/04/2562
วาระ 2
+ อนุมัติวงเงินออกหุ้นกู้เพิ่มเติม 2000ล รวมของเดิมจะเป็น 7000ล
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ค้างอยู่ 4รุ่น 4213ล้าน ดอกเบี้ย 7-7.25%
+ ที่ต้องขอวงเงินเพราะ มีนาคมจะมีหุ้นกู้หมดอายุ 2000ล ถ้าออกรุ่นใหม่มาไถ่ถอนจะเกินวงเงินที่ขอไว้
+ ตอนนี้ de 4.5เท่า ที่มีภาระดอกเบี้ย 3.5เท่า
+ มีเงินรับล่วงหน้า 4200ล ที่จะทยอยโอน
+ หุ้นกู้ชุดใหม่ 2000ล อัตราผลตอบแทนประมาณเดิม7-7.25% ใช้หลักประกันเดิม อายุ 2ปีเท่าเดิม ขายนลทรายใหญ่
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ ผถหสอบถาม โรงเรียนนานาชาติ ตอบ มี2โครงการ ที่อังกฤษซื้อมาปี 2016 มีค่าเช่าสม่ำเสมอ อาจจะมีแผนการขายถ้าผลตอบแทนดี ส่วนที่พระราม 3 เป็นรรนานาชาติ ถึงเกรด 12 รายละเอียดจะอยู่ในประชุมผถหเดือนเมษา
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 2657051748
24/02/2020 9:00
+ ผู้ร่วมประชุม 145ราย มาด้วยตนเอง 46ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 77%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 26/04/2562
วาระ 2
+ อนุมัติวงเงินออกหุ้นกู้เพิ่มเติม 2000ล รวมของเดิมจะเป็น 7000ล
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ค้างอยู่ 4รุ่น 4213ล้าน ดอกเบี้ย 7-7.25%
+ ที่ต้องขอวงเงินเพราะ มีนาคมจะมีหุ้นกู้หมดอายุ 2000ล ถ้าออกรุ่นใหม่มาไถ่ถอนจะเกินวงเงินที่ขอไว้
+ ตอนนี้ de 4.5เท่า ที่มีภาระดอกเบี้ย 3.5เท่า
+ มีเงินรับล่วงหน้า 4200ล ที่จะทยอยโอน
+ หุ้นกู้ชุดใหม่ 2000ล อัตราผลตอบแทนประมาณเดิม7-7.25% ใช้หลักประกันเดิม อายุ 2ปีเท่าเดิม ขายนลทรายใหญ่
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ ผถหสอบถาม โรงเรียนนานาชาติ ตอบ มี2โครงการ ที่อังกฤษซื้อมาปี 2016 มีค่าเช่าสม่ำเสมอ อาจจะมีแผนการขายถ้าผลตอบแทนดี ส่วนที่พระราม 3 เป็นรรนานาชาติ ถึงเกรด 12 รายละเอียดจะอยู่ในประชุมผถหเดือนเมษา
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 2657051748
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 8
KSL AGM 2020
25/02/2020 9:30
+ ผู้ร่วมประชุม 185ราย มาด้วยตนเอง 125ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 74%
วาระ 1
+ รับทราบผลการดำเนินงาน สิ้นสุด 31/10/2562
+ รายได้ 17855ล ไกล้เคียงปีก่อน 17813
+ กำไร 822ล ลดลงจาก 848ล
+ โครงสร้างรายได้ ขายน้ำตาล86% ไฟฟ้า7.4% บริการ2% อื่นๆ4%
+ ราคาน้ำตาลลดลง เพราะบางประเทศมีสต๊อกอยู่มาก
+ ธุรกิจไฟฟ้า กำไร 787ล
+ bbgi บริษัทถือ 40% ได้ส่วนแบ่งกำไร 68ล
วาระ 2
+ งบปี สิ้นสุด 31/10/2562
+ กำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น เพราะวัตถุดิบราคาลง
+ รายได้อื่น เพิ่มจากเงินชดเชยจากกองทุนอ้อย
+ de 1.32เท่า ibd 1.16เท่า
+ ผถห.เสนอให้ซื้อหุ้นคืน
+ รายการเงินสดที่เพิ่มมาก ตอบ มีการส่งสินค้าวันสุดท้าย สัปดาห์ต่อมาก็กลับมาเป็นปกติ
+ หุ้นกู้ใช้ไป 7000ล ibd ห้ามเกิน 2เท่า แต่คงไม่ถึง
+ คชจบริหารกองทุนอ้อยและน้ำตาล ยังมีส่ง kg ละ 5บ จากเดือนพย61-กย62
+ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าอสังหา เพิ่มจากเดิม 73ล เป็นการตีมูลค่าที่ดิน
+ ที่ดินเกาะกง ได้สัมปทานปลูกอ้อย แต่หยุดประกอบการชั่วคราวเลยต้องด้อยค่า
+ ต้นทุนการเงิน จะลดลงไหม ตอบ ต้องทำกำไรเยอะๆ
+ กำไรจากบร่วม ลดลงจาก bbgi 80กว่าล้าน เหลือ 60กว่าล้าน
+ ผลตอบแทนสะหวันนะเขต ตอบ ที่ลาวยังขาดทุน 20ล แต่น้อยลงจากร้อยกว่าล้าน คุณภาพน้ำตาลดี ตอนนี้ 2แสนตัน ขาดทุนสะสม 669ล
+ เกาะกง ได้ที่สัมปทาน90ปี 1.2แสนไร่ ราคาที่ขึ้นเรื่อยๆ ถ้าราคาน้ำตาลดีขึ้นจะกลับมาผลิต ขาดทุนสะสม1880ล ส่วนของเรา 1500ล
+ สัมปทาน เป็น2บริษัทเพราะ เขาจำกัดบริษัทละ 1หมื่นเฮกตาร์
+ ด้อยค่าสินค้าคงเหลือ คืออะไร ตอบ ปุ๋ย
+ กองทุนน้ำตาลที่ยกเลิก มีผลกับบริษัทอย่างไร ตอบ ตั้งแต่ลอยตัวราคาน้ำตาลเมื่อ 3ปีก่อน ยังมีการคิดราคาส่งออก kgละ 11-12บ ราคาที่ขายเกินส่งออก กองทุนเก็บไว้ และส่งให้รงและชาวไร่ 70:30
+ ปี63 มีราคาอ้างอิงในประเทศแล้ว 17.25บ - 18.25บ
+ ผู้บริโภค ไม่ได้ผลกระทบ มาจิ้นจะไปอยู่ที่ผู้ผลิตน้ำดื่ม นมข้นหวาน ชาวไร่ ได้ส่วนแบ่ง 70% ลดลง
+ ปริมาณการขายน้ำตาล ตอบ ต่างไม่เยอะ 1.2ล้านตัน
+ คชจขายที่เพิ่มขึ้น 23% ตอบ จากปริมาณการขายที่เพิ่ม
+ bbgi ที่จะเข้าตลาด ตอบ กำลังยื่น ipo ปีนี้น่าจะดี ปริมาณวัตถุดิบลดลง กากน้ำตาลแพงขึ้น เอทานอลราคาสูงขึ้น น่าจะเป็นปีแรกที่กากน้ำตาลและมันแพงทั้งคู่ซึ่งง่าย
+ เกาะกง หน้า145 ยังมีการเพิ่มทุน ตอบ มีการขาดทุนเกินกึ่งหนึ่ง จึงต้องเพิ่มทุน ซึ่งเป็นหนี้ที่ยืมเราอยู่แล้ว เปลี่ยนหนี้เป็นทุน
+ มองว่าจะทำอย่างไร ตอบ ถ้าราคาน้ำตาลขึ้น 30-40เซน ก็เริ่มใหม่หีบอ้อยใหม่ ถ้ายังไม่ทำปีนึงคชจ10กว่าล้านเพื่อรักษาทรัพย์สิน จีนไปลงทุนโรงน้ำตาลก็ยังเจ๊งอยู่
+ การให้เกี้ยว ให้น้อยลง 30-40% ส่วนใหญ่จะมีหลักทรัพย์ค้ำ
+ อยากให้เล่าภาพรวมกฏเกณใหม่ของกองทุนอ้อย ตอบ จะตรงไปตรงมามากขึ้น ก่อนลอยตัว ขาย19บ จ่ายให้กอง5บาท แต่ต่อไปรายได้ที่เห็นจะแบ่งกับชาวไร่แล้ว
+ จะกำไรดี ต้องราคาขายสูง และไทยผลผลิตเยอะ แต่ปีนี้ไม่ถือว่าดีที่สุด
วาระ 3
+ ปันผล 0.05บ เป็นเงิน 220.5ล้าน จากกำไรสะสม ถึงแม้ว่างบเฉพาะกิจการจะขาดทุน
+ ผถหสอบถามว่าทำไมจ่าย 25% ตอบ ปกติจ่ายจากงบเดี่ยวซึ่งขาดทุน แต่จ่ายจากกำไรสะสม
วาระ 4
+ เลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ 7ท่าน กลับเข้ามาใหม่
วาระ 5
+ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ 9.63ล้าน เท่าปีที่แล้ว
+ ปีที่แล้วจ่ายจริง 8.36ล้าน
วาระ 6
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี ดีลอยท์ ค่าตอบแทน 2.78ล้าน
+ ปี2561 จ่าย 2.715ล้าน
วาระ 7
+ ยกเลิกวัตถุประสงค์บริษัท เรื่องประกอบกิจการโรงพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ เพราะไม่ได้ทำธุรกิจนี้อยู่แล้ว
วาระ 8
+ อื่นๆ
+ ภัยแล้ง ผลผลิตจะลดเท่าไร ตอบ ผลรวมทั้งประเทศน่าจะลด 40-50%
+ ฝุ่น pm2.5ที่เกิดจากการเผาอ้อย ตอบ มีการปรับปรุงเครื่องจักรในการเผา เพิ่มราคาอ้อยสดให้ชาวไร่เพื่อจูงใจ ส่งเสริมให้ใช้ลถตัดอ้อย
+ จะใช้ ai มาคำนวนผลผลิตในโลกหรือไม่ ตอบ เริ่มใช้โรบอตจัดเก็บน้ำตาล ใช้โดรน ดาวเทียมมาดูสภาพแล้ง แต่ต้องเก็บข้อมูลอีกซักพัก
+ สถานการณ์ในตลาดโลก ตอบ ขึ้นกับสต๊อกยังเหลือเยอะ แต่ปริมาณอ้อยลดลง ราคาคงยังไม่ขึ้นลงมากเท่าไร
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6513620029
25/02/2020 9:30
+ ผู้ร่วมประชุม 185ราย มาด้วยตนเอง 125ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 74%
วาระ 1
+ รับทราบผลการดำเนินงาน สิ้นสุด 31/10/2562
+ รายได้ 17855ล ไกล้เคียงปีก่อน 17813
+ กำไร 822ล ลดลงจาก 848ล
+ โครงสร้างรายได้ ขายน้ำตาล86% ไฟฟ้า7.4% บริการ2% อื่นๆ4%
+ ราคาน้ำตาลลดลง เพราะบางประเทศมีสต๊อกอยู่มาก
+ ธุรกิจไฟฟ้า กำไร 787ล
+ bbgi บริษัทถือ 40% ได้ส่วนแบ่งกำไร 68ล
วาระ 2
+ งบปี สิ้นสุด 31/10/2562
+ กำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น เพราะวัตถุดิบราคาลง
+ รายได้อื่น เพิ่มจากเงินชดเชยจากกองทุนอ้อย
+ de 1.32เท่า ibd 1.16เท่า
+ ผถห.เสนอให้ซื้อหุ้นคืน
+ รายการเงินสดที่เพิ่มมาก ตอบ มีการส่งสินค้าวันสุดท้าย สัปดาห์ต่อมาก็กลับมาเป็นปกติ
+ หุ้นกู้ใช้ไป 7000ล ibd ห้ามเกิน 2เท่า แต่คงไม่ถึง
+ คชจบริหารกองทุนอ้อยและน้ำตาล ยังมีส่ง kg ละ 5บ จากเดือนพย61-กย62
+ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าอสังหา เพิ่มจากเดิม 73ล เป็นการตีมูลค่าที่ดิน
+ ที่ดินเกาะกง ได้สัมปทานปลูกอ้อย แต่หยุดประกอบการชั่วคราวเลยต้องด้อยค่า
+ ต้นทุนการเงิน จะลดลงไหม ตอบ ต้องทำกำไรเยอะๆ
+ กำไรจากบร่วม ลดลงจาก bbgi 80กว่าล้าน เหลือ 60กว่าล้าน
+ ผลตอบแทนสะหวันนะเขต ตอบ ที่ลาวยังขาดทุน 20ล แต่น้อยลงจากร้อยกว่าล้าน คุณภาพน้ำตาลดี ตอนนี้ 2แสนตัน ขาดทุนสะสม 669ล
+ เกาะกง ได้ที่สัมปทาน90ปี 1.2แสนไร่ ราคาที่ขึ้นเรื่อยๆ ถ้าราคาน้ำตาลดีขึ้นจะกลับมาผลิต ขาดทุนสะสม1880ล ส่วนของเรา 1500ล
+ สัมปทาน เป็น2บริษัทเพราะ เขาจำกัดบริษัทละ 1หมื่นเฮกตาร์
+ ด้อยค่าสินค้าคงเหลือ คืออะไร ตอบ ปุ๋ย
+ กองทุนน้ำตาลที่ยกเลิก มีผลกับบริษัทอย่างไร ตอบ ตั้งแต่ลอยตัวราคาน้ำตาลเมื่อ 3ปีก่อน ยังมีการคิดราคาส่งออก kgละ 11-12บ ราคาที่ขายเกินส่งออก กองทุนเก็บไว้ และส่งให้รงและชาวไร่ 70:30
+ ปี63 มีราคาอ้างอิงในประเทศแล้ว 17.25บ - 18.25บ
+ ผู้บริโภค ไม่ได้ผลกระทบ มาจิ้นจะไปอยู่ที่ผู้ผลิตน้ำดื่ม นมข้นหวาน ชาวไร่ ได้ส่วนแบ่ง 70% ลดลง
+ ปริมาณการขายน้ำตาล ตอบ ต่างไม่เยอะ 1.2ล้านตัน
+ คชจขายที่เพิ่มขึ้น 23% ตอบ จากปริมาณการขายที่เพิ่ม
+ bbgi ที่จะเข้าตลาด ตอบ กำลังยื่น ipo ปีนี้น่าจะดี ปริมาณวัตถุดิบลดลง กากน้ำตาลแพงขึ้น เอทานอลราคาสูงขึ้น น่าจะเป็นปีแรกที่กากน้ำตาลและมันแพงทั้งคู่ซึ่งง่าย
+ เกาะกง หน้า145 ยังมีการเพิ่มทุน ตอบ มีการขาดทุนเกินกึ่งหนึ่ง จึงต้องเพิ่มทุน ซึ่งเป็นหนี้ที่ยืมเราอยู่แล้ว เปลี่ยนหนี้เป็นทุน
+ มองว่าจะทำอย่างไร ตอบ ถ้าราคาน้ำตาลขึ้น 30-40เซน ก็เริ่มใหม่หีบอ้อยใหม่ ถ้ายังไม่ทำปีนึงคชจ10กว่าล้านเพื่อรักษาทรัพย์สิน จีนไปลงทุนโรงน้ำตาลก็ยังเจ๊งอยู่
+ การให้เกี้ยว ให้น้อยลง 30-40% ส่วนใหญ่จะมีหลักทรัพย์ค้ำ
+ อยากให้เล่าภาพรวมกฏเกณใหม่ของกองทุนอ้อย ตอบ จะตรงไปตรงมามากขึ้น ก่อนลอยตัว ขาย19บ จ่ายให้กอง5บาท แต่ต่อไปรายได้ที่เห็นจะแบ่งกับชาวไร่แล้ว
+ จะกำไรดี ต้องราคาขายสูง และไทยผลผลิตเยอะ แต่ปีนี้ไม่ถือว่าดีที่สุด
วาระ 3
+ ปันผล 0.05บ เป็นเงิน 220.5ล้าน จากกำไรสะสม ถึงแม้ว่างบเฉพาะกิจการจะขาดทุน
+ ผถหสอบถามว่าทำไมจ่าย 25% ตอบ ปกติจ่ายจากงบเดี่ยวซึ่งขาดทุน แต่จ่ายจากกำไรสะสม
วาระ 4
+ เลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ 7ท่าน กลับเข้ามาใหม่
วาระ 5
+ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ 9.63ล้าน เท่าปีที่แล้ว
+ ปีที่แล้วจ่ายจริง 8.36ล้าน
วาระ 6
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี ดีลอยท์ ค่าตอบแทน 2.78ล้าน
+ ปี2561 จ่าย 2.715ล้าน
วาระ 7
+ ยกเลิกวัตถุประสงค์บริษัท เรื่องประกอบกิจการโรงพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ เพราะไม่ได้ทำธุรกิจนี้อยู่แล้ว
วาระ 8
+ อื่นๆ
+ ภัยแล้ง ผลผลิตจะลดเท่าไร ตอบ ผลรวมทั้งประเทศน่าจะลด 40-50%
+ ฝุ่น pm2.5ที่เกิดจากการเผาอ้อย ตอบ มีการปรับปรุงเครื่องจักรในการเผา เพิ่มราคาอ้อยสดให้ชาวไร่เพื่อจูงใจ ส่งเสริมให้ใช้ลถตัดอ้อย
+ จะใช้ ai มาคำนวนผลผลิตในโลกหรือไม่ ตอบ เริ่มใช้โรบอตจัดเก็บน้ำตาล ใช้โดรน ดาวเทียมมาดูสภาพแล้ง แต่ต้องเก็บข้อมูลอีกซักพัก
+ สถานการณ์ในตลาดโลก ตอบ ขึ้นกับสต๊อกยังเหลือเยอะ แต่ปริมาณอ้อยลดลง ราคาคงยังไม่ขึ้นลงมากเท่าไร
ดูรูปได้ที่
https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 6513620029
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 9
CGD EGM 2020
24/02/2020 9:30
ถือเป็นวันที่ตลาดหลักทรัพย์ตกหนัก4%มากสุดในภูมิภาค
โดยเฉพาะจีน ที่เป็นต้นกำเนิด โคโลน่าไวรัส หรือ Covid-19 ยังตกน้อยกว่าเราเลย
มาเข้าเรื่องการประชุม
ผมเห็นการจัดห้องประชุมแล้ว
โต๊ะที่นั่งจัดให้กับกรรมการและผู้บริหาร
แต่ไม่มีให้กับผู้ถือหุ้นมาร่วมประชุม
ทำให้ผู้ถือหุ้นนั่งแต่เก้าอี้ น่าจะจัดเผื่อผู้สูงสัยด้วย
ปรากฏว่าเริ่มประชุม ผู้บริหารมานั่งกันไม่เกิน5คน
ที่เหลือ ว่างจน ผู้สูงวัยมานั่งแทน
คราวหน้า น่าจะแบ่งส่วนนึงให้ผู้ถือหุ้นด้วยนะครับ
+ ผู้ร่วมประชุม 145ราย มาด้วยตนเอง 46ราย รับมอบ 99ราย
คิดเป็นจำนวนหุ้น 77.4654%
คิดเป็นหุ้น 6,403,391,042หุ้น
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 26/04/2562
ไม่มีคำถามจากผู้มาร่วมประชุม
มติ ผ่าน
วาระ 2
+ อนุมัติวงเงินการออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติมของบริษัท
จำนวน 2,000 ลบ รวมของเดิมจะเป็น 7,000ลบ
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ค้างอยู่ 4รุ่น 4213ล้าน ดอกเบี้ย 7-7.25%
+ ที่ต้องขอวงเงินเพราะ มีนาคมนี้ จะมีหุ้นกู้หมดอายุ 2,000ลบ
ถ้าออกรุ่นใหม่มาไถ่ถอนจะเกินวงเงินที่ขอไว้5,000ลบ
เลยต้องขออนุมัติเสนอขายหุ้นกู้อีก 2,000 ลบ
สรุปว่าท้ายสุด ยอดหุ้นกู้ ก็จะไม่เกิน 5,000ลบ
+ ตอนนี้ de 4.5เท่าเพิ่มจาก ธค 18. ที่3.7เท่า
ส่วน ที่มีภาระดอกเบี้ย 3.5เท่า เพิ่มจาก ธค 18 ที่ 2.8เท่า
+ มีเงินรับล่วงหน้า 4,200ลบ ที่จะทยอยโอน
สัดส่วนหนี้สินเทียบกับส่วนผู้ถือหุ้น
1.เงินกู้โครงการเจ้าพระยาเอสเตท 57%
2.เงินกู้โครงการโอวินดีน 2%
3.ตั๋วแลกเงินระยะสั้น 1%
4.หุ้นกู้ระยะยาว 18%
5.เงินมัดจำรับล่วงหน้า 19%
6.อื่นๆ 3%
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ คุณวันชัย อาสาพิทักษ์สิทธิ์ จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สอบถามรายละเอียดเรื่องหุ้นกู้ตัวใหม่ ดอกเบี้ยเท่าไหร่
ซึ่งไม่ได้บอกตอนประชุม
เป้าหมายสำหรับคนถือหุ้นเดิมหรือกลุ่มอื่น
ตอบ หุ้นกู้ชุดใหม่ 2,000ลบ อัตราผลตอบแทนประมาณ 7-7.25% ใช้หลักประกันเดิม อายุ 2ปีเท่าเดิม ขายHigh networkและลูกค้าสถาบัน
+ ถามว่า รร นานาชาติเป็นอย่างไรบ้าง และ สอบถามโครงการประเทศื่นเป็นอย่างไร
+ ตอบ มี2โครงการ โครงการโอวินดีนที่อังกฤษซื้อมาปี 2016 มีค่าเช่าสม่ำเสมอ ตอนนี้ยังเก็บค่าเช่าอยู่
อาจจะมีแผนการขายถ้าผลตอบแทนดี ไม่มีพฒนาส่วนนี้
ส่วนโครงการที่พระราม 3 เป็นรรนานาชาติ kindergarten เกรด1ถึงเกรด 12 รายละเอียดจะอยู่ในประชุมผถห 28 เมษา
จบประชุม
24/02/2020 9:30
ถือเป็นวันที่ตลาดหลักทรัพย์ตกหนัก4%มากสุดในภูมิภาค
โดยเฉพาะจีน ที่เป็นต้นกำเนิด โคโลน่าไวรัส หรือ Covid-19 ยังตกน้อยกว่าเราเลย
มาเข้าเรื่องการประชุม
ผมเห็นการจัดห้องประชุมแล้ว
โต๊ะที่นั่งจัดให้กับกรรมการและผู้บริหาร
แต่ไม่มีให้กับผู้ถือหุ้นมาร่วมประชุม
ทำให้ผู้ถือหุ้นนั่งแต่เก้าอี้ น่าจะจัดเผื่อผู้สูงสัยด้วย
ปรากฏว่าเริ่มประชุม ผู้บริหารมานั่งกันไม่เกิน5คน
ที่เหลือ ว่างจน ผู้สูงวัยมานั่งแทน
คราวหน้า น่าจะแบ่งส่วนนึงให้ผู้ถือหุ้นด้วยนะครับ
+ ผู้ร่วมประชุม 145ราย มาด้วยตนเอง 46ราย รับมอบ 99ราย
คิดเป็นจำนวนหุ้น 77.4654%
คิดเป็นหุ้น 6,403,391,042หุ้น
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 26/04/2562
ไม่มีคำถามจากผู้มาร่วมประชุม
มติ ผ่าน
วาระ 2
+ อนุมัติวงเงินการออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติมของบริษัท
จำนวน 2,000 ลบ รวมของเดิมจะเป็น 7,000ลบ
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ค้างอยู่ 4รุ่น 4213ล้าน ดอกเบี้ย 7-7.25%
+ ที่ต้องขอวงเงินเพราะ มีนาคมนี้ จะมีหุ้นกู้หมดอายุ 2,000ลบ
ถ้าออกรุ่นใหม่มาไถ่ถอนจะเกินวงเงินที่ขอไว้5,000ลบ
เลยต้องขออนุมัติเสนอขายหุ้นกู้อีก 2,000 ลบ
สรุปว่าท้ายสุด ยอดหุ้นกู้ ก็จะไม่เกิน 5,000ลบ
+ ตอนนี้ de 4.5เท่าเพิ่มจาก ธค 18. ที่3.7เท่า
ส่วน ที่มีภาระดอกเบี้ย 3.5เท่า เพิ่มจาก ธค 18 ที่ 2.8เท่า
+ มีเงินรับล่วงหน้า 4,200ลบ ที่จะทยอยโอน
สัดส่วนหนี้สินเทียบกับส่วนผู้ถือหุ้น
1.เงินกู้โครงการเจ้าพระยาเอสเตท 57%
2.เงินกู้โครงการโอวินดีน 2%
3.ตั๋วแลกเงินระยะสั้น 1%
4.หุ้นกู้ระยะยาว 18%
5.เงินมัดจำรับล่วงหน้า 19%
6.อื่นๆ 3%
วาระ 3
+ อื่นๆ
+ คุณวันชัย อาสาพิทักษ์สิทธิ์ จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สอบถามรายละเอียดเรื่องหุ้นกู้ตัวใหม่ ดอกเบี้ยเท่าไหร่
ซึ่งไม่ได้บอกตอนประชุม
เป้าหมายสำหรับคนถือหุ้นเดิมหรือกลุ่มอื่น
ตอบ หุ้นกู้ชุดใหม่ 2,000ลบ อัตราผลตอบแทนประมาณ 7-7.25% ใช้หลักประกันเดิม อายุ 2ปีเท่าเดิม ขายHigh networkและลูกค้าสถาบัน
+ ถามว่า รร นานาชาติเป็นอย่างไรบ้าง และ สอบถามโครงการประเทศื่นเป็นอย่างไร
+ ตอบ มี2โครงการ โครงการโอวินดีนที่อังกฤษซื้อมาปี 2016 มีค่าเช่าสม่ำเสมอ ตอนนี้ยังเก็บค่าเช่าอยู่
อาจจะมีแผนการขายถ้าผลตอบแทนดี ไม่มีพฒนาส่วนนี้
ส่วนโครงการที่พระราม 3 เป็นรรนานาชาติ kindergarten เกรด1ถึงเกรด 12 รายละเอียดจะอยู่ในประชุมผถห 28 เมษา
จบประชุม
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 10
AGM SF 25 MAR 2020 15.00
ผู้เข้าประชุม 208 ราย รวมจำนวนหุ้น 1,158,782,279 หุ้น
วาระที่ 1 – 7 ใช้เวลาอนุมัติ แค่ 10 นาที ก็เสร็จ
มาฟังคำถามและคำตอบในวารที่ 8 อื่นๆกันครับ
Q: ศูนย์การค้าที่ Marketplace ดุสิต มีการเช่าคิดเป็น กี่%
A: ประมาณ 80%
Q: ผลกระทบจาก Covid-19 เป็นอย่างไร
A: ผลกระทบที่เราพึ่งเจอมา เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่มีใครคาดการณ์ได้
การสั่งปิดโรงหนังก็เร็วมากในช่วง 17-18 มีค ที่ผ่านมา เราไม่สามารถคำนวณผลกระทบได้
กำลังเจรจากับผู้เช่าเรื่องการลดค่าเช่า supermarketไม่ค่อยได้รับผลกระทบ
แต่บางราย อาจลดค่าเช่าให้ ส่วนที่ Mega บางนา ก็กำลังต่อรอง เช่น Top supermarket เราshareรายได้
ตอนนี้ขายดี ก็ได้รับรายได้มากขึ้น เรากำลังพิจารณาในการลดค่าใช้จ่ายที่หยุดไป 22 วัน
ซึ่งรอมาตรการใหม่จากรัฐบาลอีก ยังคาดการณ์ไม่จบ ต้องดูว่ากระทบต่อ ศก ไทยเท่าไหร่
ตอนต้มยำกุ้ง และ แฮมเบอร์เกอร์ Crisis เป็นวิกฤตจากความโลภ
แต่คราวนี้ โรคระบาดและตามด้วยวิกฤต ศก หนักกว่า 2 ครั้งก่อน
GDP สิ้นปีคาดว่า ติดลบ3% แต่ในวิกฤตมีข้อดีต่างจาก สองครั้งก่อน
1.ราคาน้ำมันคราวนี้ถูกมาก
2.เงินเฟ้อต่ำ
3. ว่างงานแค่ 1%
4.ฐานะทางการเงินของประเทศแข็งแกร่งมาก
ภาพรวมยังแข็งแรง แต่ก็ยังคางเหลือง
ความเหลื่อมล้ำของไทยอยู่ในอันดับที่42 ดีกว่า สหรัฐ ฮ่องกง จีน และ สิงคโปร์
แต่วิกฤตคราวนี้ หนักกว่าคราวที่แล้ว ตอนนี้หุ้นไทยไม่ได้ตกหนักสุดแล้ว อินโด และ ฟิลิปปินส์ลงเยอะกว่า
จีนเริ่มอนุญาตให้เดินทางได้ใน 8 เมษายน สำหรับอู่เหว่ย Lock down ประเทศแค่ 2 เดือน
ส่วนไทยคงประมาณ 3-4 เดือน ภายในQ3 น่าจะpick up ได้ Q4 คนจีนน่าจะกลับมาเที่ยวไทย
Q: มุมมองสำหรับสถานการณ์ก่อน Covid-19 ที่จะมี Bangkok Mallจะเข้ามา มีมุมมองอย่างไร
A: เราคาดว่า ห้างใหม่ ร้านค้าจะชะลอการตัดสินใจ การแข่งขันน่าจะชะลอออกไป
Q: มุมมองต่อการdisrupt อนาคตจะเดินห้างน้อยลงหรือไม่
A: Nature คนเอเชียอากาศร้อน เมื่อสถานการณ์คลี่คลาย คนจะเข้าห้างปกติ
Megaบางนา ทำ online Platformให้ทุกร้านค้า เพื่อให้มีโอกาส diversify เพื่อเพิ่มยอดขายให้ร้านค้า
เพื่อให้ร้านค้าสามารถจ่ายค่าเช่าให้เราเหมือนเดิมได้
จบการประชุม 15.40
ผู้เข้าประชุม 208 ราย รวมจำนวนหุ้น 1,158,782,279 หุ้น
วาระที่ 1 – 7 ใช้เวลาอนุมัติ แค่ 10 นาที ก็เสร็จ
มาฟังคำถามและคำตอบในวารที่ 8 อื่นๆกันครับ
Q: ศูนย์การค้าที่ Marketplace ดุสิต มีการเช่าคิดเป็น กี่%
A: ประมาณ 80%
Q: ผลกระทบจาก Covid-19 เป็นอย่างไร
A: ผลกระทบที่เราพึ่งเจอมา เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่มีใครคาดการณ์ได้
การสั่งปิดโรงหนังก็เร็วมากในช่วง 17-18 มีค ที่ผ่านมา เราไม่สามารถคำนวณผลกระทบได้
กำลังเจรจากับผู้เช่าเรื่องการลดค่าเช่า supermarketไม่ค่อยได้รับผลกระทบ
แต่บางราย อาจลดค่าเช่าให้ ส่วนที่ Mega บางนา ก็กำลังต่อรอง เช่น Top supermarket เราshareรายได้
ตอนนี้ขายดี ก็ได้รับรายได้มากขึ้น เรากำลังพิจารณาในการลดค่าใช้จ่ายที่หยุดไป 22 วัน
ซึ่งรอมาตรการใหม่จากรัฐบาลอีก ยังคาดการณ์ไม่จบ ต้องดูว่ากระทบต่อ ศก ไทยเท่าไหร่
ตอนต้มยำกุ้ง และ แฮมเบอร์เกอร์ Crisis เป็นวิกฤตจากความโลภ
แต่คราวนี้ โรคระบาดและตามด้วยวิกฤต ศก หนักกว่า 2 ครั้งก่อน
GDP สิ้นปีคาดว่า ติดลบ3% แต่ในวิกฤตมีข้อดีต่างจาก สองครั้งก่อน
1.ราคาน้ำมันคราวนี้ถูกมาก
2.เงินเฟ้อต่ำ
3. ว่างงานแค่ 1%
4.ฐานะทางการเงินของประเทศแข็งแกร่งมาก
ภาพรวมยังแข็งแรง แต่ก็ยังคางเหลือง
ความเหลื่อมล้ำของไทยอยู่ในอันดับที่42 ดีกว่า สหรัฐ ฮ่องกง จีน และ สิงคโปร์
แต่วิกฤตคราวนี้ หนักกว่าคราวที่แล้ว ตอนนี้หุ้นไทยไม่ได้ตกหนักสุดแล้ว อินโด และ ฟิลิปปินส์ลงเยอะกว่า
จีนเริ่มอนุญาตให้เดินทางได้ใน 8 เมษายน สำหรับอู่เหว่ย Lock down ประเทศแค่ 2 เดือน
ส่วนไทยคงประมาณ 3-4 เดือน ภายในQ3 น่าจะpick up ได้ Q4 คนจีนน่าจะกลับมาเที่ยวไทย
Q: มุมมองสำหรับสถานการณ์ก่อน Covid-19 ที่จะมี Bangkok Mallจะเข้ามา มีมุมมองอย่างไร
A: เราคาดว่า ห้างใหม่ ร้านค้าจะชะลอการตัดสินใจ การแข่งขันน่าจะชะลอออกไป
Q: มุมมองต่อการdisrupt อนาคตจะเดินห้างน้อยลงหรือไม่
A: Nature คนเอเชียอากาศร้อน เมื่อสถานการณ์คลี่คลาย คนจะเข้าห้างปกติ
Megaบางนา ทำ online Platformให้ทุกร้านค้า เพื่อให้มีโอกาส diversify เพื่อเพิ่มยอดขายให้ร้านค้า
เพื่อให้ร้านค้าสามารถจ่ายค่าเช่าให้เราเหมือนเดิมได้
จบการประชุม 15.40
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 11
AGM KBANK 2 APR 2020 14.00
มีผู้เข้าร่วมประชุม 2,869 คน คิดเป็น 1,272,269,872 หุ้น = 53.6979%
คุณบัณฑูร ประธานกรรมการ ทักทายผู้ถือหุ้นที่มาประชุมว่า จริงๆไม่อยากให้มาเลย
เป็นห่วงเรื่องโรคระบาด ส่วนตัว ก็คิดเช่นนั้น แต่ก็เป็นโอกาสสุดท้ายได้ประชุมกับ
คุณบัณฑูร เพราะ ท่านได้ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการแล้วหลังประชุมเสร็จสิ้น
วาระที่ 1-8 มีมติอนุมัติ
วาระที่ 9 อื่นๆ
วาระที่1
ผู้บริหารได้พูดถึงโครงการซื้อหุ้นคืนในตลาดหลักทรัพย์ สิ้นสุดเมื่อ 27 กพ ได้หุ้น 23,932,600 หุ้น คิดเป็น 1%ของหุ้นที่จำหน่าย และ ธนาคารมีเงินกองทุนเพียงพอ และ มีสินทรัพย์สภาพคล่อง ROE,EPS ก็สูงขึ้นจากการซื้อหุ้นคืน
อนาคตอาจขายคืนในตลาดหลักทรัพย์หรือขายให้ประชาชนทั่วไป จะแจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบ ซึ่งกำหนดการหลังจาก
ซื้อหุ้นคืนเสร็จ 6เดือนถึง 3 ปี
วาระที่2
คุณขัตติยา กรรมการผู้จัดการได้แจ้งถึงผลการดำเนินงาน
1.ผลการดำเนินงานในจีนดีขึ้น เป็นไปตามเป้าหมาย ปีที่แล้ว สินเชื่อดีขึ้น และ สินทรัพย์มีคุณภาพดี
2.ผลการดำเนินงานใน ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม
ที่กัมพูชา เป็นบริษัทร่วมทุน กับเมืองไทยประกันชีวิตซึ่งถือ 49% เบี้ยปีแรกสูงขึ้น
ส่วนที่ลาว เมืองไทยประกันชีวิตถือหุ้น 22.5%ในบริษัทร่วม
ส่วนที่เวียดนาม เมืองไทยประกันชีวิต ก็ดำเนินงานได้เป้าหมายที่วางไว้ เบี้ยปีแรกสูงขึ้น
3.แนวทางในการหารายได้อื่นๆ ที่ไม่ถูกจำกัดจาก ธปท โดยการเอาเทคโนโลยีมาสร้างรายได้ใหม่ของธนาคาร
Q; ถ้าวิกฤต ธนาคารมีมาตรการอย่างไร
A: ธนาคารพาณิชย์ส่วนใหญ่มีเงินกองทุนสูง มีสภาพคล่องทางการเงินสูง ไม่น่าจะเกิดผลรุนแรงดังกล่าว
Q: กำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุน เกิดจากอะไร
A:เกิดจาการขายหุ้นที่ธนาคารถืออยู่ และ การถือตราสารหนี้เพิ่มขึ้น เนื่องจากผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
Q: หนี้เสียที่เพิ่มขึ้น มีการตั้งสำรองที่เพียงพอไหม รับมือกับวิกฤตอย่างไร
A: กำลังทบทวน และ จะแจ้งให้ทราบภายหลัง
Q: สอบถามเรื่องอัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องเป็นอย่างไร
A: LCR Q4 2562 = 189% สูงกว่าเกณฑ์ที่ ธปท กำหนดคือ 90%
Q: สอบถามว่า กำไรที่อยู่ในส่วนที่เสียภาษี30% ยังเหลืออีกเท่าไหร่ หลังจากปันผลครั้งนี้
A: เหลือ 4,000 ลบ เพียงพอกับปันผลระหว่างกาลในปีนี้
Q: ค่าตอบแทนกรรมการสูงขึ้นสวนทางกับกำไรที่ลดลง อยากให้อธิบาย
A: เราพิจารณาตามความเหมาะสมกับงานที่ได้รับ และ เปรียบเทียบกับกรรมการในอุตสาหกรรมเดียวกัน
ปี61ค่าตอบแทนกรรมการค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม เลยเสนอเพิ่มค่าตอบแทน
ปี63 เสนอค่าตอบแทนเท่ากับปี 62
การจ่ายปันผลจะคำนึงผลตอบแทนในระยะยาว มีกองทุนที่แข็งแกร่ง
ปี62 กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เลยจ่ายปันผลคิดเป็น 34%ของกำไรสุทธิ คิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้น 5.03%
Q: ค่าตรวจสอบบัญชี ทำไมเพิ่มขึ้น 2 ล้านบาทโดยรวม
A: มาจากงานตรวจสอบที่เพิ่มขึ้น จาก IFRS7,9
จบการประชุม
มีผู้เข้าร่วมประชุม 2,869 คน คิดเป็น 1,272,269,872 หุ้น = 53.6979%
คุณบัณฑูร ประธานกรรมการ ทักทายผู้ถือหุ้นที่มาประชุมว่า จริงๆไม่อยากให้มาเลย
เป็นห่วงเรื่องโรคระบาด ส่วนตัว ก็คิดเช่นนั้น แต่ก็เป็นโอกาสสุดท้ายได้ประชุมกับ
คุณบัณฑูร เพราะ ท่านได้ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการแล้วหลังประชุมเสร็จสิ้น
วาระที่ 1-8 มีมติอนุมัติ
วาระที่ 9 อื่นๆ
วาระที่1
ผู้บริหารได้พูดถึงโครงการซื้อหุ้นคืนในตลาดหลักทรัพย์ สิ้นสุดเมื่อ 27 กพ ได้หุ้น 23,932,600 หุ้น คิดเป็น 1%ของหุ้นที่จำหน่าย และ ธนาคารมีเงินกองทุนเพียงพอ และ มีสินทรัพย์สภาพคล่อง ROE,EPS ก็สูงขึ้นจากการซื้อหุ้นคืน
อนาคตอาจขายคืนในตลาดหลักทรัพย์หรือขายให้ประชาชนทั่วไป จะแจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบ ซึ่งกำหนดการหลังจาก
ซื้อหุ้นคืนเสร็จ 6เดือนถึง 3 ปี
วาระที่2
คุณขัตติยา กรรมการผู้จัดการได้แจ้งถึงผลการดำเนินงาน
1.ผลการดำเนินงานในจีนดีขึ้น เป็นไปตามเป้าหมาย ปีที่แล้ว สินเชื่อดีขึ้น และ สินทรัพย์มีคุณภาพดี
2.ผลการดำเนินงานใน ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม
ที่กัมพูชา เป็นบริษัทร่วมทุน กับเมืองไทยประกันชีวิตซึ่งถือ 49% เบี้ยปีแรกสูงขึ้น
ส่วนที่ลาว เมืองไทยประกันชีวิตถือหุ้น 22.5%ในบริษัทร่วม
ส่วนที่เวียดนาม เมืองไทยประกันชีวิต ก็ดำเนินงานได้เป้าหมายที่วางไว้ เบี้ยปีแรกสูงขึ้น
3.แนวทางในการหารายได้อื่นๆ ที่ไม่ถูกจำกัดจาก ธปท โดยการเอาเทคโนโลยีมาสร้างรายได้ใหม่ของธนาคาร
Q; ถ้าวิกฤต ธนาคารมีมาตรการอย่างไร
A: ธนาคารพาณิชย์ส่วนใหญ่มีเงินกองทุนสูง มีสภาพคล่องทางการเงินสูง ไม่น่าจะเกิดผลรุนแรงดังกล่าว
Q: กำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุน เกิดจากอะไร
A:เกิดจาการขายหุ้นที่ธนาคารถืออยู่ และ การถือตราสารหนี้เพิ่มขึ้น เนื่องจากผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
Q: หนี้เสียที่เพิ่มขึ้น มีการตั้งสำรองที่เพียงพอไหม รับมือกับวิกฤตอย่างไร
A: กำลังทบทวน และ จะแจ้งให้ทราบภายหลัง
Q: สอบถามเรื่องอัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องเป็นอย่างไร
A: LCR Q4 2562 = 189% สูงกว่าเกณฑ์ที่ ธปท กำหนดคือ 90%
Q: สอบถามว่า กำไรที่อยู่ในส่วนที่เสียภาษี30% ยังเหลืออีกเท่าไหร่ หลังจากปันผลครั้งนี้
A: เหลือ 4,000 ลบ เพียงพอกับปันผลระหว่างกาลในปีนี้
Q: ค่าตอบแทนกรรมการสูงขึ้นสวนทางกับกำไรที่ลดลง อยากให้อธิบาย
A: เราพิจารณาตามความเหมาะสมกับงานที่ได้รับ และ เปรียบเทียบกับกรรมการในอุตสาหกรรมเดียวกัน
ปี61ค่าตอบแทนกรรมการค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม เลยเสนอเพิ่มค่าตอบแทน
ปี63 เสนอค่าตอบแทนเท่ากับปี 62
การจ่ายปันผลจะคำนึงผลตอบแทนในระยะยาว มีกองทุนที่แข็งแกร่ง
ปี62 กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เลยจ่ายปันผลคิดเป็น 34%ของกำไรสุทธิ คิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้น 5.03%
Q: ค่าตรวจสอบบัญชี ทำไมเพิ่มขึ้น 2 ล้านบาทโดยรวม
A: มาจากงานตรวจสอบที่เพิ่มขึ้น จาก IFRS7,9
จบการประชุม
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 12
VIH agm by คุณเอี๋ยว ครับ
- สมุทรสาคร ตึกใหม่ อาชีวะ คลีนิคพิเศษ ชั้น 2 ชะลอเปิดไปก่อนเพราะ covid
- ได้รับ รพ สีเขียว ทั้ง 3 แห่ง
- ตึกใหม่อ้อมน้อย ชั้นล่างคงเปิด q3/63 ชั้นล่างปีนี้ ค่าเสื่อมน่าจะ 2 ล ปีหน้าเปิดทั้งหมด ค่าเสื่อมปีละ 16 ล
- ตึกอาชีวะ สมุทรสาคร ค่าเสื่อมปีละ 6 ล คิวสี่ที่ผ่านมา ค่าเสื่อมจ่ายไปล้านกว่าบาท
- 1-2 ปีต่อจากนี้ ไม่มีงบลงทุนใหญ่ แต่อาจมีต้องลงทุนขยาย ER อุบัติเหตุ ที่อ้อมน้อย อีกหน่อย
- ivf ตอบรับดีขึ้น ปี 62 โต 300% success rate เกณฑ์มาตรฐาน
- หนองแขม ดำเนินการขยายอยู่?? สัญญาเหลือ 16 ปี ยังดำเนินการต่ออยู่
- covid กระทบเงินสด ปกส ไม่กระทบ คนมาน้อยลง เตรียมแผน เพิ่มรายได้ ฉีดวัคซีนนอกสถานที่ ลดรายจ่าย fix cost ลด ot ผบห ลดเงินเดือน
- เมษา กระทบเยอะ คนไข้หาย
- สมุทรสาคร ตึกใหม่ อาชีวะ คลีนิคพิเศษ ชั้น 2 ชะลอเปิดไปก่อนเพราะ covid
- ได้รับ รพ สีเขียว ทั้ง 3 แห่ง
- ตึกใหม่อ้อมน้อย ชั้นล่างคงเปิด q3/63 ชั้นล่างปีนี้ ค่าเสื่อมน่าจะ 2 ล ปีหน้าเปิดทั้งหมด ค่าเสื่อมปีละ 16 ล
- ตึกอาชีวะ สมุทรสาคร ค่าเสื่อมปีละ 6 ล คิวสี่ที่ผ่านมา ค่าเสื่อมจ่ายไปล้านกว่าบาท
- 1-2 ปีต่อจากนี้ ไม่มีงบลงทุนใหญ่ แต่อาจมีต้องลงทุนขยาย ER อุบัติเหตุ ที่อ้อมน้อย อีกหน่อย
- ivf ตอบรับดีขึ้น ปี 62 โต 300% success rate เกณฑ์มาตรฐาน
- หนองแขม ดำเนินการขยายอยู่?? สัญญาเหลือ 16 ปี ยังดำเนินการต่ออยู่
- covid กระทบเงินสด ปกส ไม่กระทบ คนมาน้อยลง เตรียมแผน เพิ่มรายได้ ฉีดวัคซีนนอกสถานที่ ลดรายจ่าย fix cost ลด ot ผบห ลดเงินเดือน
- เมษา กระทบเยอะ คนไข้หาย
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 13
LST agm ช่วงถามตอบ โดย น้องเบิ้ม วินัยครับ
1) เงินที่เหลือหลังจ่ายปันผล มีแผนเอาไปขยายการลงทุนอย่างไร มีแผนซื้อหุ้นคืนหรือไม่
- ยังไม่ซื้อหุ้นคืน ปรกติ lst มีการลงทุนต่อเนื่องทุกๆปีอยู่แล้ว เช่น ได้เคยลงทุนเครื่องฉีด preform เครื่องเป่าขวด line บรรจุ auto และ robot ท้าย line
- ปีนี้เครื่องจักรใหม่ที่จะผลิตสินค้ากลุ่มเนยและไขมัน จะเข้ามาติดตั้งใน q3 และจะปรับปรุง warehouse ใหม่
2) สินค้ากลุ่มเนยและไขมัน แผนงานเป็นอย่างไร
- มุ่งเน้นขยายด้านวัตถุดิบอาหาร เนยเทียมและไขมันพืช การแข่งขันน้อยกว่า ราคาขายมีเสถียรภาพ ต้องการความเชี่ยวชาญในการผลิต และมี gpm สูงกว่าน้ำมันปาล์ม แผนงานมุ่งเน้นเพิ่มสัดส่วนรายได้กลุ่ม HVA ให้สูงขึ้น เครื่องจักรใหม่ที่จะเข้ามาใน q3 นี้เป็นส่วนขยายของเครื่องจักรเดิม เพื่อผลิตเนื้อเบเกอรี่ สูตรใหม่ ซึ่งเดิมบริษัทจ้างผลิตนำเข้ามาทำตลาดอยู่ ต่อไปจะผลิตเอง เพิ่มสินค้า butter blend ได้อีกหลาย sku
3) บริษัทมีการขาย delivery หรือไม่
- LST ไม่มี
- UFC มีขาย online ผ่านทาง facebook, lazada และ shopee ส่งให้ผู้บริโภคโดยตรง แต่สัดส่วนยังน้อย
4) สถานการณ์ Covid-19 มีผลกระทบอย่างไร
- ไม่มีผลกระทบ LST ตอนนี้ผลิตไม่ทันส่ง (ผบห พูดแบบนี้ ถ้าผมฟังไม่ผิด) การปิดห้างให้คนอยู่บ้าน ทำให้ผู้บริโภคซื้อน้ำมันขวดสูงขึ้น ในส่วนร้านอาหารอาจใช้น้ำมันลดบ้าง แต่โดยรวมตอนนี้บริษัทยังไม่ได้รับผลกระทบ
5) แนวโน้มปีนี้เป็นอย่างไร ราคาน้ำมันตลาดโลกที่ลดลง มีผลต่อธุรกิจน้ำมันปาล์มอย่างไร
- ความต้องการใช้ไบโอดีเซลลดลง จากการหยุดอยู่บ้าน ผลปาล์มสดเริ่มออกมากขึ้น ทำให้ supply cpo ในประเทศมากขึ้น ราคาน้ำมัน cpo ลดลง โดยส่วนตัวของ ผบห ชอบสถานการณ์แบบนี้ ที่ cpo มีปริมาณมาก ซึ่ง LST จะไม่ชอบกรณี cpo ขาดแคลน
6) น้ำมันเหลือ ราคาน้ำมันลง ทำให้ margin สูงขึ้นหรือไม่
- ไม่เกี่ยว โรงกลั่นในประเทศมี 14 โรง ก็แข่งขันกัน ขึ้นกับการบริหารจัดการ stock และราคาขายของแต่ละบริษัท
7) UFC ที่ผ่านมา กำไรมีทิศทางลดลงมาต่อเนื่อง ปีนี้มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นหรือไม่
- ออกสินค้านมพืชทดแทนนมวัว น้ำนมมะพร้าว น้ำนมข้าวโอ๊ต ขนาด 1 ลิตร แต่โวลุ่มขายโดยรวมลดลงจากปีก่อนราว 10% แต่ UFC ก็ยังดีกว่าบริษัทอื่นในอุตเดียวกัน ปีนี้มีสถานการณ์ Covid-19 ยอด order ยังมีเข้ามา แต่อาจโดนกระทบบ้าง น้ำมะพร้าวยังแข่งขันสูง บริษัทจะขยาย new products, new pack size และตลาดใหม่ๆ เพิ่งลงเครื่องจักรผลิตซุปถ้วย ปัจจุบันมีขายผ่าน online 3 รสชาด ซุปข้าวโพด ซุปฟักทอง และซุปเห็ด ถ้า Covid จบจะเจรจาหาช่องทางขายอื่นเพิ่มขึ้น
8) การลงทุนเครื่องจักรผลิตน้ำผลไม้ size เล็ก
- เครื่องใหม่จะสามารถผลิตได้ 5 ขนาด 125, 150, 180, 200, 250 ml ซึ่งเหมาะกับตลาดคนเอเซีย จะเริ่มวางจำหน่ายได้ใน q2/q3 ปีนี้ ในร้านค้าปลีก และร้านสะดวกซื้อ
1) เงินที่เหลือหลังจ่ายปันผล มีแผนเอาไปขยายการลงทุนอย่างไร มีแผนซื้อหุ้นคืนหรือไม่
- ยังไม่ซื้อหุ้นคืน ปรกติ lst มีการลงทุนต่อเนื่องทุกๆปีอยู่แล้ว เช่น ได้เคยลงทุนเครื่องฉีด preform เครื่องเป่าขวด line บรรจุ auto และ robot ท้าย line
- ปีนี้เครื่องจักรใหม่ที่จะผลิตสินค้ากลุ่มเนยและไขมัน จะเข้ามาติดตั้งใน q3 และจะปรับปรุง warehouse ใหม่
2) สินค้ากลุ่มเนยและไขมัน แผนงานเป็นอย่างไร
- มุ่งเน้นขยายด้านวัตถุดิบอาหาร เนยเทียมและไขมันพืช การแข่งขันน้อยกว่า ราคาขายมีเสถียรภาพ ต้องการความเชี่ยวชาญในการผลิต และมี gpm สูงกว่าน้ำมันปาล์ม แผนงานมุ่งเน้นเพิ่มสัดส่วนรายได้กลุ่ม HVA ให้สูงขึ้น เครื่องจักรใหม่ที่จะเข้ามาใน q3 นี้เป็นส่วนขยายของเครื่องจักรเดิม เพื่อผลิตเนื้อเบเกอรี่ สูตรใหม่ ซึ่งเดิมบริษัทจ้างผลิตนำเข้ามาทำตลาดอยู่ ต่อไปจะผลิตเอง เพิ่มสินค้า butter blend ได้อีกหลาย sku
3) บริษัทมีการขาย delivery หรือไม่
- LST ไม่มี
- UFC มีขาย online ผ่านทาง facebook, lazada และ shopee ส่งให้ผู้บริโภคโดยตรง แต่สัดส่วนยังน้อย
4) สถานการณ์ Covid-19 มีผลกระทบอย่างไร
- ไม่มีผลกระทบ LST ตอนนี้ผลิตไม่ทันส่ง (ผบห พูดแบบนี้ ถ้าผมฟังไม่ผิด) การปิดห้างให้คนอยู่บ้าน ทำให้ผู้บริโภคซื้อน้ำมันขวดสูงขึ้น ในส่วนร้านอาหารอาจใช้น้ำมันลดบ้าง แต่โดยรวมตอนนี้บริษัทยังไม่ได้รับผลกระทบ
5) แนวโน้มปีนี้เป็นอย่างไร ราคาน้ำมันตลาดโลกที่ลดลง มีผลต่อธุรกิจน้ำมันปาล์มอย่างไร
- ความต้องการใช้ไบโอดีเซลลดลง จากการหยุดอยู่บ้าน ผลปาล์มสดเริ่มออกมากขึ้น ทำให้ supply cpo ในประเทศมากขึ้น ราคาน้ำมัน cpo ลดลง โดยส่วนตัวของ ผบห ชอบสถานการณ์แบบนี้ ที่ cpo มีปริมาณมาก ซึ่ง LST จะไม่ชอบกรณี cpo ขาดแคลน
6) น้ำมันเหลือ ราคาน้ำมันลง ทำให้ margin สูงขึ้นหรือไม่
- ไม่เกี่ยว โรงกลั่นในประเทศมี 14 โรง ก็แข่งขันกัน ขึ้นกับการบริหารจัดการ stock และราคาขายของแต่ละบริษัท
7) UFC ที่ผ่านมา กำไรมีทิศทางลดลงมาต่อเนื่อง ปีนี้มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นหรือไม่
- ออกสินค้านมพืชทดแทนนมวัว น้ำนมมะพร้าว น้ำนมข้าวโอ๊ต ขนาด 1 ลิตร แต่โวลุ่มขายโดยรวมลดลงจากปีก่อนราว 10% แต่ UFC ก็ยังดีกว่าบริษัทอื่นในอุตเดียวกัน ปีนี้มีสถานการณ์ Covid-19 ยอด order ยังมีเข้ามา แต่อาจโดนกระทบบ้าง น้ำมะพร้าวยังแข่งขันสูง บริษัทจะขยาย new products, new pack size และตลาดใหม่ๆ เพิ่งลงเครื่องจักรผลิตซุปถ้วย ปัจจุบันมีขายผ่าน online 3 รสชาด ซุปข้าวโพด ซุปฟักทอง และซุปเห็ด ถ้า Covid จบจะเจรจาหาช่องทางขายอื่นเพิ่มขึ้น
8) การลงทุนเครื่องจักรผลิตน้ำผลไม้ size เล็ก
- เครื่องใหม่จะสามารถผลิตได้ 5 ขนาด 125, 150, 180, 200, 250 ml ซึ่งเหมาะกับตลาดคนเอเซีย จะเริ่มวางจำหน่ายได้ใน q2/q3 ปีนี้ ในร้านค้าปลีก และร้านสะดวกซื้อ
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 14
AGM TWPC
ผถห.TWPC ยกมือโหวตปันผลงวดปี62 อัตรา 0.134 บ./หุ้น-เตรียมรับเงินสด 25พ.ค.นี้ ส่งซิกผลงานโค้งแรกเข้าเป้า-ลุยขยายธุรกิจหนุนผลงานปีนี้สดใส
ผู้ถือหุ้นTWPC ลงมติจ่ายเงินปันผลงวดปี 2562 อัตราหุ้นละ 0.134 บาท มูลค่ารวม 117.97 ล้านบาท กำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ 8 พ.ค. 2563พร้อมจ่ายเป็นเงินสดวันที่ 25 พ.ค.นี้ ด้าน"โฮ เรน ฮวา" ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประเมินผลงานโค้งแรกเป็นไปตามเป้าหมาย ยอดขายผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีทิศทางที่ดีขึ้น เดินหน้าขยายช่องทางการตลาดต่างประเทศ หนุนผลงานปีนี้สดใส มั่นใจฝ่ากระแสวิกฤติโควิด-19ระบาดทั่วโลก
นายโฮ เรน ฮวา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) (TWPC) เปิดเผยว่าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2563 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2563 มีมติอนุมัติให้บริษัทฯจ่ายเงินปันผลประจำปี 2562 ให้กับผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.134 บาท สำหรับ 880,420,930 หุ้นรวมเป็นเงินปันผลจ่ายทั้งสิ้น 117,976,404.62 ล้านบาท โดยบริษัทฯได้กำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับเงินปันผลในวันที่ 8 พฤษภาคม 2563 และจ่ายเงินปันผลในวันที่ 25 พฤษภาคม 2563
"ภาพรวมของการดำเนินธุรกิจในช่วงไตรมาส1/2563 แม้จะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคไวรัสโควิด-19 ระบาด ทำให้ธุรกิจแป้งมันสำประหลัง ได้รับผลกระทบจากการเลื่อนแผนการสั่งซื้อจากประเทศจีนในช่วงไตรมาส 1 แต่หลังจากสถานการณ์ในประเทศจีนเริ่มคลี่คลาย แนวโน้มคำสั่งซื้อจากประเทศจีนเริ่มกลับมาฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ในด้านธุรกิจอาหารซึ่งขายในประเทศในช่องทางหลัก ยังสามารถรักษาอัตราการเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่มีคุณภาพ ของบริษัทฯทำให้ผู้บริโภคไว้วางใจให้การสนับสนุน ดังนั้นมั่นใจว่าจะสามารถนำพาให้บริษัทฯผ่านวิกฤติเศรษฐกิจในรอบนี้ไปได้อย่างแน่นอน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกล่าวอีกว่า แผนการดำเนินธุรกิจในปี 2563 แม้จะได้รับผลกระทบจากสถาณการณ์โรคโควิด-19 ระบาดทั่วโลก บริษัทคาดว่า รายได้ปีนี้ยังสามารถเติบโตได้ในอัตรา high single digit จากยอดขายทุกผลิตภัณฑ์มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง การเติบโตของรายได้ในกลุ่มแป้งสำมันปะหลัง HVA จากการเพิ่มสัดส่วนการถือครองหุ้น ATP เป็น 99.50% และการขยายกำลังการผลิตมากขึ้น
ขณะเดียวกันยังมีเป้าหมายที่จะขยายธุรกิจไปยังประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเพิ่มการเติบโตของปริมาณการขายอย่างต่อเนื่อง และการพัฒนาไบโอพลาสติก (Bioplastic) หรือพลาสติกที่ย่อยสลายผลิตจากแป้งมันสำปะหลังซึ่งเป็นวัสดุฐานชีวภาพ (bio-based) ตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) ล่าสุดบริษัทฯได้จัดตั้งบริษัท ไทยวา อินโดนีเซีย จำกัด เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากแป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าว และอาหารจากแป้งอื่น ๆ
อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตั้งงบลงทุนรวมไว้ที่ประมาณ 1,000 ล้านบาท ภายในอีก 2 ปี เพื่อรองรับการขยายธุรกิจหรือต่อยอดจากธุรกิจเดิม การเติบโตจากนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ พร้อมทั้งรักษาอัตรากำไรขั้นต้นให้อยู่ในอัตราที่สูง รวมถึงการซื้อกิจการ หรือ M&A ธุรกิจต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกับ Core Business ของบริษัทฯ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็น ผู้นำธุรกิจแป้งมันสำปะหลังและอาหารจากแป้งระดับภูมิภาคเอเชียในอนาคตได้อย่างแน่นอน
ผถห.TWPC ยกมือโหวตปันผลงวดปี62 อัตรา 0.134 บ./หุ้น-เตรียมรับเงินสด 25พ.ค.นี้ ส่งซิกผลงานโค้งแรกเข้าเป้า-ลุยขยายธุรกิจหนุนผลงานปีนี้สดใส
ผู้ถือหุ้นTWPC ลงมติจ่ายเงินปันผลงวดปี 2562 อัตราหุ้นละ 0.134 บาท มูลค่ารวม 117.97 ล้านบาท กำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ 8 พ.ค. 2563พร้อมจ่ายเป็นเงินสดวันที่ 25 พ.ค.นี้ ด้าน"โฮ เรน ฮวา" ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประเมินผลงานโค้งแรกเป็นไปตามเป้าหมาย ยอดขายผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มีทิศทางที่ดีขึ้น เดินหน้าขยายช่องทางการตลาดต่างประเทศ หนุนผลงานปีนี้สดใส มั่นใจฝ่ากระแสวิกฤติโควิด-19ระบาดทั่วโลก
นายโฮ เรน ฮวา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) (TWPC) เปิดเผยว่าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2563 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2563 มีมติอนุมัติให้บริษัทฯจ่ายเงินปันผลประจำปี 2562 ให้กับผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.134 บาท สำหรับ 880,420,930 หุ้นรวมเป็นเงินปันผลจ่ายทั้งสิ้น 117,976,404.62 ล้านบาท โดยบริษัทฯได้กำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับเงินปันผลในวันที่ 8 พฤษภาคม 2563 และจ่ายเงินปันผลในวันที่ 25 พฤษภาคม 2563
"ภาพรวมของการดำเนินธุรกิจในช่วงไตรมาส1/2563 แม้จะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคไวรัสโควิด-19 ระบาด ทำให้ธุรกิจแป้งมันสำประหลัง ได้รับผลกระทบจากการเลื่อนแผนการสั่งซื้อจากประเทศจีนในช่วงไตรมาส 1 แต่หลังจากสถานการณ์ในประเทศจีนเริ่มคลี่คลาย แนวโน้มคำสั่งซื้อจากประเทศจีนเริ่มกลับมาฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ในด้านธุรกิจอาหารซึ่งขายในประเทศในช่องทางหลัก ยังสามารถรักษาอัตราการเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่มีคุณภาพ ของบริษัทฯทำให้ผู้บริโภคไว้วางใจให้การสนับสนุน ดังนั้นมั่นใจว่าจะสามารถนำพาให้บริษัทฯผ่านวิกฤติเศรษฐกิจในรอบนี้ไปได้อย่างแน่นอน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกล่าวอีกว่า แผนการดำเนินธุรกิจในปี 2563 แม้จะได้รับผลกระทบจากสถาณการณ์โรคโควิด-19 ระบาดทั่วโลก บริษัทคาดว่า รายได้ปีนี้ยังสามารถเติบโตได้ในอัตรา high single digit จากยอดขายทุกผลิตภัณฑ์มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง การเติบโตของรายได้ในกลุ่มแป้งสำมันปะหลัง HVA จากการเพิ่มสัดส่วนการถือครองหุ้น ATP เป็น 99.50% และการขยายกำลังการผลิตมากขึ้น
ขณะเดียวกันยังมีเป้าหมายที่จะขยายธุรกิจไปยังประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเพิ่มการเติบโตของปริมาณการขายอย่างต่อเนื่อง และการพัฒนาไบโอพลาสติก (Bioplastic) หรือพลาสติกที่ย่อยสลายผลิตจากแป้งมันสำปะหลังซึ่งเป็นวัสดุฐานชีวภาพ (bio-based) ตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) ล่าสุดบริษัทฯได้จัดตั้งบริษัท ไทยวา อินโดนีเซีย จำกัด เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากแป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าว และอาหารจากแป้งอื่น ๆ
อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ตั้งงบลงทุนรวมไว้ที่ประมาณ 1,000 ล้านบาท ภายในอีก 2 ปี เพื่อรองรับการขยายธุรกิจหรือต่อยอดจากธุรกิจเดิม การเติบโตจากนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ พร้อมทั้งรักษาอัตรากำไรขั้นต้นให้อยู่ในอัตราที่สูง รวมถึงการซื้อกิจการ หรือ M&A ธุรกิจต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกับ Core Business ของบริษัทฯ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็น ผู้นำธุรกิจแป้งมันสำปะหลังและอาหารจากแป้งระดับภูมิภาคเอเชียในอนาคตได้อย่างแน่นอน
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 15
AGM CGS
บล.คันทรี่ กรุ๊ป CGS ลุยธุรกิจเต็มสปีด-ขยายธุรกิจเพิ่ม เสริมทัพมาร์ ลงทุนเทคโนโลยีใหม่เสิร์ฟลูกค้า ตั้งเป้าขึ้นเป็นผู้นำบล.ให้บริการแบบครบวงจรหลัง ผถห. อนุมัติออกหุ้นกู้มูลค่าไม่เกิน 3.5 พันลบ.
ผู้ถือหุ้น CGS ลงมติอนุมัติให้วงเงินในการเสนอขายหุ้นกู้หรือตั๋วแลกเงิน มูลค่ารวม 3.5 พันล้านบาท พร้อมรับรองผลการดำเนินงานปี62 มีกำไรสุทธิ 138.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น700% จากงวดเดียวปีก่อน ฟาก" ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์" ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลั่นพร้อมเดินหน้าขยายธุรกิจทุกประเภท ทั้งบริการในตลาดทุนและตราสารหนี้ รับและขยายทีมมาร์เก็ตติ้งเพิ่ม พร้อมลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ เพิ่มบริการลูกค้า ปักธงขึ้นแท่นเป็นผู้นำธุรกิจหลักทรัพย์แบบครบวงจร
ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์ คันทรี่กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือ CGS เปิดเผยว่าเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2563 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2563 อนุมัติให้ออกและเสนอขายตั๋วแลกเงิน หรือหุ้นกู้ หรือตราสารหนี้อื่นใด มูลค่ารวมไม่เกิน 3.5 พันล้านบาท และรับรองผลการดำเนินงานในงวดประจำปี 2562 มีกำไรสุทธิอยู่ที่ 138.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 700% จากงวดเดียวปีก่อนมีกำไรสุทธิอยู่ที่ 17.32 ล้านบาท
"ภาพรวมการดำเนินธุรกิจในปีนี้ เรามีความเชื่อมั่นว่าหลังจากที่ดำเนินการปรับองค์กรใหม่แล้ว สถานการณ์ธุรกิจจะมีทิศทางที่ดีขึ้น โดยระยะสั้นมีการขยายโครงสร้างพื้นฐานมีการเพิ่มทรัพยากรบุคคลที่เชี่ยวชาญ และมีคุณภาพ เพื่อให้บริการลูกค้า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เชื่อว่าอาจจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยบริษัทมีแผนขยายธุรกิจอื่นเพิ่มเติม อาทิเช่น ธุรกิจให้บริการซื้อขายหุ้นรายตัวโดยใช้ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกรรมด้านตราสารหนี้ ธุรกรรมการยืม และการให้ยืมหลักทรัพย์ และธุรกรรมทางด้านสถาบันต่างประเทศ และบริการอื่นๆ ซึ่งหากสามารถดำเนินการขยายธุรกิจได้ตามแผนที่วางไว้ จะทำให้ในระยะยาว สามารถเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่ให้บริการแบบครบวงจร และได้รับความไว้วางใจจากนักลงทุนเป็นอันดับต้น ๆ" ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์ กล่าว
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กล่าวอีกว่า สำหรับเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจในปีนี้ ยังคงเน้นด้านการให้บริการที่รอบด้าน เพื่อรองรับลูกค้าให้ได้มากขึ้น โดยเน้นการเสริมธุรกิจที่มีศักยภาพ ให้มีความแข็งแรงและคล่องตัว นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน และการดำเนินงานทุกส่วนให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่างเต็มที่ พร้อมขยายทีมมาร์เกตติ้งเพิ่ม
นอกจากนี้ยังมีแผนลงทุนในเทคโนโลยีใหม่เข้ามา และอาจจะต้องมีการปรับกลยุทธ์ในการเลือกเน้นลูกค้าในแต่ละกลุ่ม มีการเน้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ๆ มากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพารายได้นอกเหนือจากค่าคอมมิชชั่นเพียงอย่างเดียว
ส่วนแนวโน้มธุรกิจหลักทรัพย์ ประเมินว่า ยังคงมีทิศทางที่ดี เนื่องจากจะเห็นได้ว่า ปัจจุบันตลาดมีการเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาเพื่อจูงใจนักลงทุน และเพิ่มโอกาสในการลงทุนมากยิ่งขึ้น ซึ่งธุรกิจหลักทรัพย์ ยังมีโอกาสเติบโตได้ ถ้ามีการเพิ่มเติมการบริการให้ครบวงจร และมีการเสริมธุรกิจอื่นเข้ามาช่วย ขณะที่การมองหาพันธมิตร ถือเป็นเรื่องที่ดีที่จะสามารถสร้างความแข็งแกร่งให้กับองค์กรได้
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 ระบาดนั้น บริษัทฯสามารถปรับตัวรับมือได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยได้มีการเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้ลงทุน ให้เจ้าหน้าที่การตลาดให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับผู้ลงทุนอย่างต่อเนื่อง
บล.คันทรี่ กรุ๊ป CGS ลุยธุรกิจเต็มสปีด-ขยายธุรกิจเพิ่ม เสริมทัพมาร์ ลงทุนเทคโนโลยีใหม่เสิร์ฟลูกค้า ตั้งเป้าขึ้นเป็นผู้นำบล.ให้บริการแบบครบวงจรหลัง ผถห. อนุมัติออกหุ้นกู้มูลค่าไม่เกิน 3.5 พันลบ.
ผู้ถือหุ้น CGS ลงมติอนุมัติให้วงเงินในการเสนอขายหุ้นกู้หรือตั๋วแลกเงิน มูลค่ารวม 3.5 พันล้านบาท พร้อมรับรองผลการดำเนินงานปี62 มีกำไรสุทธิ 138.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น700% จากงวดเดียวปีก่อน ฟาก" ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์" ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลั่นพร้อมเดินหน้าขยายธุรกิจทุกประเภท ทั้งบริการในตลาดทุนและตราสารหนี้ รับและขยายทีมมาร์เก็ตติ้งเพิ่ม พร้อมลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ เพิ่มบริการลูกค้า ปักธงขึ้นแท่นเป็นผู้นำธุรกิจหลักทรัพย์แบบครบวงจร
ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์ คันทรี่กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือ CGS เปิดเผยว่าเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2563 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2563 อนุมัติให้ออกและเสนอขายตั๋วแลกเงิน หรือหุ้นกู้ หรือตราสารหนี้อื่นใด มูลค่ารวมไม่เกิน 3.5 พันล้านบาท และรับรองผลการดำเนินงานในงวดประจำปี 2562 มีกำไรสุทธิอยู่ที่ 138.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 700% จากงวดเดียวปีก่อนมีกำไรสุทธิอยู่ที่ 17.32 ล้านบาท
"ภาพรวมการดำเนินธุรกิจในปีนี้ เรามีความเชื่อมั่นว่าหลังจากที่ดำเนินการปรับองค์กรใหม่แล้ว สถานการณ์ธุรกิจจะมีทิศทางที่ดีขึ้น โดยระยะสั้นมีการขยายโครงสร้างพื้นฐานมีการเพิ่มทรัพยากรบุคคลที่เชี่ยวชาญ และมีคุณภาพ เพื่อให้บริการลูกค้า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เชื่อว่าอาจจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยบริษัทมีแผนขยายธุรกิจอื่นเพิ่มเติม อาทิเช่น ธุรกิจให้บริการซื้อขายหุ้นรายตัวโดยใช้ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกรรมด้านตราสารหนี้ ธุรกรรมการยืม และการให้ยืมหลักทรัพย์ และธุรกรรมทางด้านสถาบันต่างประเทศ และบริการอื่นๆ ซึ่งหากสามารถดำเนินการขยายธุรกิจได้ตามแผนที่วางไว้ จะทำให้ในระยะยาว สามารถเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่ให้บริการแบบครบวงจร และได้รับความไว้วางใจจากนักลงทุนเป็นอันดับต้น ๆ" ดร.วีรพัฒน์ เพชรคุปต์ กล่าว
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กล่าวอีกว่า สำหรับเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจในปีนี้ ยังคงเน้นด้านการให้บริการที่รอบด้าน เพื่อรองรับลูกค้าให้ได้มากขึ้น โดยเน้นการเสริมธุรกิจที่มีศักยภาพ ให้มีความแข็งแรงและคล่องตัว นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน และการดำเนินงานทุกส่วนให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่างเต็มที่ พร้อมขยายทีมมาร์เกตติ้งเพิ่ม
นอกจากนี้ยังมีแผนลงทุนในเทคโนโลยีใหม่เข้ามา และอาจจะต้องมีการปรับกลยุทธ์ในการเลือกเน้นลูกค้าในแต่ละกลุ่ม มีการเน้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ๆ มากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพารายได้นอกเหนือจากค่าคอมมิชชั่นเพียงอย่างเดียว
ส่วนแนวโน้มธุรกิจหลักทรัพย์ ประเมินว่า ยังคงมีทิศทางที่ดี เนื่องจากจะเห็นได้ว่า ปัจจุบันตลาดมีการเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาเพื่อจูงใจนักลงทุน และเพิ่มโอกาสในการลงทุนมากยิ่งขึ้น ซึ่งธุรกิจหลักทรัพย์ ยังมีโอกาสเติบโตได้ ถ้ามีการเพิ่มเติมการบริการให้ครบวงจร และมีการเสริมธุรกิจอื่นเข้ามาช่วย ขณะที่การมองหาพันธมิตร ถือเป็นเรื่องที่ดีที่จะสามารถสร้างความแข็งแกร่งให้กับองค์กรได้
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 ระบาดนั้น บริษัทฯสามารถปรับตัวรับมือได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยได้มีการเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้ลงทุน ให้เจ้าหน้าที่การตลาดให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับผู้ลงทุนอย่างต่อเนื่อง
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 16
AGM NER
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563
เวลาและสถานท่ี การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 ของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ประชุมเมื่อวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมรวมพลัง บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 398 หมู่ 4 ตําบลโคกม้า อําเภอประโคนชัย จังหวัด บุรีรัมย์ 31140
ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 นั้น เนื่องจากนายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ประธานกรรมการบริษัทเข้าร่วมการประชุม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมจึงเสนอให้ นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทําหน้าที่เป็นประธานที่ ประชุม (“ประธานฯ”) และมนี างสาวรมย์รัมภา เริ่มรู้ ทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินการประชุม (“ผู้ดําเนินการประชุม”)
ผู้ดําเนินการประชุมได้แถลงต่อที่ประชุมว่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID- 19”) กรรมการบริษัทบางส่วนและที่ปรึกษาของบริษัทฯจึงเข้าร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้แนะนํา กรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน และท่ีปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ ท่ีเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง และเข้าร่วมประชุม ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ดังน้ี
กรรมการบริษัทท่ีเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นายศักด์ิชัย จงสถาพงษ์พันธ์
3. ผศ. ดร. ศิริรักษ์ ขาวไชยมหา
4. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
กรรมการบริษัทที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
1. นายชนิตร ชาญชัยณรงค์
2. นายรณชิต จินะดิษฐ์
3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
4. นายเทพกุล พูลลาภ
ผู้สอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชี บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
1. นายสมภพ ศักด์ิพันธ์พนม
2. นางสาวพรพรรณ สว่างเนตร
3. นางสาวธันย์ชนก ศักด์ิพันธ์พนม
ท่ีปรึกษากฎหมายที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายสัณฑพัฒน์ เปเรร่า ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ท่ีปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด
หน้า1/23
2. นายสัภยา สุระกิจจากร ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนช่ันแนล จํากัด
ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัท โอเจ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด เป็นผู้ทําการตรวจสอบการลงทะเบียนของผู้ถือหุ้นและ ตรวจนับผลคะแนนเสียง
ผู้ดําเนินการประชุมแถลงต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นในวันที่ 12 มีนาคม 2563 (Record Date) น้ัน มีจํานวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมประชุมท้ังส้ิน 4,707 ราย จากจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายได้แล้วทั้งหมด 1,540,000,000 หุ้น และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันนี้ มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 39 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,008,758,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 65.5038 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้ท้ังหมด ครบเป็นองค์ประชุมตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษัทแล้ว (ภายหลังการประชุมเริ่มต้น มีถือหุ้นเข้าร่วมประชุมเพิ่มขึ้น รวมจํานวนผู้ถือหุ้นเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 44 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,018,953,400 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 66.1658 ของจํานวนหุ้น ท่ีจําหน่ายได้ทั้งหมด และผู้ดําเนินการประชุมได้แจ้งให้ท่ีประชุมรับทราบแล้ว)
ประธานฯ ได้กล่าวเปิดการประชุม และแจ้งให้ผู้ดําเนินการประชุมชี้แจงระเบียบหลักเกณฑ์ในการออกเสียงลงคะแนน ซึ่งมี สาระสําคัญดังน้ี
1. ในการออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น ได้กําหนดให้ผู้ถือหุ้นทุกคน มีคะแนนเสียงหน่ึงเสียงต่อหน่ึงหุ้น ซึ่งผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะต้องออกเสียงลงคะแนนเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ไม่สามารถ แบ่งการออกเสียงลงคะแนนเป็นบางส่วน
2. หากผู้ถือหุ้นท่านใดประสงค์จะซักถาม หรือต้องการให้กรรมการหรือผู้บริหารชี้แจงเพิ่มเติมในประเด็นใด ขอให้ผู้ถือหุ้นที่ ต้องการสอบถามยกมือข้ึนเมื่อประธานฯ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากประธานฯ นําเสนอจบในแต่ละวาระ หรือเม่ือพิจารณา ครบทุกวาระแล้ว
3. หากท่านผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะท่านใด ประสงค์จะออกจากท่ีประชุมก่อนปิดการประชุม และประสงค์จะลงคะแนนใน วาระที่เหลือ ขอความกรุณาส่งบัตรลงคะแนนพร้อมลงลายมือชื่อ ส่งให้เจ้าหน้าที่บริษัท ก่อนการออกจากห้องประชุม เพ่ือ ทางบริษัทจะทําการบันทึกคะแนนของท่านไว้ในระบบ
4. สําหรับเงื่อนไขในการอนุมัติมติในแต่ละวาระ มีดังน้ี
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและออกเสียงลงคะแนนเสียง คือ วาระท่ี 1
วาระท่ี 3 วาระที่ 4 วาระท่ี 10 และวาระท่ี 11
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 2 ใน 3 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมคือ วาระท่ี 12
• วาระท่ีต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
ลงคะแนนคือ วาระที่ 5 วาระที่ 6 วาระที่ 7 วาระท่ี 8 และวาระท่ี 9
• วาระท่ี 2 เป็นการรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 ซึ่งเป็นเร่ืองเพื่อทราบ จะไม่มีการลงมติ
5. ผู้ถือหุ้นท่านใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ห้ามมิให้ออกเสียงในวาระนั้น หรือบริษัทอาจเชิญให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวออก จากท่ีประชุมได้เป็นการชั่วคราวในวาระนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของการอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกท่าน สามารถลงคะแนนได้โดยไม่ถือว่ามีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ
หน้า2/23
ผู้ถือหุ้นท่านใดไม่เห็นด้วยหรือประสงค์จะงดออกเสียง ประธานฯ จะขอให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียง ลงคะแนนใน บัตรลงคะแนนพร้อมทั้งลงลายมือชื่อ โดยเจ้าหน้าท่ีของบริษัทฯจะทําการเก็บบัตรเพื่อมานับคะแนน บริษัทฯจะนําคะแนนเสียงที่ไม่เห็น ด้วยและ/หรืองดออกเสียงน้ัน หักออกจากจํานวนเสียงท้ังหมดท่ีเข้าร่วมประชุมหรือมีสิทธ์ิออกเสียงลงคะแนน เพื่อสรุปผลการลงคะแนนใน แต่ละวาระ
เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการนับคะแนนเสียงการประชุมในวันนี้ ผู้ดําเนินการประชุมได้ขออาสาสมัครผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบ ฉันทะจากผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 1 ท่านมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน โดยนายทศพล กระสายเงิน ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะ ได้ อาสาสมัครเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นเพื่อมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน
จากน้ันผู้ดําเนินการประชุมไดด้ําเนินการประชุมตามระเบียบวาระต่างๆที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมดังนี้
วาระที่ 1 พิจารณารับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น คร้ังท่ี 1/2562
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้จัดการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นคร้ังที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2562 โดยได้มีการจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ได้เผยรายงานดังกล่าวในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งน้ี คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่ารายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2562 ได้มีการบันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน เห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นรับรองรายงานการประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 3/2561
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณารับรอง รายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์รับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 2 รับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,008,764,800 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ ได้รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 โดยปรากฏอยู่ใน รายงานประจําปี 2562 ท่ีได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุมคร้ังนี้ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ให้ ที่ประชุมรับทราบ โดยนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ ได้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ประกอบไปด้วยรายละเอียดของ รายได้ รวมประจําปแี ละรายได้โดยจําแนกตามผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กําไรข้ันต้นประจําปี กําไรสุทธิ สินทรัพย์รวม หน้ีสินรวม
หน้า3/23
อัตราส่วนทางการเงินประจําปี 2562 โดยได้ทําการเปรียบเทียบกับผลดําเนินงานประจําปี 2561 ตลอดจนรายการบัญชีที่มีสาระสําคัญใน งบแสดงฐานะการเงินของบริษัทฯ รายละเอียดตามเอกสารแนบ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงแจ้งต่อท่ีประชุมว่าวาระน้ีไม่มีการลง มติเนื่องจากเป็นวาระการแจ้งเพื่อทราบ
มติ: ท่ีประชุมรับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามท่ีได้รายงานต่อที่ ประชุม
วาระท่ี 3 พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานงบ การเงินประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยบริษัทฯ ได้จัดทํางบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของ บริษัทสําหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 และได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองโดยผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิ เอท จํากัด และได้ผ่านพิจารณาสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทแล้ว โดยมีรายละเอียดปรากฏอยู่ในหมวด งบการเงินในรายงานประจําปี 2562 ซึ่งได้จัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมครั้งน้ี สิ่งที่ส่งมาด้วยหมายเลข 2 สรุป สาระสําคัญได้ดังนี้
รายการ
รายได้รวม รวมต้นทุนผลิตและค่าใช้จ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
รอบปีบัญชี
2561 10,084,010,412 9,585,942,316 486,455,602 0.47 6,693,153,742 4,020,695,501 2,672,458,241
หน่วย: บาท
2562 13,107,150,773 12,544,266,485 538,879,645 0.35 7,989,126,630 4,977,988,744 3,011,137,886
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่ เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติงบ
การเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า4/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 4 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานการจัดสรรกําไรและพิจารณาการจ่ายปันผลประจําปี 2562 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ โดย พระราชบัญญัติมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 115 กําหนดให้บริษัทจ่ายเงินปันผลจากเงินกําไรเท่านั้น และมาตรา 116 กําหนดให้ บริษัทต้องจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีส่วนหน่ึงไว้เป็นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี จนกว่าทุนสํารองจะมีจํานวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลการจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิของงบการเงินของ บริษัท ภายหลังจากหักภาษี และเงินทุนสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่น (ถ้ามี) อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ โดยจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง ความจําเป็นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน แผนการลงทุน และการขยายธุรกิจในอนาคต สภาวะตลาด ความเหมาะสมและปัจจัยอื่นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงาน และการบริหารงาน ของบริษัท โดยอยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ว่า บริษัทจะต้องมีเงินสดเพียงพอสําหรับการดําเนินธุรกิจ และการดําเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสดุต่อผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรรมการบริษัทและ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทเห็นสมควร
จากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 บริษัทมีกําไรสุทธิประจําปีจํานวน 538,879,645 บาท จึงเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพ่ือ พิจารณาอนุมัติดังนี้
1. การจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย 27,000,000 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี สําหรับปี 2562 โดยหลังการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย บริษัทจะมีทุนสํารองตามกฎหมายจํานวน 70,675,000 บาท
2. การจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ในอัตราหุ้นละ 0.14 บาท คิดเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 215.6 0 ล้าน บาท หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลร้อยละ 42.12 ของกําไรสุทธิหลังจากหักเงินทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งเป็นไปตาม นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท โดยเป็นการจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิที่ได้รับยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากสิทธิ ประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน (BOI)
หากท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 อนุมัตกิ ารจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562 ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 บริษัทจะกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผล (Record date) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 และกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันท่ี 11 พฤษภาคม 2563
หน้า5/23
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดย วาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัตดิ้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผล การดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียง ลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระท่ี 5 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 ( NER- W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ใน อัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น จึงมีความ จําเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม ดังนั้น จึงเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท คร้ังที่ 1 (NER-W1) เพ่ือใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุนในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ รวมทั้ง ช่วยเสริมให้บริษัทฯมีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อสร้างความพร้อมสําหรับการดําเนินงานในอนาคต โดยบริษัทฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของ บริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น โดยมีรายละเอียดท่ีสําคัญดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
ประเภท
ชนิด จํานวน
ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ซ้ือหุ้นสามัญของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1“ (ใบสําคัญแสดงสิทธิ” หรือ “NER-W1”)
ระบุช่ือผู้ถือและสามารถเปล่ียนมือได้
308,000,000 หน่วย
หน้า6/23
หัวข้อ
รายละเอียด
จํานวนหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อ รองรับการใช้สิทธิ ราคาเสนอขาย
อัตราการใช้สิทธิ
ราคาใช้สิทธิ วันออกเสนอขาย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
308,000,000 หนุ้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.00 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย แล้วท้ังหมด 1,540,000,000 หุ้น
0 บาทต่อหน่วย (ศูนย์บาท)
ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตาม เง่ือนไขการปรับสิทธิ
1.80 บาทต่อหุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามเงื่อนการปรับสิทธิ
วันที่ 27 พฤษภาคม 2563
2 ปีนับจากวันท่ีออกใบสําคัญแสดงสิทธิ
วิธีการจัดสรร
จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ใน กรณีที่มีเศษจากการคํานวณตามอัตราการจัดสรรดังกล่าว ให้ปัดเศษนั้นทิ้ง
ทั้งนี้ บริษัทกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทที่มีสิทธิรับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ใน วันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date)
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
- ครั้งแรก ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2563
- ครั้งที่สอง ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2564
- ครั้งที่สาม ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2564
- ครั้งที่สี่ ณ วันครบกําหนดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ คือ วันที่ 26 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ หากวันกําหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทําการให้เลื่อนเป็นวันทําการสุดท้ายก่อนวันกําหนดการ ใช้สิทธิในแต่ละครั้ง
ระยะเวลาแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิ
ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่ประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จะต้องแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.30 น. ในทุกวันทําการของบริษัท ภายในระยะเวลา 5 วันทําการก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ยกเว้นระยะเวลาแจ้งความจํานง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ซึ่งผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถแจ้งความจํานงในการใช้สิทธิภายใน 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย
ตลาดรองของใบสําคัญแสดง สิทธิ ตลาดรองของหุ้นสามัญท่ีเกิด จากการใช้สิทธิ
บริษัทจะนําใบสําคัญแสดงสิทธิไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย บริษัทจะนําหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
เงื่อนไขการปรับสิทธิ
บริษัทจะดําเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ เมื่อ เกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งต่อไปนี้ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้บริษัทต้องออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการ ปรับสิทธิ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 1. เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือ
แบ่งแยกหุ้น
หน้า7/23
หัวข้อ
รายละเอียด
2. เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญแก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไป และหรือบุคคลในวงจํากัดใน ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ที่คํานวณได้ต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท
3. เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไปและหรือ บุคคลในวงจํากัด โดยหลักทรัพย์นั้นให้สิทธิแก่ผู้ถือหลักทรัพย์ในการใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญหรือใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญโดย ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่จะออกใหม่เพื่อรับรองสิทธิดังกล่าวต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคา ตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท
4. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้น
5. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลเป็นเงินในจํานวนเกินกว่าร้อยละ 80 ของกําไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของ
บริษัท หลังหักสํารองตามกฎหมาย สําหรับการดําเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ในระหว่าง
อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
6. เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับที่กําหนดไว้ตามข้อ 1 - 5 ข้างต้นที่ทําให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ
ได้รับผลประโยชน์ด้อยไปจากเดิม
หมายเหตุ : การปรับราคาใช้สิทธิจะไม่สามารถปรับลดลงจนราคาใช้สิทธิต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้นได้ (Par Value)
เงื่อนไขอื่น
ให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานา จในการ กําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ ของใบสําคัญแสดงสิทธินี้ ตลอดจน มีอํานาจในการกําหนดเหตุแห่งการออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอัน เกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ และการนําใบสําคัญแสดงสิทธิเข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
ทั้งนี้ ให้กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date) และกําหนดวันจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ทั้งน้ี การจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน เนื่องจากต้องรอการอนุมัติจาก ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2563
ทั้งนี้ ประธานฯ เสนอให้ที่ประชุมอนุมัติการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นท่ีเกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) ซึ่งรวมไปถึงแต่ไม่จํากัดเพียงแต่ (1) การพิจารณากําหนด แก้ไข เพิ่มเติมรายละเอียดและเงื่อนไขใดๆที่จําเป็น และเกี่ยวข้องกับการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (NER-W1) เท่าที่กฎหมายกําหนดให้กระทําได้ หรือในส่วนที่ไม่ใช่ สาระสําคัญ เช่น วัน เวลา และวิธีการในการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน วิธีการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เป็นต้น (2) เข้า
หน้า8/23
เจรจา ทําความตกลง และลงนามในเอกสารและสัญญาที่เกี่ยวข้อง และดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) และ (3) ลงนามในแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานท่ีจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดสรรใบสําคัญแสดง สิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน รวมถึงการติดต่อและยื่นแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานที่จําเป็นและเก่ียวข้องต่อหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้อง และการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดําเนินการอื่นใดตามที่จําเป็นเพื่อการ จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพ่ิมทุน
ประธานฯ จึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อัน จําเป็นและสมควรอันเก่ียวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า ตามที่บริษัทมีความประสงค์จะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือ หุ้นสามัญเพ่ิมทุน ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิ 1.80 บาท
ต่อหุ้น อยากทราบว่าได้มีการแสดงหรือการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยไว้อย่างไรบ้าง ขอให้มีการแสดงผล การศึกษาด้วย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้มั่นใจว่าจะไม่มีผลกระทบต่อเงินปันผล ไม่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และราคาตลาดของหุ้นไม่ผัน ผวนไปตามราคาใช้สิทธิ ประธานฯชี้แจงว่าการออกและเสนอใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นการให้ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่านโดย การใหโ้ ดยไม่คิดมูลค่า และจะจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น (right offering) ดังน้ัน จึงไม่มีผลกระทบต่อราคา หุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และบริษัทฯ กําหนดราคาใช้สิทธิในราคา 1.80 บาทต่อหุ้น ซ่ึง ณ วันที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเร่ืองออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้นราคาหุ้นอยู่ที่ 2.60 บาท มีส่วนต่างของการใช้สิทธิอยู่ที่ 0.80 บาท ซึ่งทาง คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าการให้ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่าน ซึ่ง หากผู้ถือหุ้นไม่ประสงค์จะใช้สิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ก็สามารถโอนใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ ซ่ึง บริษัทจะไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่วนการที่ได้เงินทุนที่ได้จากการใช้สิทธิ ก็จะเพิ่มเข้ามาเป็นฐานทุนของบริษัทฯเพื่อการขยายกิจการ ขยายการทํางานใน อนาคต ตลอดจนเพิ่มการลงทุน ซึ่งอาจต้องอาศัยแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่นเงินกู้ธนาคาร หรือการออกตราสารทาง การเงินต่าง ๆ และหากฐานทุนของบริษัทฯใหญ่ขึ้น ความสามารถหรืออํานาจการต่อรองในการกู้เงินของบริษัทฯก็จะเพิ่มข้ึน บริษัทฯก็จะโตข้ึน จะมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และก้าวเดินได้อย่างมั่นคงมากขึ้นต่อไป
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการ มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลง
หน้า9/23
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพ่ิมทุนของบริษัท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
วาระท่ี 6 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอ ขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าตามที่บริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนสําหรับใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต และแผนการลงทุนของ บริษัทฯ นั้น จึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยมี รายละเอียดดังน้ี
จัดสรรให้แก่ ประเภทหลักทรัพย์ จํานวนหุ้น/2 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว/1
/1 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว ณ วันที่คณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนมีมติให้มีการเพิ่มทุนแบบ General Mandate
/2 จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 10 ของทุนชําระแล้วของบริษัท เพื่อจัดสรรให้แก่บุคคลใน วงจํากัด (Private Placement) ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะต้องไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนท่ี ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการ
บุคคลในวงจํากัด (Private Placement :PP)
หุ้นสามัญ
ไม่เกิน 154,000,000 หุ้น
10%
หน้า10/23
เปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการท่ีเกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 ท้ังน้ี ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อบุคคล ในวงจํากัด (Private Placement) ข้างต้น ต้องไม่เข้าข่ายราคาต่ําตามเกณฑ์ราคาของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยที่เก่ียวข้อง
ทั้งนี้ บริษัทฯจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือ เป็นคราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณา และกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เก่ียวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพ่ือเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวได้ ตามท่ีเห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยจะขอ สงวนสิทธิในการโหวตไม่เห็นด้วย เพราะเปรียบเสมือนเป็นการลงนามในเช็คเปล่าไว้ให้กรอกตัวเลข ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นราย ย่อยมั่นใจด้วยว่าจะไม่มีการจําหน่ายหรือจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวในลักษณะท่ีมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของ บริษัทฯ เน่ืองจากผู้ถือหุ้นยังมีความมั่นใจในการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทอยู่ จึงขอความชัดเจนจากบริษัทฯว่าไม่
มีวาระอ่ืนใดอยู่เบื้องหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนน้ี ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า บริษัทฯ ยืนยันกับผู้ถือหุ้นว่าเหตุผลในการออกและ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ คือเพื่อการที่จะมีผู้ร่วมทุน ซึ่งเป็นผู้ร่วมทุนที่จะสร้างประโยชน์ให้กับบริษัท นําพาบริษัทให้เติบโตขึ้นได้ โดยไม่มีวาระอื่นใดแอบแฝง และเงินทุนที่ได้มา ก็จะใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลงั การผลิต และแผนการลงทุนของบริษัทฯ
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการ
หน้า11/23
จัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและ เกี่ยวเน่ืองกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุน โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจน การมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนด รายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมี อํานาจในการดําเนินการใดๆอันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่มีา ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
99.6013 0.3987 -
1,014,890,500 4,062,900
-
วาระที่ 7 พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท และแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทข้อ 4. ให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าตามท่ีที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้มีมตอินุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทคร้ังท่ี 1 (NER-W1) และอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ตามวาระที่ 5 และ 6 นั้น บริษัทฯ ต้องมีการเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยการออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน และจัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวเพ่ือรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และรองรับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ต่อมา ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน เพื่อให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
หน้า12/23
ข้อ 4
ทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท (หน่ึงพันหน่ึงล้านบาท)
แบ่งออกเป็น มูลค่าหุ้นละ โดยแยกออกเป็น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
2,002,000,000 หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
2,002,000,000 -
0.50
บาท (ห้าสิบสตางค์)
หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
หุ้น ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าสืบเนื่องมาจากวาระที่ 5 และ 6 บริษัทฯต้องออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน อีก 462,000,000 หุ้น แสดงให้เห็นถึงฐานจํานวนหุ้นที่มากข้ึน อาจส่งผลกระทบต่อผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) และจํานวนเงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นได้รับอาจจะลดลง จึงขอให้บริษัทฯชี้แจงเกี่ยวกับผลกระทบอัตราผลตอบแทนในรูปเงินปัน ผลของผถู้ือหุ้น
ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การท่ีบริษัทฯทําการเพิ่มทุนจดทะเบียนโดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน และรองรับการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ฐานทุนบริษัทจะใหญ่ขึ้น มีผู้ลงทุนเพ่ิมข้ึน และบริษัทฯจะนําเงินดังกล่าวใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรองรับการขยายกําลัง การผลิต และรองรับแผนการลงทุนของบริษัทฯ ซ่ึงหากดําเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ บริษัทฯ ก็จะมีผลประกอบการเป็นไป ตามเป้าหมาย จึงไม่น่าจะส่งผลกระทบต่ออัตราเงินปันผลที่จะจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และ การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพ่ือให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน ตามรายละเอียดที่ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงาน โดยวาระ นี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้น สามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็น การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และอนุมัติการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,153,300 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.9215 ไม่เห็นด้วย จํานวน 800,100 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.0785
หน้า13/23
งดออกเสียง จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ - บัตรเสีย จํานวน -
วาระท่ี 8 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งท่ี 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement)
ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโดยมีรายละเอียดดังน้ี
ตามที่ที่ประชุมได้พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และเสนอให้ ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังต่อไปนี้
1. จัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนจํานวน 308,000,000 หุ้น เพ่ือรองรับการการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยไม่ คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
2. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 154,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่า หุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ท้ังนี้ บริษัทจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนคร้ังเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือเป็น คราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและ กําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพื่อทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ ตามที่เห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบี ยนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น
หน้า14/23
หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยวาระน้ีจะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,014,890,500 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013 จํานวน 4,062,900 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.3987 จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน -
วาระที่ 9 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น กู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงมีแผนการลงทุนในอนาคต จึงมีความจําเป็นต้องจัดหาเงินทุนเพ่ิมเติม ดังน้ัน บริษัทฯจึงพิจารณาการออกและเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุน ในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังน้ี
วัตถุประสงค์
เพื่อนําเงินที่ได้รับจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไปใช้ในการดําเนินงาน และ/หรือ ขยายธุรกิจและ/หรือ เป็นเงินทุน หมุนเวียนของบริษัท หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร
ประเภทหุ้นกู้
หุ้นกู้ทุกประเภท/ทุกรูปแบบ (ยกเว้นหุ้นกู้แปลงสภาพ) ไม่ว่าจะเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือหรือไม่ระบุชื่อผู้ถือ มีและ/ หรือไม่มีหลักประกัน ด้อยสิทธิและ/หรือไม่ด้อยสิทธิ มี/และหรือไม่มีการจัดอันดับเครดิต มี/และหรือไม่มีผู้แทนผู้ถือ หุ้นกู้ ชนิดทยอยคืนเงินต้นและ/หรือคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถ่ถอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของ ภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายในแต่ละคราว ตามที่จะได้รับอนุญาตจากหน่วยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
สกุลเงิน เงินบาทและ/หรือเงินสกุลต่างประเทศ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนในขณะออกและเสนอการขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
หน้า15/23
มูลค่ารวมของหุ้นกู้
มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ยังไม่ไถ่ถอน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง กําหนดไว้ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท หรือในสกุลเงินอื่นในอัตรา ที่เทียบเท่าเงินสกุลบาท ทั้งนี้ บริษัทสามารถออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติม และ/หรือ ออกขายเสนอหุ้นกู้เพื่อ ทดแทนหุ้นกู้เดิมที่มีการไถ่ถอนไปแล้ว ภายในวงเงินดังกล่าว โดยจํานวนเงินต้นคงค้างทั้งหมดของหุ้นกู้ที่บริษัท ออกจําหน่ายแล้วในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องมีจํานวนเงินไม่เกินวงเงินดังกล่าว
อัตราดอกเบี้ย
ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าว ทั้งนี้อยู่ภายใต้บังคับของประกาศคณะกรรมการการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรือ ประกาศหรือกฎระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่มี ผลบังคับในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การเสนอขาย
1) เสนอขายหุ้นกู้ทั้งหมดในคราวเดียวกันหรือหลายคราวและ/หรือเป็นโครงการและ/หรือในลักษณะหมุนเวียน (Revolving) ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นก็ในลักษณะหมุนเวียนบริษัทสามารถไถ่ถอนหรือรับชําระคืนเงินต้นได้ ภายใต้เงื่อนไขและวงเงินที่กําหนดไว้
2) เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปและ/หรือให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงและ/หรือผู้ลงทุนประเภทสถาบันใน ประเทศ และ/หรือในต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งอาจแบ่งเป็นการเสนอขาย ในครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ คณะกรรมการตลาดทุน หรือตามประกาศ กฎกระทรวง กฎระเบียบและกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีผลบังคับ ใช้ในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้นั้น
3) ในกรณีที่บริษัทได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนหุ้นกู้ที่ได้ออกภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัตินี้บริษัทสามารถออกหุ้นกู้ ทดแทนเพิ่มเติมได้อีกตามจํานวนที่ได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนโดยหุ้นกู้ที่บริษัทออกทดแทนนี้จะมีอายุและเง่อืนไข ตามที่กําหนดไว้
การไถ่ถอนก่อน กําหนด
ผู้ถือหุ้นกู้อาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด และบริษัทมีหรือไม่มีสิทธิของไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด หรือบริษัทอาจกําหนดให้มีหรือไม่มีการไถ่ถอนในกรณีพิเศษ (Special Event Redemption) ใด หรือไม่ก็ได้ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามข้อตกลงและเงื่อนไขการขอออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การมอบอํานาจ
ข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้นกู้ จํานวนที่เสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลา การไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขอ อนุญาตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้า เจรจาตกลงลงนามในเอกสารและสัญญาต่างๆที่เกี่ยวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตามที่จําเป็นและเกี่ยวเน่อืงกับ การออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัท ให้อยู่ในอํานาจของกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ ได้รับมอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่จะพิจารณาและกําหนดต่อไป
เง่ือนไขอื่นๆ ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะท่ีออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคร้ัง และปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
หน้า16/23
ทั้งนี้ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการมอบอํานาจให้กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ได้รับ มอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท มีอํานาจในการกําหนดข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและ เก่ียวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบ้ีย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้น กู้ จํานวนท่ีเสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลาการไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งต้ังท่ีปรึกษาหรือบุคคลที่เก่ียวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้าเจรจา ตกลง ลงนามในเอกสารและ สัญญาต่างๆท่ีเก่ียวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตาม ท่ีจําเป็นและเก่ียวเนื่องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามบริษัทฯถึงวัตถุประสงค์การออกหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ว่าจะ
นําเงินจากหุ้นกู้ไปลงทุนในทรัพย์สินอะไร
ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า วัตถุประสงค์หลักในการออกหุ้นกู้ครั้งน้ีคือเพ่ือนําเงิน ไปเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซึ่งวางเป้าในการทํางานไว้ ประมาณ 40 เมกะวัตต์ โดยสาเหตุที่เลือกการระดมทุนโดยการออกหุ้นกู้ เน่ืองจากหากบริษัทฯใช้วิธีการกู้เงินธนาคารแทน บริษัทฯอาจไม่สามารถดําเนินการได้ทันหลังจากได้รับอนุมัติการซื้อขายไฟจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพราะขั้นตอนการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อจากธนาคารค่อนข้างใช้เวลาพอสมควร ดังนั้น จึงจําเป็นต้องออกหุ้นกู้เพื่อความคล่องตัวในการ บรหิารงานโรงไฟฟ้าชุมชน
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามถึงการคาดการณ์อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่าบริษัทได้ทําการศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนใน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ตลอดจนอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return: IRR) แล้ว ซึ่งน่าจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 15
3. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่าการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้มีผลกระทบต่อต้นทุนเงินทุนรวมของกิจการ อย่างไร อยากทราบว่ามีการศึกษาต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนท่ีนํามาใช้ในกิจการ (weighted average cost of capital : WACC) ของบริษัทฯไว้หรือไม่ อย่างไร อยากให้บริษัทฯนําเสนอข้อมูลด้านน้ีเพื่อให้ความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้นรายย่อย ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การออกหุ้นกู้ของบริษัทฯในครั้งนี้ ได้มีการศึกษา ต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนที่นํามาใช้ในกิจการ และจะไม่มีผลกระทบต่อต้นทุน หรือต่อทุนรวมของการลงทุนเดิม เนื่องจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้ จะเป็นการแยกวงเงินกันชัดเจนระหว่างการลงทุนเดิม และการลงทุนใหม่ เพราะฉะนั้นจึงจะไม่เกิดผลกระทบต่อธุรกิจเดิมของบริษัทฯ และขอให้นักลงทุนมั่นใจว่าบริษัทฯได้มีการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการก่อนลงทุนอยู่แล้ว ซ่ึงถ้าโครงการใดให้ผลตอบแทนท่ีไม่ดี บริษัทฯจะไม่พิจารณาเข้าไปลงทุน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
หน้า17/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013
จํานวน - จํานวน - จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
วาระท่ี 10 พิจารณาอนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 120 กําหนดว่า "ให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีแต่งต้ังผู้สอบบัญชี และกําหนด จํานวนเงินค่าสอบบัญชีของบริษัททุกปี ในการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีจะแต่งต้ังผู้สอบบัญชีคนเดิมก็ได้” และได้เสนอให้ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจําปี 2563 ตามรายชื่อ ดังต่อไปน้ี
1) นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3425 หรือ
2) นายอัครเดช เปลี่ยนสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขท่ี 5389 หรือ
3) นางสาวกรทิพย์ วาณิชวิเศษกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6947
โดยกําหนดให้ผู้สอบบัญชีคนใดคนหน่ึงตามท่ีเสนอข้างต้น เป็นผู้ทําการตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของบริษัท
ประจําปี 2563 ทั้งนี้ผู้สอบบัญชีทั้งสามท่านดังกล่าว เป็นผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจใดๆกับบริษัทฯ หรือผู้บริหาร ของบริษัทฯ ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด จัดหาผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตอื่นของสํานักงานทําหน้าที่ตรวจสอบบัญชีและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทแทนผู้สอบบัญชีดังกล่าวได้ แต่ต้อง ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นบริษัทฯก่อน
สําหรับค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้ว เห็นควรเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าสอบบัญชีประจําปี 2563 เป็นเงินจํานวน 2,170,000 บาท โดยมีรายละเอียดการเปรียบเทียบค่าสอบบัญชีประจําปี 2561 และ 2562 ดังน้ี
ปี 2562 ปี 2563 การเปล่ียนแปลง
ค่าสอบบัญชี 2,070,000 บาท 2,170,000 บาท ค่าสอบบัญชีปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562
จํานวน 100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.80 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่ง มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า18/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 ตามท่ี ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 11 พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระเพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาให้ความอนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 71 และ ข้อบังคับของบริษัท ข้อ 20 กําหนดว่า “ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีทุกคร้ัง ให้กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม ของ จํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการท่ีซึ่งพ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทน้ัน ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการท่ีอยู่ในตําแหน่งนานท่ีสุดน้ันเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง” โดยใน ปีนี้มีกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ 3 ท่าน ประกอบด้วย
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
3. นายเทพกุล พูลลาภ
ทั้งน้ี บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพ่ือเข้ารับการพิจารณาเลือกต้ังเป็นกรรมการบริษัทเป็น
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
การล่วงหน้า ระหว่างวันท่ี 3 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2563 โดยเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ และ เว็บไซต์ของบริษัท ซ่ึงเม่ือครบกําหนดระยะเวลาท่ีเปิดโอกาส ปรากฏว่าไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอช่ือบุคคลเข้ามายังบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาการดําเนินการสรรหากรรมการแทนกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ โดยพิจารณาบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัท และมีประวัติการทํางานที่ดี มีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และเห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการท่ี ออกจากตําแหน่งตามวาระทั้งสามท่าน ได้แก่ 1.) นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ 2.) นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล และ 3.) นายเทพกุล พูลลาภ กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการตามตําแหน่งเดิมต่ออีกวาระหน่ึง รายละเอียดประวัติโดยสังเขปของท้ัง 3 ท่าน ตามสิ่งท่ีส่งมาด้วยหมายเลข 7
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระ โดยวาระน้ีต้องลงมติอนุมัติเป็นรายบุคคลด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท)
หน้า19/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ เข้าดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร / กรรมการบริษัทตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล (กรรมการบริษัท)
เสียง เสียง
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนางสาวปาร์ย อรรถพิสาล เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
3. นายเทพกุล พูลลาภ (กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ)
1,018,953,400 เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายเทพกุล พูลลาภ เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 100
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 12 พิจารณาอนุมัติกําหนดค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ตามความสอดคล้องกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยเสนอกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ในรูปแบบของค่าเบ้ียประชุมและค่าตอบแทนรายเดือนในวงเงินไม่เกิน 4,000,000 บาทต่อปี ตามรายละเอียดดังนี้
ประธานกรรมการ 35,000 40,000 30,000 30,000 30,000 กรรมการ 30,000 30,000 25,000 25,000 25,000
ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
กรรมการบริษัท
กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน
กรรมการบริหาร ความเสี่ยง
ค่าตอบแทน รายเดือน
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม(จ่าย ต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
หน้า20/23
ทั้งน้ีกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารขอสละสิทธิ์ไม่รับค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้มีการนําเสนอค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 เพื่อเปรียบเทียบ และเหตุผล
ของการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการด้วย
นายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองกรรมการผู้จัดใหญ่สายงานบริหารบัญชี-การเงิน แถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า ค่าตอบแทนกรรมการในปี 2562 ในส่วนของประธานกรรมการจ่ายค่าตอบแทนรายเดือนอยู่ท่ี 20,000 บาท และเพิ่มขึ้นเป็น 35,000 บาทสําหรับปี 2563 ส่วนเบี้ยประชุมต่อครั้ง จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 35,000 บาท เพ่ิมขึ้นเป็น 40,000 บาทสําหรับปี 2563
สําหรับประธานกรรมการคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 18,000 บาทในปี 2562 เพิ่มเป็นครั้งละ 30,000 บาท ในปี 2563 สําหรับกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 15,000 บาทในปี 2562 เพ่ิมข้ึนเป็น 25,000 บาทในปี 2563 ซึ่งสาเหตุที่มีการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการในปี 2563 คือเพื่อปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและการ ขยายตัวของโรงงาน และเพื่อความเหมาะสมเมื่อเทียบกับลักษณะของธุรกิจในอุตสาหกรรมแบบเดียวกัน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี2563โดยวาระนี้จะต้องลงมตอินุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนเสียงท้ังหมด ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้กรรมการที่เป็นผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนกรรมการตามวาระนี้จะไม่สามารถออกเสียงลงมติใน วาระน้ี
มติ: ประชุมพิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนน เสียง ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 13 พิจารณาเรื่องอ่ืนๆ (ถ้ามี)
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามผู้เข้าร่วมประชุมว่ามีเร่ืองอ่ืนใดท่ีจะนําเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า จากผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 และจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ที่กระทบอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ําและปลายน้ํา บริษัทฯ
คาดการณ์ว่าผลประกอบการปี 2563 จะเป็นอย่างไร
หน้า21/23
ประธานฯ แถลงต่อที่ประชุมว่า ผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 คือ margin หรืออัตราส่วนกําไรที่เป็น ร้อยละลดลง เนื่องจากบริษัทฯได้ขยายตลาดเพิ่มมากขึ้นและบริษัทฯพิจารณาไม่บวกกําไรกับลูกค้าในอัตราสูงเกินไป อย่างไรก็ตามยอดขายของบริษัทฯยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประธานฯชี้แจงเพิ่มเติมว่าในไตรมาสที่ 1 ของปี 2563 ที่ได้มีการปิดงบการเงินระหว่างกาลไปแล้วนั้น น่าจะมีการประกาศ งบการเงินระหว่างกาลภายในเวลาที่กําหนดคือเดือนพฤษภาคม ส่วนในไตรมาสที่สอง ตัวเลขก็ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่ คาดการณ์ไว้ เนื่องจากไตรมาสสองเป็นการขายยางจากไตรมาสที่ส่ีของปี 2562 และจากไตรมาสแรกในปี 2563 ซึ่งราคา ขายยางในช่วงเวลาดังกล่าวค่อนข้างดี ก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ทําให้ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจริงคือในช่วงไตรมาสท่ีสามในปี 2563 ซ่ึงอาจจะลดลงจากท่ีประมาณการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯจะมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้บริษัทฯ ชี้แจงถึงความต้องการเงินทุนว่าจะนําไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และ จัดลําดับความสําคัญ เช่น การขยายโรงงาน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เป็นต้น
ประธานฯ ชี้แจงต่อที่ประชุมว่าลําดับความสําคัญอันดับหนึ่งคือการเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ซึ่งต้องใช้เงิน ประมาณ 2-3 พันล้านบาท ส่วนเรื่องเงินทุนหมุนเวียน บริษัทฯมีอยู่เงินทุนหมุนเวียนส่วนนึงแล้วจากเงิน IPO ที่ได้มา ประมาณ 1,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ใช้สร้างโรงงานใหม่ไปประมาณ 500 ล้านบาท ทําให้เหลือเงินอยู่อีกประมาณเกือบ 1000 ล้านบาท
3. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามว่าปัญหาภัยแล้งของประเทศไทยในปี 2563 จะส่งผลกระทบ ต่อผลประกอบการของบริษัทมากน้อยแค่ไหน ถึงขั้นทําให้ไตรมาส 2 ปี 2563 มีผลขาดทุนหรือไม่ ประธานฯชี้แจงต่อที่ประชุมว่าสถานการณ์ภัยแล้งในภาคอีสานที่ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งไว้ว่าน่าจะเป็นช่วงเดือน ธันวาคม 2562 ได้เปลี่ยนไป กล่าวคือ ปีนี้เป็นปีที่มีฝนตกบ่อยกว่าในปีที่แล้ว ทําให้บริษัทฯมองว่าสถานการณ์ภัยแล้งไม่ น่าจะมีผลกระทบโดยนัยสําคัญ แต่บริษัทฯได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ซ่ึงอาจจะกระทบในระยะยาวต่อไป ท้ังน้ี เน่ืองจากบริษัทฯได้มีการซ้ือขายล่วงหน้าเอาไว้ 5-6 เดือน จึงทําให้ไม่มีผลกระทบต่อไตรมาสท่ี 1-2 ส่วนไตรมาสที่ 3 และ 4 อาจได้รับผลกระทบบ้าง ซึ่งบริษัทฯจะติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดและจะนํามารายงานให้ทราบต่อไป
4. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามถึงรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน โดยขอให้บริษัท ฯ แจ้งรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนต่อที่ประชุม
ประธานฯ ช้ีแจงต่อที่ประชุมว่าโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซ่ึงเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดเล็กท่ีมีเป้าหมายให้แต่ละชุมชนมีส่วนร่วมและถือหุ้น โดยกําหนดให้รัฐวิสาหกิจชุมชนเข้าถือหุ้นบุริมสิทธิในโรงไฟฟ้าไม่ ต่ํากว่า 10% ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างจัดทํารายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์ เพ่ือเตรียมประกาศหลักเกณฑ์ คัดเลือกโครงการ บริษัทฯได้พิจารณาการเข้าร่วมโครงการในรูปแบบ Quick Win ซึ่งเป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับ โรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว หรือใกล้จะแล้วเสร็จเข้าร่วมโครงการและมีกําหนดให้จ่ายไฟเข้าระบบภายในปี 2563 ทั้งน้ี
หน้า22/23
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังร่าง TOR ยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาจมีการเลื่อนประมูลออกไป ทําให้ ต้องรอทางรัฐบาลเป็นผู้กําหนดวัน ประมูลมาอีกคร้ัง
ในส่วนของขนาดโครงการ บริษัทฯมีการคาดการณ์ว่าจะยื่นเสนอเพื่อประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนกําลังการผลิตประมาณ 40 เม กะวัตต์ บริษัทฯคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าให้แล้วเสร็จอย่างเร็วท่ีสุดภายใน 1 ปีครึ่ง ซ่ึงในร่าง TOR ของ รัฐบาลนั้น บริษัทที่ประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนในส่วนของโครงการทั่วไป จะต้องขายไฟภายใน 31 ธันวาคม 2565 เท่ากับว่า เหลือเวลาอีก 1 ปีครึ่งนับจากวันน้ีเป็นต้นไป
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะท่านใดเสนอเร่ืองอ่ืนๆ เพื่อพิจารณา
ประธานฯ จึงกล่าวขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้รับมอบฉันทะ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านท่ีสละเวลาเข้าร่วมประชุม และปิดประชุมเวลา 12.00 น.
ลงชื่อ
ลงช่ือ
นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร
นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
ประธานท่ีประชุม
ผู้บันทึกการประชุม
หน้า23/23
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563
เวลาและสถานท่ี การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 ของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ประชุมเมื่อวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมรวมพลัง บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 398 หมู่ 4 ตําบลโคกม้า อําเภอประโคนชัย จังหวัด บุรีรัมย์ 31140
ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 นั้น เนื่องจากนายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ประธานกรรมการบริษัทเข้าร่วมการประชุม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมจึงเสนอให้ นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทําหน้าที่เป็นประธานที่ ประชุม (“ประธานฯ”) และมนี างสาวรมย์รัมภา เริ่มรู้ ทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินการประชุม (“ผู้ดําเนินการประชุม”)
ผู้ดําเนินการประชุมได้แถลงต่อที่ประชุมว่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID- 19”) กรรมการบริษัทบางส่วนและที่ปรึกษาของบริษัทฯจึงเข้าร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้แนะนํา กรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน และท่ีปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ ท่ีเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง และเข้าร่วมประชุม ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ดังน้ี
กรรมการบริษัทท่ีเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นายศักด์ิชัย จงสถาพงษ์พันธ์
3. ผศ. ดร. ศิริรักษ์ ขาวไชยมหา
4. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
กรรมการบริษัทที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
1. นายชนิตร ชาญชัยณรงค์
2. นายรณชิต จินะดิษฐ์
3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
4. นายเทพกุล พูลลาภ
ผู้สอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชี บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
1. นายสมภพ ศักด์ิพันธ์พนม
2. นางสาวพรพรรณ สว่างเนตร
3. นางสาวธันย์ชนก ศักด์ิพันธ์พนม
ท่ีปรึกษากฎหมายที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายสัณฑพัฒน์ เปเรร่า ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ท่ีปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด
หน้า1/23
2. นายสัภยา สุระกิจจากร ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนช่ันแนล จํากัด
ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัท โอเจ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด เป็นผู้ทําการตรวจสอบการลงทะเบียนของผู้ถือหุ้นและ ตรวจนับผลคะแนนเสียง
ผู้ดําเนินการประชุมแถลงต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นในวันที่ 12 มีนาคม 2563 (Record Date) น้ัน มีจํานวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมประชุมท้ังส้ิน 4,707 ราย จากจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายได้แล้วทั้งหมด 1,540,000,000 หุ้น และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันนี้ มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 39 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,008,758,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 65.5038 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้ท้ังหมด ครบเป็นองค์ประชุมตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษัทแล้ว (ภายหลังการประชุมเริ่มต้น มีถือหุ้นเข้าร่วมประชุมเพิ่มขึ้น รวมจํานวนผู้ถือหุ้นเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 44 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,018,953,400 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 66.1658 ของจํานวนหุ้น ท่ีจําหน่ายได้ทั้งหมด และผู้ดําเนินการประชุมได้แจ้งให้ท่ีประชุมรับทราบแล้ว)
ประธานฯ ได้กล่าวเปิดการประชุม และแจ้งให้ผู้ดําเนินการประชุมชี้แจงระเบียบหลักเกณฑ์ในการออกเสียงลงคะแนน ซึ่งมี สาระสําคัญดังน้ี
1. ในการออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น ได้กําหนดให้ผู้ถือหุ้นทุกคน มีคะแนนเสียงหน่ึงเสียงต่อหน่ึงหุ้น ซึ่งผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะต้องออกเสียงลงคะแนนเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ไม่สามารถ แบ่งการออกเสียงลงคะแนนเป็นบางส่วน
2. หากผู้ถือหุ้นท่านใดประสงค์จะซักถาม หรือต้องการให้กรรมการหรือผู้บริหารชี้แจงเพิ่มเติมในประเด็นใด ขอให้ผู้ถือหุ้นที่ ต้องการสอบถามยกมือข้ึนเมื่อประธานฯ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากประธานฯ นําเสนอจบในแต่ละวาระ หรือเม่ือพิจารณา ครบทุกวาระแล้ว
3. หากท่านผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะท่านใด ประสงค์จะออกจากท่ีประชุมก่อนปิดการประชุม และประสงค์จะลงคะแนนใน วาระที่เหลือ ขอความกรุณาส่งบัตรลงคะแนนพร้อมลงลายมือชื่อ ส่งให้เจ้าหน้าที่บริษัท ก่อนการออกจากห้องประชุม เพ่ือ ทางบริษัทจะทําการบันทึกคะแนนของท่านไว้ในระบบ
4. สําหรับเงื่อนไขในการอนุมัติมติในแต่ละวาระ มีดังน้ี
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและออกเสียงลงคะแนนเสียง คือ วาระท่ี 1
วาระท่ี 3 วาระที่ 4 วาระท่ี 10 และวาระท่ี 11
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 2 ใน 3 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมคือ วาระท่ี 12
• วาระท่ีต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
ลงคะแนนคือ วาระที่ 5 วาระที่ 6 วาระที่ 7 วาระท่ี 8 และวาระท่ี 9
• วาระท่ี 2 เป็นการรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 ซึ่งเป็นเร่ืองเพื่อทราบ จะไม่มีการลงมติ
5. ผู้ถือหุ้นท่านใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ห้ามมิให้ออกเสียงในวาระนั้น หรือบริษัทอาจเชิญให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวออก จากท่ีประชุมได้เป็นการชั่วคราวในวาระนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของการอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกท่าน สามารถลงคะแนนได้โดยไม่ถือว่ามีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ
หน้า2/23
ผู้ถือหุ้นท่านใดไม่เห็นด้วยหรือประสงค์จะงดออกเสียง ประธานฯ จะขอให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียง ลงคะแนนใน บัตรลงคะแนนพร้อมทั้งลงลายมือชื่อ โดยเจ้าหน้าท่ีของบริษัทฯจะทําการเก็บบัตรเพื่อมานับคะแนน บริษัทฯจะนําคะแนนเสียงที่ไม่เห็น ด้วยและ/หรืองดออกเสียงน้ัน หักออกจากจํานวนเสียงท้ังหมดท่ีเข้าร่วมประชุมหรือมีสิทธ์ิออกเสียงลงคะแนน เพื่อสรุปผลการลงคะแนนใน แต่ละวาระ
เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการนับคะแนนเสียงการประชุมในวันนี้ ผู้ดําเนินการประชุมได้ขออาสาสมัครผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบ ฉันทะจากผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 1 ท่านมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน โดยนายทศพล กระสายเงิน ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะ ได้ อาสาสมัครเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นเพื่อมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน
จากน้ันผู้ดําเนินการประชุมไดด้ําเนินการประชุมตามระเบียบวาระต่างๆที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมดังนี้
วาระที่ 1 พิจารณารับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น คร้ังท่ี 1/2562
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้จัดการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นคร้ังที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2562 โดยได้มีการจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ได้เผยรายงานดังกล่าวในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งน้ี คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่ารายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2562 ได้มีการบันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน เห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นรับรองรายงานการประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 3/2561
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณารับรอง รายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์รับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 2 รับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,008,764,800 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ ได้รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 โดยปรากฏอยู่ใน รายงานประจําปี 2562 ท่ีได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุมคร้ังนี้ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ให้ ที่ประชุมรับทราบ โดยนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ ได้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ประกอบไปด้วยรายละเอียดของ รายได้ รวมประจําปแี ละรายได้โดยจําแนกตามผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กําไรข้ันต้นประจําปี กําไรสุทธิ สินทรัพย์รวม หน้ีสินรวม
หน้า3/23
อัตราส่วนทางการเงินประจําปี 2562 โดยได้ทําการเปรียบเทียบกับผลดําเนินงานประจําปี 2561 ตลอดจนรายการบัญชีที่มีสาระสําคัญใน งบแสดงฐานะการเงินของบริษัทฯ รายละเอียดตามเอกสารแนบ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงแจ้งต่อท่ีประชุมว่าวาระน้ีไม่มีการลง มติเนื่องจากเป็นวาระการแจ้งเพื่อทราบ
มติ: ท่ีประชุมรับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามท่ีได้รายงานต่อที่ ประชุม
วาระท่ี 3 พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานงบ การเงินประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยบริษัทฯ ได้จัดทํางบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของ บริษัทสําหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 และได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองโดยผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิ เอท จํากัด และได้ผ่านพิจารณาสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทแล้ว โดยมีรายละเอียดปรากฏอยู่ในหมวด งบการเงินในรายงานประจําปี 2562 ซึ่งได้จัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมครั้งน้ี สิ่งที่ส่งมาด้วยหมายเลข 2 สรุป สาระสําคัญได้ดังนี้
รายการ
รายได้รวม รวมต้นทุนผลิตและค่าใช้จ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
รอบปีบัญชี
2561 10,084,010,412 9,585,942,316 486,455,602 0.47 6,693,153,742 4,020,695,501 2,672,458,241
หน่วย: บาท
2562 13,107,150,773 12,544,266,485 538,879,645 0.35 7,989,126,630 4,977,988,744 3,011,137,886
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่ เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติงบ
การเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า4/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 4 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานการจัดสรรกําไรและพิจารณาการจ่ายปันผลประจําปี 2562 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ โดย พระราชบัญญัติมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 115 กําหนดให้บริษัทจ่ายเงินปันผลจากเงินกําไรเท่านั้น และมาตรา 116 กําหนดให้ บริษัทต้องจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีส่วนหน่ึงไว้เป็นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี จนกว่าทุนสํารองจะมีจํานวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลการจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิของงบการเงินของ บริษัท ภายหลังจากหักภาษี และเงินทุนสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่น (ถ้ามี) อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ โดยจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง ความจําเป็นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน แผนการลงทุน และการขยายธุรกิจในอนาคต สภาวะตลาด ความเหมาะสมและปัจจัยอื่นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงาน และการบริหารงาน ของบริษัท โดยอยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ว่า บริษัทจะต้องมีเงินสดเพียงพอสําหรับการดําเนินธุรกิจ และการดําเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสดุต่อผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรรมการบริษัทและ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทเห็นสมควร
จากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 บริษัทมีกําไรสุทธิประจําปีจํานวน 538,879,645 บาท จึงเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพ่ือ พิจารณาอนุมัติดังนี้
1. การจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย 27,000,000 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี สําหรับปี 2562 โดยหลังการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย บริษัทจะมีทุนสํารองตามกฎหมายจํานวน 70,675,000 บาท
2. การจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ในอัตราหุ้นละ 0.14 บาท คิดเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 215.6 0 ล้าน บาท หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลร้อยละ 42.12 ของกําไรสุทธิหลังจากหักเงินทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งเป็นไปตาม นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท โดยเป็นการจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิที่ได้รับยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากสิทธิ ประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน (BOI)
หากท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 อนุมัตกิ ารจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562 ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 บริษัทจะกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผล (Record date) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 และกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันท่ี 11 พฤษภาคม 2563
หน้า5/23
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดย วาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัตดิ้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผล การดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียง ลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระท่ี 5 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 ( NER- W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ใน อัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น จึงมีความ จําเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม ดังนั้น จึงเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท คร้ังที่ 1 (NER-W1) เพ่ือใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุนในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ รวมทั้ง ช่วยเสริมให้บริษัทฯมีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อสร้างความพร้อมสําหรับการดําเนินงานในอนาคต โดยบริษัทฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของ บริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น โดยมีรายละเอียดท่ีสําคัญดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
ประเภท
ชนิด จํานวน
ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ซ้ือหุ้นสามัญของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1“ (ใบสําคัญแสดงสิทธิ” หรือ “NER-W1”)
ระบุช่ือผู้ถือและสามารถเปล่ียนมือได้
308,000,000 หน่วย
หน้า6/23
หัวข้อ
รายละเอียด
จํานวนหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อ รองรับการใช้สิทธิ ราคาเสนอขาย
อัตราการใช้สิทธิ
ราคาใช้สิทธิ วันออกเสนอขาย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
308,000,000 หนุ้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.00 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย แล้วท้ังหมด 1,540,000,000 หุ้น
0 บาทต่อหน่วย (ศูนย์บาท)
ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตาม เง่ือนไขการปรับสิทธิ
1.80 บาทต่อหุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามเงื่อนการปรับสิทธิ
วันที่ 27 พฤษภาคม 2563
2 ปีนับจากวันท่ีออกใบสําคัญแสดงสิทธิ
วิธีการจัดสรร
จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ใน กรณีที่มีเศษจากการคํานวณตามอัตราการจัดสรรดังกล่าว ให้ปัดเศษนั้นทิ้ง
ทั้งนี้ บริษัทกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทที่มีสิทธิรับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ใน วันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date)
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
- ครั้งแรก ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2563
- ครั้งที่สอง ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2564
- ครั้งที่สาม ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2564
- ครั้งที่สี่ ณ วันครบกําหนดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ คือ วันที่ 26 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ หากวันกําหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทําการให้เลื่อนเป็นวันทําการสุดท้ายก่อนวันกําหนดการ ใช้สิทธิในแต่ละครั้ง
ระยะเวลาแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิ
ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่ประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จะต้องแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.30 น. ในทุกวันทําการของบริษัท ภายในระยะเวลา 5 วันทําการก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ยกเว้นระยะเวลาแจ้งความจํานง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ซึ่งผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถแจ้งความจํานงในการใช้สิทธิภายใน 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย
ตลาดรองของใบสําคัญแสดง สิทธิ ตลาดรองของหุ้นสามัญท่ีเกิด จากการใช้สิทธิ
บริษัทจะนําใบสําคัญแสดงสิทธิไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย บริษัทจะนําหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
เงื่อนไขการปรับสิทธิ
บริษัทจะดําเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ เมื่อ เกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งต่อไปนี้ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้บริษัทต้องออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการ ปรับสิทธิ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 1. เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือ
แบ่งแยกหุ้น
หน้า7/23
หัวข้อ
รายละเอียด
2. เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญแก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไป และหรือบุคคลในวงจํากัดใน ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ที่คํานวณได้ต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท
3. เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไปและหรือ บุคคลในวงจํากัด โดยหลักทรัพย์นั้นให้สิทธิแก่ผู้ถือหลักทรัพย์ในการใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญหรือใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญโดย ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่จะออกใหม่เพื่อรับรองสิทธิดังกล่าวต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคา ตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท
4. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้น
5. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลเป็นเงินในจํานวนเกินกว่าร้อยละ 80 ของกําไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของ
บริษัท หลังหักสํารองตามกฎหมาย สําหรับการดําเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ในระหว่าง
อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
6. เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับที่กําหนดไว้ตามข้อ 1 - 5 ข้างต้นที่ทําให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ
ได้รับผลประโยชน์ด้อยไปจากเดิม
หมายเหตุ : การปรับราคาใช้สิทธิจะไม่สามารถปรับลดลงจนราคาใช้สิทธิต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้นได้ (Par Value)
เงื่อนไขอื่น
ให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานา จในการ กําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ ของใบสําคัญแสดงสิทธินี้ ตลอดจน มีอํานาจในการกําหนดเหตุแห่งการออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอัน เกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ และการนําใบสําคัญแสดงสิทธิเข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
ทั้งนี้ ให้กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date) และกําหนดวันจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ทั้งน้ี การจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน เนื่องจากต้องรอการอนุมัติจาก ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2563
ทั้งนี้ ประธานฯ เสนอให้ที่ประชุมอนุมัติการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นท่ีเกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) ซึ่งรวมไปถึงแต่ไม่จํากัดเพียงแต่ (1) การพิจารณากําหนด แก้ไข เพิ่มเติมรายละเอียดและเงื่อนไขใดๆที่จําเป็น และเกี่ยวข้องกับการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (NER-W1) เท่าที่กฎหมายกําหนดให้กระทําได้ หรือในส่วนที่ไม่ใช่ สาระสําคัญ เช่น วัน เวลา และวิธีการในการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน วิธีการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เป็นต้น (2) เข้า
หน้า8/23
เจรจา ทําความตกลง และลงนามในเอกสารและสัญญาที่เกี่ยวข้อง และดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) และ (3) ลงนามในแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานท่ีจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดสรรใบสําคัญแสดง สิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน รวมถึงการติดต่อและยื่นแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานที่จําเป็นและเก่ียวข้องต่อหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้อง และการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดําเนินการอื่นใดตามที่จําเป็นเพื่อการ จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพ่ิมทุน
ประธานฯ จึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อัน จําเป็นและสมควรอันเก่ียวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า ตามที่บริษัทมีความประสงค์จะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือ หุ้นสามัญเพ่ิมทุน ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิ 1.80 บาท
ต่อหุ้น อยากทราบว่าได้มีการแสดงหรือการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยไว้อย่างไรบ้าง ขอให้มีการแสดงผล การศึกษาด้วย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้มั่นใจว่าจะไม่มีผลกระทบต่อเงินปันผล ไม่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และราคาตลาดของหุ้นไม่ผัน ผวนไปตามราคาใช้สิทธิ ประธานฯชี้แจงว่าการออกและเสนอใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นการให้ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่านโดย การใหโ้ ดยไม่คิดมูลค่า และจะจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น (right offering) ดังน้ัน จึงไม่มีผลกระทบต่อราคา หุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และบริษัทฯ กําหนดราคาใช้สิทธิในราคา 1.80 บาทต่อหุ้น ซ่ึง ณ วันที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเร่ืองออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้นราคาหุ้นอยู่ที่ 2.60 บาท มีส่วนต่างของการใช้สิทธิอยู่ที่ 0.80 บาท ซึ่งทาง คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าการให้ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่าน ซึ่ง หากผู้ถือหุ้นไม่ประสงค์จะใช้สิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ก็สามารถโอนใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ ซ่ึง บริษัทจะไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่วนการที่ได้เงินทุนที่ได้จากการใช้สิทธิ ก็จะเพิ่มเข้ามาเป็นฐานทุนของบริษัทฯเพื่อการขยายกิจการ ขยายการทํางานใน อนาคต ตลอดจนเพิ่มการลงทุน ซึ่งอาจต้องอาศัยแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่นเงินกู้ธนาคาร หรือการออกตราสารทาง การเงินต่าง ๆ และหากฐานทุนของบริษัทฯใหญ่ขึ้น ความสามารถหรืออํานาจการต่อรองในการกู้เงินของบริษัทฯก็จะเพิ่มข้ึน บริษัทฯก็จะโตข้ึน จะมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และก้าวเดินได้อย่างมั่นคงมากขึ้นต่อไป
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการ มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลง
หน้า9/23
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพ่ิมทุนของบริษัท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
วาระท่ี 6 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอ ขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าตามที่บริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนสําหรับใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต และแผนการลงทุนของ บริษัทฯ นั้น จึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยมี รายละเอียดดังน้ี
จัดสรรให้แก่ ประเภทหลักทรัพย์ จํานวนหุ้น/2 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว/1
/1 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว ณ วันที่คณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนมีมติให้มีการเพิ่มทุนแบบ General Mandate
/2 จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 10 ของทุนชําระแล้วของบริษัท เพื่อจัดสรรให้แก่บุคคลใน วงจํากัด (Private Placement) ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะต้องไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนท่ี ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการ
บุคคลในวงจํากัด (Private Placement :PP)
หุ้นสามัญ
ไม่เกิน 154,000,000 หุ้น
10%
หน้า10/23
เปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการท่ีเกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 ท้ังน้ี ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อบุคคล ในวงจํากัด (Private Placement) ข้างต้น ต้องไม่เข้าข่ายราคาต่ําตามเกณฑ์ราคาของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยที่เก่ียวข้อง
ทั้งนี้ บริษัทฯจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือ เป็นคราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณา และกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เก่ียวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพ่ือเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวได้ ตามท่ีเห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยจะขอ สงวนสิทธิในการโหวตไม่เห็นด้วย เพราะเปรียบเสมือนเป็นการลงนามในเช็คเปล่าไว้ให้กรอกตัวเลข ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นราย ย่อยมั่นใจด้วยว่าจะไม่มีการจําหน่ายหรือจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวในลักษณะท่ีมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของ บริษัทฯ เน่ืองจากผู้ถือหุ้นยังมีความมั่นใจในการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทอยู่ จึงขอความชัดเจนจากบริษัทฯว่าไม่
มีวาระอ่ืนใดอยู่เบื้องหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนน้ี ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า บริษัทฯ ยืนยันกับผู้ถือหุ้นว่าเหตุผลในการออกและ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ คือเพื่อการที่จะมีผู้ร่วมทุน ซึ่งเป็นผู้ร่วมทุนที่จะสร้างประโยชน์ให้กับบริษัท นําพาบริษัทให้เติบโตขึ้นได้ โดยไม่มีวาระอื่นใดแอบแฝง และเงินทุนที่ได้มา ก็จะใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลงั การผลิต และแผนการลงทุนของบริษัทฯ
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการ
หน้า11/23
จัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและ เกี่ยวเน่ืองกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุน โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจน การมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนด รายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมี อํานาจในการดําเนินการใดๆอันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่มีา ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
99.6013 0.3987 -
1,014,890,500 4,062,900
-
วาระที่ 7 พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท และแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทข้อ 4. ให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าตามท่ีที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้มีมตอินุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทคร้ังท่ี 1 (NER-W1) และอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ตามวาระที่ 5 และ 6 นั้น บริษัทฯ ต้องมีการเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยการออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน และจัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวเพ่ือรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และรองรับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ต่อมา ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน เพื่อให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
หน้า12/23
ข้อ 4
ทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท (หน่ึงพันหน่ึงล้านบาท)
แบ่งออกเป็น มูลค่าหุ้นละ โดยแยกออกเป็น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
2,002,000,000 หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
2,002,000,000 -
0.50
บาท (ห้าสิบสตางค์)
หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
หุ้น ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าสืบเนื่องมาจากวาระที่ 5 และ 6 บริษัทฯต้องออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน อีก 462,000,000 หุ้น แสดงให้เห็นถึงฐานจํานวนหุ้นที่มากข้ึน อาจส่งผลกระทบต่อผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) และจํานวนเงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นได้รับอาจจะลดลง จึงขอให้บริษัทฯชี้แจงเกี่ยวกับผลกระทบอัตราผลตอบแทนในรูปเงินปัน ผลของผถู้ือหุ้น
ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การท่ีบริษัทฯทําการเพิ่มทุนจดทะเบียนโดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน และรองรับการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ฐานทุนบริษัทจะใหญ่ขึ้น มีผู้ลงทุนเพ่ิมข้ึน และบริษัทฯจะนําเงินดังกล่าวใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรองรับการขยายกําลัง การผลิต และรองรับแผนการลงทุนของบริษัทฯ ซ่ึงหากดําเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ บริษัทฯ ก็จะมีผลประกอบการเป็นไป ตามเป้าหมาย จึงไม่น่าจะส่งผลกระทบต่ออัตราเงินปันผลที่จะจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และ การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพ่ือให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน ตามรายละเอียดที่ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงาน โดยวาระ นี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้น สามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็น การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และอนุมัติการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,153,300 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.9215 ไม่เห็นด้วย จํานวน 800,100 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.0785
หน้า13/23
งดออกเสียง จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ - บัตรเสีย จํานวน -
วาระท่ี 8 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งท่ี 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement)
ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโดยมีรายละเอียดดังน้ี
ตามที่ที่ประชุมได้พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และเสนอให้ ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังต่อไปนี้
1. จัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนจํานวน 308,000,000 หุ้น เพ่ือรองรับการการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยไม่ คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
2. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 154,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่า หุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ท้ังนี้ บริษัทจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนคร้ังเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือเป็น คราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและ กําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพื่อทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ ตามที่เห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบี ยนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น
หน้า14/23
หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยวาระน้ีจะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,014,890,500 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013 จํานวน 4,062,900 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.3987 จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน -
วาระที่ 9 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น กู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงมีแผนการลงทุนในอนาคต จึงมีความจําเป็นต้องจัดหาเงินทุนเพ่ิมเติม ดังน้ัน บริษัทฯจึงพิจารณาการออกและเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุน ในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังน้ี
วัตถุประสงค์
เพื่อนําเงินที่ได้รับจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไปใช้ในการดําเนินงาน และ/หรือ ขยายธุรกิจและ/หรือ เป็นเงินทุน หมุนเวียนของบริษัท หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร
ประเภทหุ้นกู้
หุ้นกู้ทุกประเภท/ทุกรูปแบบ (ยกเว้นหุ้นกู้แปลงสภาพ) ไม่ว่าจะเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือหรือไม่ระบุชื่อผู้ถือ มีและ/ หรือไม่มีหลักประกัน ด้อยสิทธิและ/หรือไม่ด้อยสิทธิ มี/และหรือไม่มีการจัดอันดับเครดิต มี/และหรือไม่มีผู้แทนผู้ถือ หุ้นกู้ ชนิดทยอยคืนเงินต้นและ/หรือคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถ่ถอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของ ภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายในแต่ละคราว ตามที่จะได้รับอนุญาตจากหน่วยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
สกุลเงิน เงินบาทและ/หรือเงินสกุลต่างประเทศ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนในขณะออกและเสนอการขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
หน้า15/23
มูลค่ารวมของหุ้นกู้
มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ยังไม่ไถ่ถอน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง กําหนดไว้ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท หรือในสกุลเงินอื่นในอัตรา ที่เทียบเท่าเงินสกุลบาท ทั้งนี้ บริษัทสามารถออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติม และ/หรือ ออกขายเสนอหุ้นกู้เพื่อ ทดแทนหุ้นกู้เดิมที่มีการไถ่ถอนไปแล้ว ภายในวงเงินดังกล่าว โดยจํานวนเงินต้นคงค้างทั้งหมดของหุ้นกู้ที่บริษัท ออกจําหน่ายแล้วในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องมีจํานวนเงินไม่เกินวงเงินดังกล่าว
อัตราดอกเบี้ย
ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าว ทั้งนี้อยู่ภายใต้บังคับของประกาศคณะกรรมการการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรือ ประกาศหรือกฎระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่มี ผลบังคับในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การเสนอขาย
1) เสนอขายหุ้นกู้ทั้งหมดในคราวเดียวกันหรือหลายคราวและ/หรือเป็นโครงการและ/หรือในลักษณะหมุนเวียน (Revolving) ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นก็ในลักษณะหมุนเวียนบริษัทสามารถไถ่ถอนหรือรับชําระคืนเงินต้นได้ ภายใต้เงื่อนไขและวงเงินที่กําหนดไว้
2) เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปและ/หรือให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงและ/หรือผู้ลงทุนประเภทสถาบันใน ประเทศ และ/หรือในต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งอาจแบ่งเป็นการเสนอขาย ในครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ คณะกรรมการตลาดทุน หรือตามประกาศ กฎกระทรวง กฎระเบียบและกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีผลบังคับ ใช้ในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้นั้น
3) ในกรณีที่บริษัทได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนหุ้นกู้ที่ได้ออกภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัตินี้บริษัทสามารถออกหุ้นกู้ ทดแทนเพิ่มเติมได้อีกตามจํานวนที่ได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนโดยหุ้นกู้ที่บริษัทออกทดแทนนี้จะมีอายุและเง่อืนไข ตามที่กําหนดไว้
การไถ่ถอนก่อน กําหนด
ผู้ถือหุ้นกู้อาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด และบริษัทมีหรือไม่มีสิทธิของไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด หรือบริษัทอาจกําหนดให้มีหรือไม่มีการไถ่ถอนในกรณีพิเศษ (Special Event Redemption) ใด หรือไม่ก็ได้ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามข้อตกลงและเงื่อนไขการขอออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การมอบอํานาจ
ข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้นกู้ จํานวนที่เสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลา การไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขอ อนุญาตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้า เจรจาตกลงลงนามในเอกสารและสัญญาต่างๆที่เกี่ยวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตามที่จําเป็นและเกี่ยวเน่อืงกับ การออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัท ให้อยู่ในอํานาจของกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ ได้รับมอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่จะพิจารณาและกําหนดต่อไป
เง่ือนไขอื่นๆ ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะท่ีออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคร้ัง และปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
หน้า16/23
ทั้งนี้ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการมอบอํานาจให้กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ได้รับ มอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท มีอํานาจในการกําหนดข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและ เก่ียวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบ้ีย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้น กู้ จํานวนท่ีเสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลาการไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งต้ังท่ีปรึกษาหรือบุคคลที่เก่ียวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้าเจรจา ตกลง ลงนามในเอกสารและ สัญญาต่างๆท่ีเก่ียวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตาม ท่ีจําเป็นและเก่ียวเนื่องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามบริษัทฯถึงวัตถุประสงค์การออกหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ว่าจะ
นําเงินจากหุ้นกู้ไปลงทุนในทรัพย์สินอะไร
ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า วัตถุประสงค์หลักในการออกหุ้นกู้ครั้งน้ีคือเพ่ือนําเงิน ไปเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซึ่งวางเป้าในการทํางานไว้ ประมาณ 40 เมกะวัตต์ โดยสาเหตุที่เลือกการระดมทุนโดยการออกหุ้นกู้ เน่ืองจากหากบริษัทฯใช้วิธีการกู้เงินธนาคารแทน บริษัทฯอาจไม่สามารถดําเนินการได้ทันหลังจากได้รับอนุมัติการซื้อขายไฟจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพราะขั้นตอนการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อจากธนาคารค่อนข้างใช้เวลาพอสมควร ดังนั้น จึงจําเป็นต้องออกหุ้นกู้เพื่อความคล่องตัวในการ บรหิารงานโรงไฟฟ้าชุมชน
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามถึงการคาดการณ์อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่าบริษัทได้ทําการศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนใน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ตลอดจนอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return: IRR) แล้ว ซึ่งน่าจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 15
3. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่าการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้มีผลกระทบต่อต้นทุนเงินทุนรวมของกิจการ อย่างไร อยากทราบว่ามีการศึกษาต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนท่ีนํามาใช้ในกิจการ (weighted average cost of capital : WACC) ของบริษัทฯไว้หรือไม่ อย่างไร อยากให้บริษัทฯนําเสนอข้อมูลด้านน้ีเพื่อให้ความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้นรายย่อย ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การออกหุ้นกู้ของบริษัทฯในครั้งนี้ ได้มีการศึกษา ต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนที่นํามาใช้ในกิจการ และจะไม่มีผลกระทบต่อต้นทุน หรือต่อทุนรวมของการลงทุนเดิม เนื่องจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้ จะเป็นการแยกวงเงินกันชัดเจนระหว่างการลงทุนเดิม และการลงทุนใหม่ เพราะฉะนั้นจึงจะไม่เกิดผลกระทบต่อธุรกิจเดิมของบริษัทฯ และขอให้นักลงทุนมั่นใจว่าบริษัทฯได้มีการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการก่อนลงทุนอยู่แล้ว ซ่ึงถ้าโครงการใดให้ผลตอบแทนท่ีไม่ดี บริษัทฯจะไม่พิจารณาเข้าไปลงทุน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
หน้า17/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013
จํานวน - จํานวน - จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
วาระท่ี 10 พิจารณาอนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 120 กําหนดว่า "ให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีแต่งต้ังผู้สอบบัญชี และกําหนด จํานวนเงินค่าสอบบัญชีของบริษัททุกปี ในการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีจะแต่งต้ังผู้สอบบัญชีคนเดิมก็ได้” และได้เสนอให้ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจําปี 2563 ตามรายชื่อ ดังต่อไปน้ี
1) นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3425 หรือ
2) นายอัครเดช เปลี่ยนสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขท่ี 5389 หรือ
3) นางสาวกรทิพย์ วาณิชวิเศษกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6947
โดยกําหนดให้ผู้สอบบัญชีคนใดคนหน่ึงตามท่ีเสนอข้างต้น เป็นผู้ทําการตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของบริษัท
ประจําปี 2563 ทั้งนี้ผู้สอบบัญชีทั้งสามท่านดังกล่าว เป็นผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจใดๆกับบริษัทฯ หรือผู้บริหาร ของบริษัทฯ ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด จัดหาผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตอื่นของสํานักงานทําหน้าที่ตรวจสอบบัญชีและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทแทนผู้สอบบัญชีดังกล่าวได้ แต่ต้อง ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นบริษัทฯก่อน
สําหรับค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้ว เห็นควรเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าสอบบัญชีประจําปี 2563 เป็นเงินจํานวน 2,170,000 บาท โดยมีรายละเอียดการเปรียบเทียบค่าสอบบัญชีประจําปี 2561 และ 2562 ดังน้ี
ปี 2562 ปี 2563 การเปล่ียนแปลง
ค่าสอบบัญชี 2,070,000 บาท 2,170,000 บาท ค่าสอบบัญชีปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562
จํานวน 100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.80 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่ง มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า18/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 ตามท่ี ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 11 พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระเพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาให้ความอนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 71 และ ข้อบังคับของบริษัท ข้อ 20 กําหนดว่า “ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีทุกคร้ัง ให้กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม ของ จํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการท่ีซึ่งพ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทน้ัน ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการท่ีอยู่ในตําแหน่งนานท่ีสุดน้ันเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง” โดยใน ปีนี้มีกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ 3 ท่าน ประกอบด้วย
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
3. นายเทพกุล พูลลาภ
ทั้งน้ี บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพ่ือเข้ารับการพิจารณาเลือกต้ังเป็นกรรมการบริษัทเป็น
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
การล่วงหน้า ระหว่างวันท่ี 3 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2563 โดยเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ และ เว็บไซต์ของบริษัท ซ่ึงเม่ือครบกําหนดระยะเวลาท่ีเปิดโอกาส ปรากฏว่าไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอช่ือบุคคลเข้ามายังบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาการดําเนินการสรรหากรรมการแทนกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ โดยพิจารณาบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัท และมีประวัติการทํางานที่ดี มีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และเห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการท่ี ออกจากตําแหน่งตามวาระทั้งสามท่าน ได้แก่ 1.) นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ 2.) นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล และ 3.) นายเทพกุล พูลลาภ กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการตามตําแหน่งเดิมต่ออีกวาระหน่ึง รายละเอียดประวัติโดยสังเขปของท้ัง 3 ท่าน ตามสิ่งท่ีส่งมาด้วยหมายเลข 7
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระ โดยวาระน้ีต้องลงมติอนุมัติเป็นรายบุคคลด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท)
หน้า19/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ เข้าดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร / กรรมการบริษัทตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล (กรรมการบริษัท)
เสียง เสียง
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนางสาวปาร์ย อรรถพิสาล เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
3. นายเทพกุล พูลลาภ (กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ)
1,018,953,400 เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายเทพกุล พูลลาภ เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 100
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 12 พิจารณาอนุมัติกําหนดค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ตามความสอดคล้องกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยเสนอกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ในรูปแบบของค่าเบ้ียประชุมและค่าตอบแทนรายเดือนในวงเงินไม่เกิน 4,000,000 บาทต่อปี ตามรายละเอียดดังนี้
ประธานกรรมการ 35,000 40,000 30,000 30,000 30,000 กรรมการ 30,000 30,000 25,000 25,000 25,000
ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
กรรมการบริษัท
กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน
กรรมการบริหาร ความเสี่ยง
ค่าตอบแทน รายเดือน
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม(จ่าย ต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
หน้า20/23
ทั้งน้ีกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารขอสละสิทธิ์ไม่รับค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้มีการนําเสนอค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 เพื่อเปรียบเทียบ และเหตุผล
ของการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการด้วย
นายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองกรรมการผู้จัดใหญ่สายงานบริหารบัญชี-การเงิน แถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า ค่าตอบแทนกรรมการในปี 2562 ในส่วนของประธานกรรมการจ่ายค่าตอบแทนรายเดือนอยู่ท่ี 20,000 บาท และเพิ่มขึ้นเป็น 35,000 บาทสําหรับปี 2563 ส่วนเบี้ยประชุมต่อครั้ง จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 35,000 บาท เพ่ิมขึ้นเป็น 40,000 บาทสําหรับปี 2563
สําหรับประธานกรรมการคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 18,000 บาทในปี 2562 เพิ่มเป็นครั้งละ 30,000 บาท ในปี 2563 สําหรับกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 15,000 บาทในปี 2562 เพ่ิมข้ึนเป็น 25,000 บาทในปี 2563 ซึ่งสาเหตุที่มีการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการในปี 2563 คือเพื่อปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและการ ขยายตัวของโรงงาน และเพื่อความเหมาะสมเมื่อเทียบกับลักษณะของธุรกิจในอุตสาหกรรมแบบเดียวกัน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี2563โดยวาระนี้จะต้องลงมตอินุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนเสียงท้ังหมด ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้กรรมการที่เป็นผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนกรรมการตามวาระนี้จะไม่สามารถออกเสียงลงมติใน วาระน้ี
มติ: ประชุมพิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนน เสียง ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 13 พิจารณาเรื่องอ่ืนๆ (ถ้ามี)
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามผู้เข้าร่วมประชุมว่ามีเร่ืองอ่ืนใดท่ีจะนําเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า จากผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 และจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ที่กระทบอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ําและปลายน้ํา บริษัทฯ
คาดการณ์ว่าผลประกอบการปี 2563 จะเป็นอย่างไร
หน้า21/23
ประธานฯ แถลงต่อที่ประชุมว่า ผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 คือ margin หรืออัตราส่วนกําไรที่เป็น ร้อยละลดลง เนื่องจากบริษัทฯได้ขยายตลาดเพิ่มมากขึ้นและบริษัทฯพิจารณาไม่บวกกําไรกับลูกค้าในอัตราสูงเกินไป อย่างไรก็ตามยอดขายของบริษัทฯยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประธานฯชี้แจงเพิ่มเติมว่าในไตรมาสที่ 1 ของปี 2563 ที่ได้มีการปิดงบการเงินระหว่างกาลไปแล้วนั้น น่าจะมีการประกาศ งบการเงินระหว่างกาลภายในเวลาที่กําหนดคือเดือนพฤษภาคม ส่วนในไตรมาสที่สอง ตัวเลขก็ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่ คาดการณ์ไว้ เนื่องจากไตรมาสสองเป็นการขายยางจากไตรมาสที่ส่ีของปี 2562 และจากไตรมาสแรกในปี 2563 ซึ่งราคา ขายยางในช่วงเวลาดังกล่าวค่อนข้างดี ก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ทําให้ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจริงคือในช่วงไตรมาสท่ีสามในปี 2563 ซ่ึงอาจจะลดลงจากท่ีประมาณการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯจะมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้บริษัทฯ ชี้แจงถึงความต้องการเงินทุนว่าจะนําไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และ จัดลําดับความสําคัญ เช่น การขยายโรงงาน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เป็นต้น
ประธานฯ ชี้แจงต่อที่ประชุมว่าลําดับความสําคัญอันดับหนึ่งคือการเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ซึ่งต้องใช้เงิน ประมาณ 2-3 พันล้านบาท ส่วนเรื่องเงินทุนหมุนเวียน บริษัทฯมีอยู่เงินทุนหมุนเวียนส่วนนึงแล้วจากเงิน IPO ที่ได้มา ประมาณ 1,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ใช้สร้างโรงงานใหม่ไปประมาณ 500 ล้านบาท ทําให้เหลือเงินอยู่อีกประมาณเกือบ 1000 ล้านบาท
3. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามว่าปัญหาภัยแล้งของประเทศไทยในปี 2563 จะส่งผลกระทบ ต่อผลประกอบการของบริษัทมากน้อยแค่ไหน ถึงขั้นทําให้ไตรมาส 2 ปี 2563 มีผลขาดทุนหรือไม่ ประธานฯชี้แจงต่อที่ประชุมว่าสถานการณ์ภัยแล้งในภาคอีสานที่ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งไว้ว่าน่าจะเป็นช่วงเดือน ธันวาคม 2562 ได้เปลี่ยนไป กล่าวคือ ปีนี้เป็นปีที่มีฝนตกบ่อยกว่าในปีที่แล้ว ทําให้บริษัทฯมองว่าสถานการณ์ภัยแล้งไม่ น่าจะมีผลกระทบโดยนัยสําคัญ แต่บริษัทฯได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ซ่ึงอาจจะกระทบในระยะยาวต่อไป ท้ังน้ี เน่ืองจากบริษัทฯได้มีการซ้ือขายล่วงหน้าเอาไว้ 5-6 เดือน จึงทําให้ไม่มีผลกระทบต่อไตรมาสท่ี 1-2 ส่วนไตรมาสที่ 3 และ 4 อาจได้รับผลกระทบบ้าง ซึ่งบริษัทฯจะติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดและจะนํามารายงานให้ทราบต่อไป
4. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามถึงรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน โดยขอให้บริษัท ฯ แจ้งรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนต่อที่ประชุม
ประธานฯ ช้ีแจงต่อที่ประชุมว่าโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซ่ึงเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดเล็กท่ีมีเป้าหมายให้แต่ละชุมชนมีส่วนร่วมและถือหุ้น โดยกําหนดให้รัฐวิสาหกิจชุมชนเข้าถือหุ้นบุริมสิทธิในโรงไฟฟ้าไม่ ต่ํากว่า 10% ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างจัดทํารายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์ เพ่ือเตรียมประกาศหลักเกณฑ์ คัดเลือกโครงการ บริษัทฯได้พิจารณาการเข้าร่วมโครงการในรูปแบบ Quick Win ซึ่งเป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับ โรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว หรือใกล้จะแล้วเสร็จเข้าร่วมโครงการและมีกําหนดให้จ่ายไฟเข้าระบบภายในปี 2563 ทั้งน้ี
หน้า22/23
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังร่าง TOR ยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาจมีการเลื่อนประมูลออกไป ทําให้ ต้องรอทางรัฐบาลเป็นผู้กําหนดวัน ประมูลมาอีกคร้ัง
ในส่วนของขนาดโครงการ บริษัทฯมีการคาดการณ์ว่าจะยื่นเสนอเพื่อประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนกําลังการผลิตประมาณ 40 เม กะวัตต์ บริษัทฯคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าให้แล้วเสร็จอย่างเร็วท่ีสุดภายใน 1 ปีครึ่ง ซ่ึงในร่าง TOR ของ รัฐบาลนั้น บริษัทที่ประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนในส่วนของโครงการทั่วไป จะต้องขายไฟภายใน 31 ธันวาคม 2565 เท่ากับว่า เหลือเวลาอีก 1 ปีครึ่งนับจากวันน้ีเป็นต้นไป
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะท่านใดเสนอเร่ืองอ่ืนๆ เพื่อพิจารณา
ประธานฯ จึงกล่าวขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้รับมอบฉันทะ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านท่ีสละเวลาเข้าร่วมประชุม และปิดประชุมเวลา 12.00 น.
ลงชื่อ
ลงช่ือ
นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร
นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
ประธานท่ีประชุม
ผู้บันทึกการประชุม
หน้า23/23
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 17
AGM NER
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563
เวลาและสถานท่ี การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 ของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ประชุมเมื่อวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมรวมพลัง บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 398 หมู่ 4 ตําบลโคกม้า อําเภอประโคนชัย จังหวัด บุรีรัมย์ 31140
ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 นั้น เนื่องจากนายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ประธานกรรมการบริษัทเข้าร่วมการประชุม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมจึงเสนอให้ นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทําหน้าที่เป็นประธานที่ ประชุม (“ประธานฯ”) และมนี างสาวรมย์รัมภา เริ่มรู้ ทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินการประชุม (“ผู้ดําเนินการประชุม”)
ผู้ดําเนินการประชุมได้แถลงต่อที่ประชุมว่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID- 19”) กรรมการบริษัทบางส่วนและที่ปรึกษาของบริษัทฯจึงเข้าร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้แนะนํา กรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน และท่ีปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ ท่ีเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง และเข้าร่วมประชุม ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ดังน้ี
กรรมการบริษัทท่ีเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นายศักด์ิชัย จงสถาพงษ์พันธ์
3. ผศ. ดร. ศิริรักษ์ ขาวไชยมหา
4. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
กรรมการบริษัทที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
1. นายชนิตร ชาญชัยณรงค์
2. นายรณชิต จินะดิษฐ์
3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
4. นายเทพกุล พูลลาภ
ผู้สอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชี บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
1. นายสมภพ ศักด์ิพันธ์พนม
2. นางสาวพรพรรณ สว่างเนตร
3. นางสาวธันย์ชนก ศักด์ิพันธ์พนม
ท่ีปรึกษากฎหมายที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายสัณฑพัฒน์ เปเรร่า ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ท่ีปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด
หน้า1/23
2. นายสัภยา สุระกิจจากร ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนช่ันแนล จํากัด
ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัท โอเจ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด เป็นผู้ทําการตรวจสอบการลงทะเบียนของผู้ถือหุ้นและ ตรวจนับผลคะแนนเสียง
ผู้ดําเนินการประชุมแถลงต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นในวันที่ 12 มีนาคม 2563 (Record Date) น้ัน มีจํานวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมประชุมท้ังส้ิน 4,707 ราย จากจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายได้แล้วทั้งหมด 1,540,000,000 หุ้น และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันนี้ มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 39 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,008,758,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 65.5038 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้ท้ังหมด ครบเป็นองค์ประชุมตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษัทแล้ว (ภายหลังการประชุมเริ่มต้น มีถือหุ้นเข้าร่วมประชุมเพิ่มขึ้น รวมจํานวนผู้ถือหุ้นเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 44 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,018,953,400 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 66.1658 ของจํานวนหุ้น ท่ีจําหน่ายได้ทั้งหมด และผู้ดําเนินการประชุมได้แจ้งให้ท่ีประชุมรับทราบแล้ว)
ประธานฯ ได้กล่าวเปิดการประชุม และแจ้งให้ผู้ดําเนินการประชุมชี้แจงระเบียบหลักเกณฑ์ในการออกเสียงลงคะแนน ซึ่งมี สาระสําคัญดังน้ี
1. ในการออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น ได้กําหนดให้ผู้ถือหุ้นทุกคน มีคะแนนเสียงหน่ึงเสียงต่อหน่ึงหุ้น ซึ่งผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะต้องออกเสียงลงคะแนนเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ไม่สามารถ แบ่งการออกเสียงลงคะแนนเป็นบางส่วน
2. หากผู้ถือหุ้นท่านใดประสงค์จะซักถาม หรือต้องการให้กรรมการหรือผู้บริหารชี้แจงเพิ่มเติมในประเด็นใด ขอให้ผู้ถือหุ้นที่ ต้องการสอบถามยกมือข้ึนเมื่อประธานฯ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากประธานฯ นําเสนอจบในแต่ละวาระ หรือเม่ือพิจารณา ครบทุกวาระแล้ว
3. หากท่านผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะท่านใด ประสงค์จะออกจากท่ีประชุมก่อนปิดการประชุม และประสงค์จะลงคะแนนใน วาระที่เหลือ ขอความกรุณาส่งบัตรลงคะแนนพร้อมลงลายมือชื่อ ส่งให้เจ้าหน้าที่บริษัท ก่อนการออกจากห้องประชุม เพ่ือ ทางบริษัทจะทําการบันทึกคะแนนของท่านไว้ในระบบ
4. สําหรับเงื่อนไขในการอนุมัติมติในแต่ละวาระ มีดังน้ี
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและออกเสียงลงคะแนนเสียง คือ วาระท่ี 1
วาระท่ี 3 วาระที่ 4 วาระท่ี 10 และวาระท่ี 11
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 2 ใน 3 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมคือ วาระท่ี 12
• วาระท่ีต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
ลงคะแนนคือ วาระที่ 5 วาระที่ 6 วาระที่ 7 วาระท่ี 8 และวาระท่ี 9
• วาระท่ี 2 เป็นการรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 ซึ่งเป็นเร่ืองเพื่อทราบ จะไม่มีการลงมติ
5. ผู้ถือหุ้นท่านใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ห้ามมิให้ออกเสียงในวาระนั้น หรือบริษัทอาจเชิญให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวออก จากท่ีประชุมได้เป็นการชั่วคราวในวาระนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของการอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกท่าน สามารถลงคะแนนได้โดยไม่ถือว่ามีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ
หน้า2/23
ผู้ถือหุ้นท่านใดไม่เห็นด้วยหรือประสงค์จะงดออกเสียง ประธานฯ จะขอให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียง ลงคะแนนใน บัตรลงคะแนนพร้อมทั้งลงลายมือชื่อ โดยเจ้าหน้าท่ีของบริษัทฯจะทําการเก็บบัตรเพื่อมานับคะแนน บริษัทฯจะนําคะแนนเสียงที่ไม่เห็น ด้วยและ/หรืองดออกเสียงน้ัน หักออกจากจํานวนเสียงท้ังหมดท่ีเข้าร่วมประชุมหรือมีสิทธ์ิออกเสียงลงคะแนน เพื่อสรุปผลการลงคะแนนใน แต่ละวาระ
เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการนับคะแนนเสียงการประชุมในวันนี้ ผู้ดําเนินการประชุมได้ขออาสาสมัครผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบ ฉันทะจากผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 1 ท่านมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน โดยนายทศพล กระสายเงิน ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะ ได้ อาสาสมัครเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นเพื่อมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน
จากน้ันผู้ดําเนินการประชุมไดด้ําเนินการประชุมตามระเบียบวาระต่างๆที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมดังนี้
วาระที่ 1 พิจารณารับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น คร้ังท่ี 1/2562
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้จัดการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นคร้ังที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2562 โดยได้มีการจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ได้เผยรายงานดังกล่าวในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งน้ี คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่ารายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2562 ได้มีการบันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน เห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นรับรองรายงานการประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 3/2561
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณารับรอง รายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์รับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 2 รับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,008,764,800 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ ได้รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 โดยปรากฏอยู่ใน รายงานประจําปี 2562 ท่ีได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุมคร้ังนี้ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ให้ ที่ประชุมรับทราบ โดยนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ ได้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ประกอบไปด้วยรายละเอียดของ รายได้ รวมประจําปแี ละรายได้โดยจําแนกตามผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กําไรข้ันต้นประจําปี กําไรสุทธิ สินทรัพย์รวม หน้ีสินรวม
หน้า3/23
อัตราส่วนทางการเงินประจําปี 2562 โดยได้ทําการเปรียบเทียบกับผลดําเนินงานประจําปี 2561 ตลอดจนรายการบัญชีที่มีสาระสําคัญใน งบแสดงฐานะการเงินของบริษัทฯ รายละเอียดตามเอกสารแนบ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงแจ้งต่อท่ีประชุมว่าวาระน้ีไม่มีการลง มติเนื่องจากเป็นวาระการแจ้งเพื่อทราบ
มติ: ท่ีประชุมรับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามท่ีได้รายงานต่อที่ ประชุม
วาระท่ี 3 พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานงบ การเงินประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยบริษัทฯ ได้จัดทํางบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของ บริษัทสําหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 และได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองโดยผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิ เอท จํากัด และได้ผ่านพิจารณาสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทแล้ว โดยมีรายละเอียดปรากฏอยู่ในหมวด งบการเงินในรายงานประจําปี 2562 ซึ่งได้จัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมครั้งน้ี สิ่งที่ส่งมาด้วยหมายเลข 2 สรุป สาระสําคัญได้ดังนี้
รายการ
รายได้รวม รวมต้นทุนผลิตและค่าใช้จ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
รอบปีบัญชี
2561 10,084,010,412 9,585,942,316 486,455,602 0.47 6,693,153,742 4,020,695,501 2,672,458,241
หน่วย: บาท
2562 13,107,150,773 12,544,266,485 538,879,645 0.35 7,989,126,630 4,977,988,744 3,011,137,886
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่ เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติงบ
การเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า4/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 4 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานการจัดสรรกําไรและพิจารณาการจ่ายปันผลประจําปี 2562 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ โดย พระราชบัญญัติมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 115 กําหนดให้บริษัทจ่ายเงินปันผลจากเงินกําไรเท่านั้น และมาตรา 116 กําหนดให้ บริษัทต้องจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีส่วนหน่ึงไว้เป็นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี จนกว่าทุนสํารองจะมีจํานวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลการจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิของงบการเงินของ บริษัท ภายหลังจากหักภาษี และเงินทุนสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่น (ถ้ามี) อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ โดยจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง ความจําเป็นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน แผนการลงทุน และการขยายธุรกิจในอนาคต สภาวะตลาด ความเหมาะสมและปัจจัยอื่นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงาน และการบริหารงาน ของบริษัท โดยอยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ว่า บริษัทจะต้องมีเงินสดเพียงพอสําหรับการดําเนินธุรกิจ และการดําเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสดุต่อผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรรมการบริษัทและ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทเห็นสมควร
จากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 บริษัทมีกําไรสุทธิประจําปีจํานวน 538,879,645 บาท จึงเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพ่ือ พิจารณาอนุมัติดังนี้
1. การจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย 27,000,000 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี สําหรับปี 2562 โดยหลังการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย บริษัทจะมีทุนสํารองตามกฎหมายจํานวน 70,675,000 บาท
2. การจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ในอัตราหุ้นละ 0.14 บาท คิดเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 215.6 0 ล้าน บาท หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลร้อยละ 42.12 ของกําไรสุทธิหลังจากหักเงินทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งเป็นไปตาม นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท โดยเป็นการจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิที่ได้รับยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากสิทธิ ประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน (BOI)
หากท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 อนุมัตกิ ารจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562 ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 บริษัทจะกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผล (Record date) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 และกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันท่ี 11 พฤษภาคม 2563
หน้า5/23
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดย วาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัตดิ้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผล การดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียง ลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระท่ี 5 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 ( NER- W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ใน อัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น จึงมีความ จําเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม ดังนั้น จึงเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท คร้ังที่ 1 (NER-W1) เพ่ือใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุนในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ รวมทั้ง ช่วยเสริมให้บริษัทฯมีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อสร้างความพร้อมสําหรับการดําเนินงานในอนาคต โดยบริษัทฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของ บริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น โดยมีรายละเอียดท่ีสําคัญดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
ประเภท
ชนิด จํานวน
ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ซ้ือหุ้นสามัญของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1“ (ใบสําคัญแสดงสิทธิ” หรือ “NER-W1”)
ระบุช่ือผู้ถือและสามารถเปล่ียนมือได้
308,000,000 หน่วย
หน้า6/23
หัวข้อ
รายละเอียด
จํานวนหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อ รองรับการใช้สิทธิ ราคาเสนอขาย
อัตราการใช้สิทธิ
ราคาใช้สิทธิ วันออกเสนอขาย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
308,000,000 หนุ้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.00 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย แล้วท้ังหมด 1,540,000,000 หุ้น
0 บาทต่อหน่วย (ศูนย์บาท)
ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตาม เง่ือนไขการปรับสิทธิ
1.80 บาทต่อหุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามเงื่อนการปรับสิทธิ
วันที่ 27 พฤษภาคม 2563
2 ปีนับจากวันท่ีออกใบสําคัญแสดงสิทธิ
วิธีการจัดสรร
จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ใน กรณีที่มีเศษจากการคํานวณตามอัตราการจัดสรรดังกล่าว ให้ปัดเศษนั้นทิ้ง
ทั้งนี้ บริษัทกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทที่มีสิทธิรับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ใน วันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date)
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
- ครั้งแรก ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2563
- ครั้งที่สอง ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2564
- ครั้งที่สาม ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2564
- ครั้งที่สี่ ณ วันครบกําหนดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ คือ วันที่ 26 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ หากวันกําหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทําการให้เลื่อนเป็นวันทําการสุดท้ายก่อนวันกําหนดการ ใช้สิทธิในแต่ละครั้ง
ระยะเวลาแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิ
ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่ประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จะต้องแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.30 น. ในทุกวันทําการของบริษัท ภายในระยะเวลา 5 วันทําการก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ยกเว้นระยะเวลาแจ้งความจํานง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ซึ่งผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถแจ้งความจํานงในการใช้สิทธิภายใน 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย
ตลาดรองของใบสําคัญแสดง สิทธิ ตลาดรองของหุ้นสามัญท่ีเกิด จากการใช้สิทธิ
บริษัทจะนําใบสําคัญแสดงสิทธิไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย บริษัทจะนําหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
เงื่อนไขการปรับสิทธิ
บริษัทจะดําเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ เมื่อ เกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งต่อไปนี้ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้บริษัทต้องออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการ ปรับสิทธิ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 1. เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือ
แบ่งแยกหุ้น
หน้า7/23
หัวข้อ
รายละเอียด
2. เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญแก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไป และหรือบุคคลในวงจํากัดใน ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ที่คํานวณได้ต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท
3. เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไปและหรือ บุคคลในวงจํากัด โดยหลักทรัพย์นั้นให้สิทธิแก่ผู้ถือหลักทรัพย์ในการใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญหรือใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญโดย ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่จะออกใหม่เพื่อรับรองสิทธิดังกล่าวต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคา ตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท
4. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้น
5. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลเป็นเงินในจํานวนเกินกว่าร้อยละ 80 ของกําไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของ
บริษัท หลังหักสํารองตามกฎหมาย สําหรับการดําเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ในระหว่าง
อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
6. เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับที่กําหนดไว้ตามข้อ 1 - 5 ข้างต้นที่ทําให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ
ได้รับผลประโยชน์ด้อยไปจากเดิม
หมายเหตุ : การปรับราคาใช้สิทธิจะไม่สามารถปรับลดลงจนราคาใช้สิทธิต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้นได้ (Par Value)
เงื่อนไขอื่น
ให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานา จในการ กําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ ของใบสําคัญแสดงสิทธินี้ ตลอดจน มีอํานาจในการกําหนดเหตุแห่งการออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอัน เกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ และการนําใบสําคัญแสดงสิทธิเข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
ทั้งนี้ ให้กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date) และกําหนดวันจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ทั้งน้ี การจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน เนื่องจากต้องรอการอนุมัติจาก ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2563
ทั้งนี้ ประธานฯ เสนอให้ที่ประชุมอนุมัติการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นท่ีเกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) ซึ่งรวมไปถึงแต่ไม่จํากัดเพียงแต่ (1) การพิจารณากําหนด แก้ไข เพิ่มเติมรายละเอียดและเงื่อนไขใดๆที่จําเป็น และเกี่ยวข้องกับการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (NER-W1) เท่าที่กฎหมายกําหนดให้กระทําได้ หรือในส่วนที่ไม่ใช่ สาระสําคัญ เช่น วัน เวลา และวิธีการในการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน วิธีการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เป็นต้น (2) เข้า
หน้า8/23
เจรจา ทําความตกลง และลงนามในเอกสารและสัญญาที่เกี่ยวข้อง และดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) และ (3) ลงนามในแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานท่ีจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดสรรใบสําคัญแสดง สิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน รวมถึงการติดต่อและยื่นแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานที่จําเป็นและเก่ียวข้องต่อหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้อง และการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดําเนินการอื่นใดตามที่จําเป็นเพื่อการ จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพ่ิมทุน
ประธานฯ จึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อัน จําเป็นและสมควรอันเก่ียวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า ตามที่บริษัทมีความประสงค์จะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือ หุ้นสามัญเพ่ิมทุน ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิ 1.80 บาท
ต่อหุ้น อยากทราบว่าได้มีการแสดงหรือการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยไว้อย่างไรบ้าง ขอให้มีการแสดงผล การศึกษาด้วย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้มั่นใจว่าจะไม่มีผลกระทบต่อเงินปันผล ไม่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และราคาตลาดของหุ้นไม่ผัน ผวนไปตามราคาใช้สิทธิ ประธานฯชี้แจงว่าการออกและเสนอใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นการให้ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่านโดย การใหโ้ ดยไม่คิดมูลค่า และจะจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น (right offering) ดังน้ัน จึงไม่มีผลกระทบต่อราคา หุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และบริษัทฯ กําหนดราคาใช้สิทธิในราคา 1.80 บาทต่อหุ้น ซ่ึง ณ วันที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเร่ืองออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้นราคาหุ้นอยู่ที่ 2.60 บาท มีส่วนต่างของการใช้สิทธิอยู่ที่ 0.80 บาท ซึ่งทาง คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าการให้ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่าน ซึ่ง หากผู้ถือหุ้นไม่ประสงค์จะใช้สิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ก็สามารถโอนใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ ซ่ึง บริษัทจะไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่วนการที่ได้เงินทุนที่ได้จากการใช้สิทธิ ก็จะเพิ่มเข้ามาเป็นฐานทุนของบริษัทฯเพื่อการขยายกิจการ ขยายการทํางานใน อนาคต ตลอดจนเพิ่มการลงทุน ซึ่งอาจต้องอาศัยแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่นเงินกู้ธนาคาร หรือการออกตราสารทาง การเงินต่าง ๆ และหากฐานทุนของบริษัทฯใหญ่ขึ้น ความสามารถหรืออํานาจการต่อรองในการกู้เงินของบริษัทฯก็จะเพิ่มข้ึน บริษัทฯก็จะโตข้ึน จะมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และก้าวเดินได้อย่างมั่นคงมากขึ้นต่อไป
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการ มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลง
หน้า9/23
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพ่ิมทุนของบริษัท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
วาระท่ี 6 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอ ขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าตามที่บริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนสําหรับใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต และแผนการลงทุนของ บริษัทฯ นั้น จึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยมี รายละเอียดดังน้ี
จัดสรรให้แก่ ประเภทหลักทรัพย์ จํานวนหุ้น/2 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว/1
/1 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว ณ วันที่คณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนมีมติให้มีการเพิ่มทุนแบบ General Mandate
/2 จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 10 ของทุนชําระแล้วของบริษัท เพื่อจัดสรรให้แก่บุคคลใน วงจํากัด (Private Placement) ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะต้องไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนท่ี ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการ
บุคคลในวงจํากัด (Private Placement :PP)
หุ้นสามัญ
ไม่เกิน 154,000,000 หุ้น
10%
หน้า10/23
เปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการท่ีเกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 ท้ังน้ี ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อบุคคล ในวงจํากัด (Private Placement) ข้างต้น ต้องไม่เข้าข่ายราคาต่ําตามเกณฑ์ราคาของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยที่เก่ียวข้อง
ทั้งนี้ บริษัทฯจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือ เป็นคราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณา และกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เก่ียวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพ่ือเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวได้ ตามท่ีเห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยจะขอ สงวนสิทธิในการโหวตไม่เห็นด้วย เพราะเปรียบเสมือนเป็นการลงนามในเช็คเปล่าไว้ให้กรอกตัวเลข ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นราย ย่อยมั่นใจด้วยว่าจะไม่มีการจําหน่ายหรือจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวในลักษณะท่ีมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของ บริษัทฯ เน่ืองจากผู้ถือหุ้นยังมีความมั่นใจในการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทอยู่ จึงขอความชัดเจนจากบริษัทฯว่าไม่
มีวาระอ่ืนใดอยู่เบื้องหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนน้ี ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า บริษัทฯ ยืนยันกับผู้ถือหุ้นว่าเหตุผลในการออกและ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ คือเพื่อการที่จะมีผู้ร่วมทุน ซึ่งเป็นผู้ร่วมทุนที่จะสร้างประโยชน์ให้กับบริษัท นําพาบริษัทให้เติบโตขึ้นได้ โดยไม่มีวาระอื่นใดแอบแฝง และเงินทุนที่ได้มา ก็จะใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลงั การผลิต และแผนการลงทุนของบริษัทฯ
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการ
หน้า11/23
จัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและ เกี่ยวเน่ืองกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุน โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจน การมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนด รายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมี อํานาจในการดําเนินการใดๆอันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่มีา ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
99.6013 0.3987 -
1,014,890,500 4,062,900
-
วาระที่ 7 พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท และแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทข้อ 4. ให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าตามท่ีที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้มีมตอินุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทคร้ังท่ี 1 (NER-W1) และอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ตามวาระที่ 5 และ 6 นั้น บริษัทฯ ต้องมีการเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยการออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน และจัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวเพ่ือรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และรองรับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ต่อมา ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน เพื่อให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
หน้า12/23
ข้อ 4
ทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท (หน่ึงพันหน่ึงล้านบาท)
แบ่งออกเป็น มูลค่าหุ้นละ โดยแยกออกเป็น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
2,002,000,000 หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
2,002,000,000 -
0.50
บาท (ห้าสิบสตางค์)
หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
หุ้น ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าสืบเนื่องมาจากวาระที่ 5 และ 6 บริษัทฯต้องออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน อีก 462,000,000 หุ้น แสดงให้เห็นถึงฐานจํานวนหุ้นที่มากข้ึน อาจส่งผลกระทบต่อผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) และจํานวนเงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นได้รับอาจจะลดลง จึงขอให้บริษัทฯชี้แจงเกี่ยวกับผลกระทบอัตราผลตอบแทนในรูปเงินปัน ผลของผถู้ือหุ้น
ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การท่ีบริษัทฯทําการเพิ่มทุนจดทะเบียนโดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน และรองรับการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ฐานทุนบริษัทจะใหญ่ขึ้น มีผู้ลงทุนเพ่ิมข้ึน และบริษัทฯจะนําเงินดังกล่าวใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรองรับการขยายกําลัง การผลิต และรองรับแผนการลงทุนของบริษัทฯ ซ่ึงหากดําเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ บริษัทฯ ก็จะมีผลประกอบการเป็นไป ตามเป้าหมาย จึงไม่น่าจะส่งผลกระทบต่ออัตราเงินปันผลที่จะจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และ การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพ่ือให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน ตามรายละเอียดที่ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงาน โดยวาระ นี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้น สามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็น การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และอนุมัติการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,153,300 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.9215 ไม่เห็นด้วย จํานวน 800,100 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.0785
หน้า13/23
งดออกเสียง จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ - บัตรเสีย จํานวน -
วาระท่ี 8 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งท่ี 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement)
ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโดยมีรายละเอียดดังน้ี
ตามที่ที่ประชุมได้พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และเสนอให้ ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังต่อไปนี้
1. จัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนจํานวน 308,000,000 หุ้น เพ่ือรองรับการการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยไม่ คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
2. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 154,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่า หุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ท้ังนี้ บริษัทจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนคร้ังเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือเป็น คราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและ กําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพื่อทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ ตามที่เห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบี ยนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น
หน้า14/23
หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยวาระน้ีจะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,014,890,500 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013 จํานวน 4,062,900 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.3987 จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน -
วาระที่ 9 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น กู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงมีแผนการลงทุนในอนาคต จึงมีความจําเป็นต้องจัดหาเงินทุนเพ่ิมเติม ดังน้ัน บริษัทฯจึงพิจารณาการออกและเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุน ในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังน้ี
วัตถุประสงค์
เพื่อนําเงินที่ได้รับจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไปใช้ในการดําเนินงาน และ/หรือ ขยายธุรกิจและ/หรือ เป็นเงินทุน หมุนเวียนของบริษัท หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร
ประเภทหุ้นกู้
หุ้นกู้ทุกประเภท/ทุกรูปแบบ (ยกเว้นหุ้นกู้แปลงสภาพ) ไม่ว่าจะเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือหรือไม่ระบุชื่อผู้ถือ มีและ/ หรือไม่มีหลักประกัน ด้อยสิทธิและ/หรือไม่ด้อยสิทธิ มี/และหรือไม่มีการจัดอันดับเครดิต มี/และหรือไม่มีผู้แทนผู้ถือ หุ้นกู้ ชนิดทยอยคืนเงินต้นและ/หรือคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถ่ถอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของ ภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายในแต่ละคราว ตามที่จะได้รับอนุญาตจากหน่วยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
สกุลเงิน เงินบาทและ/หรือเงินสกุลต่างประเทศ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนในขณะออกและเสนอการขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
หน้า15/23
มูลค่ารวมของหุ้นกู้
มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ยังไม่ไถ่ถอน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง กําหนดไว้ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท หรือในสกุลเงินอื่นในอัตรา ที่เทียบเท่าเงินสกุลบาท ทั้งนี้ บริษัทสามารถออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติม และ/หรือ ออกขายเสนอหุ้นกู้เพื่อ ทดแทนหุ้นกู้เดิมที่มีการไถ่ถอนไปแล้ว ภายในวงเงินดังกล่าว โดยจํานวนเงินต้นคงค้างทั้งหมดของหุ้นกู้ที่บริษัท ออกจําหน่ายแล้วในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องมีจํานวนเงินไม่เกินวงเงินดังกล่าว
อัตราดอกเบี้ย
ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าว ทั้งนี้อยู่ภายใต้บังคับของประกาศคณะกรรมการการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรือ ประกาศหรือกฎระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่มี ผลบังคับในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การเสนอขาย
1) เสนอขายหุ้นกู้ทั้งหมดในคราวเดียวกันหรือหลายคราวและ/หรือเป็นโครงการและ/หรือในลักษณะหมุนเวียน (Revolving) ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นก็ในลักษณะหมุนเวียนบริษัทสามารถไถ่ถอนหรือรับชําระคืนเงินต้นได้ ภายใต้เงื่อนไขและวงเงินที่กําหนดไว้
2) เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปและ/หรือให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงและ/หรือผู้ลงทุนประเภทสถาบันใน ประเทศ และ/หรือในต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งอาจแบ่งเป็นการเสนอขาย ในครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ คณะกรรมการตลาดทุน หรือตามประกาศ กฎกระทรวง กฎระเบียบและกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีผลบังคับ ใช้ในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้นั้น
3) ในกรณีที่บริษัทได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนหุ้นกู้ที่ได้ออกภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัตินี้บริษัทสามารถออกหุ้นกู้ ทดแทนเพิ่มเติมได้อีกตามจํานวนที่ได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนโดยหุ้นกู้ที่บริษัทออกทดแทนนี้จะมีอายุและเง่อืนไข ตามที่กําหนดไว้
การไถ่ถอนก่อน กําหนด
ผู้ถือหุ้นกู้อาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด และบริษัทมีหรือไม่มีสิทธิของไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด หรือบริษัทอาจกําหนดให้มีหรือไม่มีการไถ่ถอนในกรณีพิเศษ (Special Event Redemption) ใด หรือไม่ก็ได้ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามข้อตกลงและเงื่อนไขการขอออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การมอบอํานาจ
ข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้นกู้ จํานวนที่เสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลา การไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขอ อนุญาตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้า เจรจาตกลงลงนามในเอกสารและสัญญาต่างๆที่เกี่ยวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตามที่จําเป็นและเกี่ยวเน่อืงกับ การออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัท ให้อยู่ในอํานาจของกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ ได้รับมอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่จะพิจารณาและกําหนดต่อไป
เง่ือนไขอื่นๆ ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะท่ีออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคร้ัง และปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
หน้า16/23
ทั้งนี้ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการมอบอํานาจให้กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ได้รับ มอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท มีอํานาจในการกําหนดข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและ เก่ียวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบ้ีย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้น กู้ จํานวนท่ีเสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลาการไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งต้ังท่ีปรึกษาหรือบุคคลที่เก่ียวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้าเจรจา ตกลง ลงนามในเอกสารและ สัญญาต่างๆท่ีเก่ียวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตาม ท่ีจําเป็นและเก่ียวเนื่องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามบริษัทฯถึงวัตถุประสงค์การออกหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ว่าจะ
นําเงินจากหุ้นกู้ไปลงทุนในทรัพย์สินอะไร
ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า วัตถุประสงค์หลักในการออกหุ้นกู้ครั้งน้ีคือเพ่ือนําเงิน ไปเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซึ่งวางเป้าในการทํางานไว้ ประมาณ 40 เมกะวัตต์ โดยสาเหตุที่เลือกการระดมทุนโดยการออกหุ้นกู้ เน่ืองจากหากบริษัทฯใช้วิธีการกู้เงินธนาคารแทน บริษัทฯอาจไม่สามารถดําเนินการได้ทันหลังจากได้รับอนุมัติการซื้อขายไฟจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพราะขั้นตอนการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อจากธนาคารค่อนข้างใช้เวลาพอสมควร ดังนั้น จึงจําเป็นต้องออกหุ้นกู้เพื่อความคล่องตัวในการ บรหิารงานโรงไฟฟ้าชุมชน
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามถึงการคาดการณ์อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่าบริษัทได้ทําการศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนใน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ตลอดจนอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return: IRR) แล้ว ซึ่งน่าจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 15
3. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่าการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้มีผลกระทบต่อต้นทุนเงินทุนรวมของกิจการ อย่างไร อยากทราบว่ามีการศึกษาต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนท่ีนํามาใช้ในกิจการ (weighted average cost of capital : WACC) ของบริษัทฯไว้หรือไม่ อย่างไร อยากให้บริษัทฯนําเสนอข้อมูลด้านน้ีเพื่อให้ความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้นรายย่อย ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การออกหุ้นกู้ของบริษัทฯในครั้งนี้ ได้มีการศึกษา ต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนที่นํามาใช้ในกิจการ และจะไม่มีผลกระทบต่อต้นทุน หรือต่อทุนรวมของการลงทุนเดิม เนื่องจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้ จะเป็นการแยกวงเงินกันชัดเจนระหว่างการลงทุนเดิม และการลงทุนใหม่ เพราะฉะนั้นจึงจะไม่เกิดผลกระทบต่อธุรกิจเดิมของบริษัทฯ และขอให้นักลงทุนมั่นใจว่าบริษัทฯได้มีการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการก่อนลงทุนอยู่แล้ว ซ่ึงถ้าโครงการใดให้ผลตอบแทนท่ีไม่ดี บริษัทฯจะไม่พิจารณาเข้าไปลงทุน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
หน้า17/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013
จํานวน - จํานวน - จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
วาระท่ี 10 พิจารณาอนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 120 กําหนดว่า "ให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีแต่งต้ังผู้สอบบัญชี และกําหนด จํานวนเงินค่าสอบบัญชีของบริษัททุกปี ในการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีจะแต่งต้ังผู้สอบบัญชีคนเดิมก็ได้” และได้เสนอให้ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจําปี 2563 ตามรายชื่อ ดังต่อไปน้ี
1) นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3425 หรือ
2) นายอัครเดช เปลี่ยนสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขท่ี 5389 หรือ
3) นางสาวกรทิพย์ วาณิชวิเศษกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6947
โดยกําหนดให้ผู้สอบบัญชีคนใดคนหน่ึงตามท่ีเสนอข้างต้น เป็นผู้ทําการตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของบริษัท
ประจําปี 2563 ทั้งนี้ผู้สอบบัญชีทั้งสามท่านดังกล่าว เป็นผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจใดๆกับบริษัทฯ หรือผู้บริหาร ของบริษัทฯ ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด จัดหาผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตอื่นของสํานักงานทําหน้าที่ตรวจสอบบัญชีและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทแทนผู้สอบบัญชีดังกล่าวได้ แต่ต้อง ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นบริษัทฯก่อน
สําหรับค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้ว เห็นควรเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าสอบบัญชีประจําปี 2563 เป็นเงินจํานวน 2,170,000 บาท โดยมีรายละเอียดการเปรียบเทียบค่าสอบบัญชีประจําปี 2561 และ 2562 ดังน้ี
ปี 2562 ปี 2563 การเปล่ียนแปลง
ค่าสอบบัญชี 2,070,000 บาท 2,170,000 บาท ค่าสอบบัญชีปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562
จํานวน 100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.80 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่ง มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า18/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 ตามท่ี ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 11 พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระเพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาให้ความอนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 71 และ ข้อบังคับของบริษัท ข้อ 20 กําหนดว่า “ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีทุกคร้ัง ให้กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม ของ จํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการท่ีซึ่งพ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทน้ัน ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการท่ีอยู่ในตําแหน่งนานท่ีสุดน้ันเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง” โดยใน ปีนี้มีกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ 3 ท่าน ประกอบด้วย
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
3. นายเทพกุล พูลลาภ
ทั้งน้ี บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพ่ือเข้ารับการพิจารณาเลือกต้ังเป็นกรรมการบริษัทเป็น
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
การล่วงหน้า ระหว่างวันท่ี 3 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2563 โดยเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ และ เว็บไซต์ของบริษัท ซ่ึงเม่ือครบกําหนดระยะเวลาท่ีเปิดโอกาส ปรากฏว่าไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอช่ือบุคคลเข้ามายังบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาการดําเนินการสรรหากรรมการแทนกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ โดยพิจารณาบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัท และมีประวัติการทํางานที่ดี มีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และเห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการท่ี ออกจากตําแหน่งตามวาระทั้งสามท่าน ได้แก่ 1.) นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ 2.) นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล และ 3.) นายเทพกุล พูลลาภ กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการตามตําแหน่งเดิมต่ออีกวาระหน่ึง รายละเอียดประวัติโดยสังเขปของท้ัง 3 ท่าน ตามสิ่งท่ีส่งมาด้วยหมายเลข 7
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระ โดยวาระน้ีต้องลงมติอนุมัติเป็นรายบุคคลด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท)
หน้า19/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ เข้าดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร / กรรมการบริษัทตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล (กรรมการบริษัท)
เสียง เสียง
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนางสาวปาร์ย อรรถพิสาล เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
3. นายเทพกุล พูลลาภ (กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ)
1,018,953,400 เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายเทพกุล พูลลาภ เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 100
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 12 พิจารณาอนุมัติกําหนดค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ตามความสอดคล้องกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยเสนอกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ในรูปแบบของค่าเบ้ียประชุมและค่าตอบแทนรายเดือนในวงเงินไม่เกิน 4,000,000 บาทต่อปี ตามรายละเอียดดังนี้
ประธานกรรมการ 35,000 40,000 30,000 30,000 30,000 กรรมการ 30,000 30,000 25,000 25,000 25,000
ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
กรรมการบริษัท
กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน
กรรมการบริหาร ความเสี่ยง
ค่าตอบแทน รายเดือน
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม(จ่าย ต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
หน้า20/23
ทั้งน้ีกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารขอสละสิทธิ์ไม่รับค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้มีการนําเสนอค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 เพื่อเปรียบเทียบ และเหตุผล
ของการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการด้วย
นายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองกรรมการผู้จัดใหญ่สายงานบริหารบัญชี-การเงิน แถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า ค่าตอบแทนกรรมการในปี 2562 ในส่วนของประธานกรรมการจ่ายค่าตอบแทนรายเดือนอยู่ท่ี 20,000 บาท และเพิ่มขึ้นเป็น 35,000 บาทสําหรับปี 2563 ส่วนเบี้ยประชุมต่อครั้ง จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 35,000 บาท เพ่ิมขึ้นเป็น 40,000 บาทสําหรับปี 2563
สําหรับประธานกรรมการคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 18,000 บาทในปี 2562 เพิ่มเป็นครั้งละ 30,000 บาท ในปี 2563 สําหรับกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 15,000 บาทในปี 2562 เพ่ิมข้ึนเป็น 25,000 บาทในปี 2563 ซึ่งสาเหตุที่มีการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการในปี 2563 คือเพื่อปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและการ ขยายตัวของโรงงาน และเพื่อความเหมาะสมเมื่อเทียบกับลักษณะของธุรกิจในอุตสาหกรรมแบบเดียวกัน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี2563โดยวาระนี้จะต้องลงมตอินุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนเสียงท้ังหมด ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้กรรมการที่เป็นผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนกรรมการตามวาระนี้จะไม่สามารถออกเสียงลงมติใน วาระน้ี
มติ: ประชุมพิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนน เสียง ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 13 พิจารณาเรื่องอ่ืนๆ (ถ้ามี)
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามผู้เข้าร่วมประชุมว่ามีเร่ืองอ่ืนใดท่ีจะนําเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า จากผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 และจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ที่กระทบอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ําและปลายน้ํา บริษัทฯ
คาดการณ์ว่าผลประกอบการปี 2563 จะเป็นอย่างไร
หน้า21/23
ประธานฯ แถลงต่อที่ประชุมว่า ผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 คือ margin หรืออัตราส่วนกําไรที่เป็น ร้อยละลดลง เนื่องจากบริษัทฯได้ขยายตลาดเพิ่มมากขึ้นและบริษัทฯพิจารณาไม่บวกกําไรกับลูกค้าในอัตราสูงเกินไป อย่างไรก็ตามยอดขายของบริษัทฯยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประธานฯชี้แจงเพิ่มเติมว่าในไตรมาสที่ 1 ของปี 2563 ที่ได้มีการปิดงบการเงินระหว่างกาลไปแล้วนั้น น่าจะมีการประกาศ งบการเงินระหว่างกาลภายในเวลาที่กําหนดคือเดือนพฤษภาคม ส่วนในไตรมาสที่สอง ตัวเลขก็ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่ คาดการณ์ไว้ เนื่องจากไตรมาสสองเป็นการขายยางจากไตรมาสที่ส่ีของปี 2562 และจากไตรมาสแรกในปี 2563 ซึ่งราคา ขายยางในช่วงเวลาดังกล่าวค่อนข้างดี ก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ทําให้ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจริงคือในช่วงไตรมาสท่ีสามในปี 2563 ซ่ึงอาจจะลดลงจากท่ีประมาณการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯจะมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้บริษัทฯ ชี้แจงถึงความต้องการเงินทุนว่าจะนําไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และ จัดลําดับความสําคัญ เช่น การขยายโรงงาน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เป็นต้น
ประธานฯ ชี้แจงต่อที่ประชุมว่าลําดับความสําคัญอันดับหนึ่งคือการเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ซึ่งต้องใช้เงิน ประมาณ 2-3 พันล้านบาท ส่วนเรื่องเงินทุนหมุนเวียน บริษัทฯมีอยู่เงินทุนหมุนเวียนส่วนนึงแล้วจากเงิน IPO ที่ได้มา ประมาณ 1,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ใช้สร้างโรงงานใหม่ไปประมาณ 500 ล้านบาท ทําให้เหลือเงินอยู่อีกประมาณเกือบ 1000 ล้านบาท
3. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามว่าปัญหาภัยแล้งของประเทศไทยในปี 2563 จะส่งผลกระทบ ต่อผลประกอบการของบริษัทมากน้อยแค่ไหน ถึงขั้นทําให้ไตรมาส 2 ปี 2563 มีผลขาดทุนหรือไม่ ประธานฯชี้แจงต่อที่ประชุมว่าสถานการณ์ภัยแล้งในภาคอีสานที่ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งไว้ว่าน่าจะเป็นช่วงเดือน ธันวาคม 2562 ได้เปลี่ยนไป กล่าวคือ ปีนี้เป็นปีที่มีฝนตกบ่อยกว่าในปีที่แล้ว ทําให้บริษัทฯมองว่าสถานการณ์ภัยแล้งไม่ น่าจะมีผลกระทบโดยนัยสําคัญ แต่บริษัทฯได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ซ่ึงอาจจะกระทบในระยะยาวต่อไป ท้ังน้ี เน่ืองจากบริษัทฯได้มีการซ้ือขายล่วงหน้าเอาไว้ 5-6 เดือน จึงทําให้ไม่มีผลกระทบต่อไตรมาสท่ี 1-2 ส่วนไตรมาสที่ 3 และ 4 อาจได้รับผลกระทบบ้าง ซึ่งบริษัทฯจะติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดและจะนํามารายงานให้ทราบต่อไป
4. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามถึงรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน โดยขอให้บริษัท ฯ แจ้งรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนต่อที่ประชุม
ประธานฯ ช้ีแจงต่อที่ประชุมว่าโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซ่ึงเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดเล็กท่ีมีเป้าหมายให้แต่ละชุมชนมีส่วนร่วมและถือหุ้น โดยกําหนดให้รัฐวิสาหกิจชุมชนเข้าถือหุ้นบุริมสิทธิในโรงไฟฟ้าไม่ ต่ํากว่า 10% ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างจัดทํารายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์ เพ่ือเตรียมประกาศหลักเกณฑ์ คัดเลือกโครงการ บริษัทฯได้พิจารณาการเข้าร่วมโครงการในรูปแบบ Quick Win ซึ่งเป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับ โรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว หรือใกล้จะแล้วเสร็จเข้าร่วมโครงการและมีกําหนดให้จ่ายไฟเข้าระบบภายในปี 2563 ทั้งน้ี
หน้า22/23
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังร่าง TOR ยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาจมีการเลื่อนประมูลออกไป ทําให้ ต้องรอทางรัฐบาลเป็นผู้กําหนดวัน ประมูลมาอีกคร้ัง
ในส่วนของขนาดโครงการ บริษัทฯมีการคาดการณ์ว่าจะยื่นเสนอเพื่อประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนกําลังการผลิตประมาณ 40 เม กะวัตต์ บริษัทฯคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าให้แล้วเสร็จอย่างเร็วท่ีสุดภายใน 1 ปีครึ่ง ซ่ึงในร่าง TOR ของ รัฐบาลนั้น บริษัทที่ประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนในส่วนของโครงการทั่วไป จะต้องขายไฟภายใน 31 ธันวาคม 2565 เท่ากับว่า เหลือเวลาอีก 1 ปีครึ่งนับจากวันน้ีเป็นต้นไป
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะท่านใดเสนอเร่ืองอ่ืนๆ เพื่อพิจารณา
ประธานฯ จึงกล่าวขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้รับมอบฉันทะ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านท่ีสละเวลาเข้าร่วมประชุม และปิดประชุมเวลา 12.00 น.
ลงชื่อ
ลงช่ือ
นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร
นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
ประธานท่ีประชุม
ผู้บันทึกการประชุม
หน้า23/23
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563
เวลาและสถานท่ี การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 ของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ประชุมเมื่อวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมรวมพลัง บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) เลขที่ 398 หมู่ 4 ตําบลโคกม้า อําเภอประโคนชัย จังหวัด บุรีรัมย์ 31140
ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 นั้น เนื่องจากนายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ประธานกรรมการบริษัทเข้าร่วมการประชุม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมจึงเสนอให้ นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทําหน้าที่เป็นประธานที่ ประชุม (“ประธานฯ”) และมนี างสาวรมย์รัมภา เริ่มรู้ ทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินการประชุม (“ผู้ดําเนินการประชุม”)
ผู้ดําเนินการประชุมได้แถลงต่อที่ประชุมว่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID- 19”) กรรมการบริษัทบางส่วนและที่ปรึกษาของบริษัทฯจึงเข้าร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้แนะนํา กรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน และท่ีปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ ท่ีเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง และเข้าร่วมประชุม ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ดังน้ี
กรรมการบริษัทท่ีเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นายศักด์ิชัย จงสถาพงษ์พันธ์
3. ผศ. ดร. ศิริรักษ์ ขาวไชยมหา
4. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
กรรมการบริษัทที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท
กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
1. นายชนิตร ชาญชัยณรงค์
2. นายรณชิต จินะดิษฐ์
3. นางชนาทิพย์ วีระสืบพงศ์
4. นายเทพกุล พูลลาภ
ผู้สอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชี บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
1. นายสมภพ ศักด์ิพันธ์พนม
2. นางสาวพรพรรณ สว่างเนตร
3. นางสาวธันย์ชนก ศักด์ิพันธ์พนม
ท่ีปรึกษากฎหมายที่เข้าร่วมประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์
1. นายสัณฑพัฒน์ เปเรร่า ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ท่ีปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แอสเซท โปร แมเนจเม้นท์ จํากัด
หน้า1/23
2. นายสัภยา สุระกิจจากร ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ติลลิกี แอนด์ กิบบินส์ อินเตอร์เนช่ันแนล จํากัด
ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัท โอเจ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด เป็นผู้ทําการตรวจสอบการลงทะเบียนของผู้ถือหุ้นและ ตรวจนับผลคะแนนเสียง
ผู้ดําเนินการประชุมแถลงต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นในวันที่ 12 มีนาคม 2563 (Record Date) น้ัน มีจํานวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมประชุมท้ังส้ิน 4,707 ราย จากจํานวนหุ้นที่ออกและจําหน่ายได้แล้วทั้งหมด 1,540,000,000 หุ้น และในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันนี้ มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 39 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,008,758,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 65.5038 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้ท้ังหมด ครบเป็นองค์ประชุมตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษัทแล้ว (ภายหลังการประชุมเริ่มต้น มีถือหุ้นเข้าร่วมประชุมเพิ่มขึ้น รวมจํานวนผู้ถือหุ้นเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะรวมทั้งส้ิน 44 ราย รวมจํานวนหุ้น 1,018,953,400 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 66.1658 ของจํานวนหุ้น ท่ีจําหน่ายได้ทั้งหมด และผู้ดําเนินการประชุมได้แจ้งให้ท่ีประชุมรับทราบแล้ว)
ประธานฯ ได้กล่าวเปิดการประชุม และแจ้งให้ผู้ดําเนินการประชุมชี้แจงระเบียบหลักเกณฑ์ในการออกเสียงลงคะแนน ซึ่งมี สาระสําคัญดังน้ี
1. ในการออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น ได้กําหนดให้ผู้ถือหุ้นทุกคน มีคะแนนเสียงหน่ึงเสียงต่อหน่ึงหุ้น ซึ่งผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะต้องออกเสียงลงคะแนนเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ไม่สามารถ แบ่งการออกเสียงลงคะแนนเป็นบางส่วน
2. หากผู้ถือหุ้นท่านใดประสงค์จะซักถาม หรือต้องการให้กรรมการหรือผู้บริหารชี้แจงเพิ่มเติมในประเด็นใด ขอให้ผู้ถือหุ้นที่ ต้องการสอบถามยกมือข้ึนเมื่อประธานฯ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากประธานฯ นําเสนอจบในแต่ละวาระ หรือเม่ือพิจารณา ครบทุกวาระแล้ว
3. หากท่านผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะท่านใด ประสงค์จะออกจากท่ีประชุมก่อนปิดการประชุม และประสงค์จะลงคะแนนใน วาระที่เหลือ ขอความกรุณาส่งบัตรลงคะแนนพร้อมลงลายมือชื่อ ส่งให้เจ้าหน้าที่บริษัท ก่อนการออกจากห้องประชุม เพ่ือ ทางบริษัทจะทําการบันทึกคะแนนของท่านไว้ในระบบ
4. สําหรับเงื่อนไขในการอนุมัติมติในแต่ละวาระ มีดังน้ี
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและออกเสียงลงคะแนนเสียง คือ วาระท่ี 1
วาระท่ี 3 วาระที่ 4 วาระท่ี 10 และวาระท่ี 11
• วาระที่ต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 2 ใน 3 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมคือ วาระท่ี 12
• วาระท่ีต้องผ่านมติอนุมัติไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
ลงคะแนนคือ วาระที่ 5 วาระที่ 6 วาระที่ 7 วาระท่ี 8 และวาระท่ี 9
• วาระท่ี 2 เป็นการรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 ซึ่งเป็นเร่ืองเพื่อทราบ จะไม่มีการลงมติ
5. ผู้ถือหุ้นท่านใดมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ห้ามมิให้ออกเสียงในวาระนั้น หรือบริษัทอาจเชิญให้ผู้ถือหุ้นดังกล่าวออก จากท่ีประชุมได้เป็นการชั่วคราวในวาระนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของการอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกท่าน สามารถลงคะแนนได้โดยไม่ถือว่ามีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ
หน้า2/23
ผู้ถือหุ้นท่านใดไม่เห็นด้วยหรือประสงค์จะงดออกเสียง ประธานฯ จะขอให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียง ลงคะแนนใน บัตรลงคะแนนพร้อมทั้งลงลายมือชื่อ โดยเจ้าหน้าท่ีของบริษัทฯจะทําการเก็บบัตรเพื่อมานับคะแนน บริษัทฯจะนําคะแนนเสียงที่ไม่เห็น ด้วยและ/หรืองดออกเสียงน้ัน หักออกจากจํานวนเสียงท้ังหมดท่ีเข้าร่วมประชุมหรือมีสิทธ์ิออกเสียงลงคะแนน เพื่อสรุปผลการลงคะแนนใน แต่ละวาระ
เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการนับคะแนนเสียงการประชุมในวันนี้ ผู้ดําเนินการประชุมได้ขออาสาสมัครผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบ ฉันทะจากผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 1 ท่านมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน โดยนายทศพล กระสายเงิน ผู้ถือหุ้น/ผู้รับมอบฉันทะ ได้ อาสาสมัครเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นเพื่อมาร่วมเป็นสักขีพยานในการนับคะแนน
จากน้ันผู้ดําเนินการประชุมไดด้ําเนินการประชุมตามระเบียบวาระต่างๆที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมดังนี้
วาระที่ 1 พิจารณารับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น คร้ังท่ี 1/2562
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้จัดการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นคร้ังที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2562 โดยได้มีการจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ได้เผยรายงานดังกล่าวในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งน้ี คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่ารายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2562 ได้มีการบันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน เห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นรับรองรายงานการประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งท่ี 3/2561
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณารับรอง รายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์รับรองรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2562 ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 2 รับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,008,764,800 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ ได้รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปี 2562 โดยปรากฏอยู่ใน รายงานประจําปี 2562 ท่ีได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุมคร้ังนี้ ต่อมาผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ให้ ที่ประชุมรับทราบ โดยนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ ได้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ประกอบไปด้วยรายละเอียดของ รายได้ รวมประจําปแี ละรายได้โดยจําแนกตามผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กําไรข้ันต้นประจําปี กําไรสุทธิ สินทรัพย์รวม หน้ีสินรวม
หน้า3/23
อัตราส่วนทางการเงินประจําปี 2562 โดยได้ทําการเปรียบเทียบกับผลดําเนินงานประจําปี 2561 ตลอดจนรายการบัญชีที่มีสาระสําคัญใน งบแสดงฐานะการเงินของบริษัทฯ รายละเอียดตามเอกสารแนบ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงแจ้งต่อท่ีประชุมว่าวาระน้ีไม่มีการลง มติเนื่องจากเป็นวาระการแจ้งเพื่อทราบ
มติ: ท่ีประชุมรับทราบผลการดําเนินงานของบริษัทประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามท่ีได้รายงานต่อที่ ประชุม
วาระท่ี 3 พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารบัญชี-การเงิน ให้รายงานงบ การเงินประจําปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยบริษัทฯ ได้จัดทํางบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของ บริษัทสําหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 และได้ผ่านการตรวจสอบและรับรองโดยผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิ เอท จํากัด และได้ผ่านพิจารณาสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทแล้ว โดยมีรายละเอียดปรากฏอยู่ในหมวด งบการเงินในรายงานประจําปี 2562 ซึ่งได้จัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมครั้งน้ี สิ่งที่ส่งมาด้วยหมายเลข 2 สรุป สาระสําคัญได้ดังนี้
รายการ
รายได้รวม รวมต้นทุนผลิตและค่าใช้จ่าย กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี กําไรต่อหุ้น
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
รอบปีบัญชี
2561 10,084,010,412 9,585,942,316 486,455,602 0.47 6,693,153,742 4,020,695,501 2,672,458,241
หน่วย: บาท
2562 13,107,150,773 12,544,266,485 538,879,645 0.35 7,989,126,630 4,977,988,744 3,011,137,886
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่ เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติงบ
การเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า4/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติงบการเงินประจําปี 2562 สําหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 4 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานการจัดสรรกําไรและพิจารณาการจ่ายปันผลประจําปี 2562 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ โดย พระราชบัญญัติมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 115 กําหนดให้บริษัทจ่ายเงินปันผลจากเงินกําไรเท่านั้น และมาตรา 116 กําหนดให้ บริษัทต้องจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีส่วนหน่ึงไว้เป็นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี จนกว่าทุนสํารองจะมีจํานวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลการจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิของงบการเงินของ บริษัท ภายหลังจากหักภาษี และเงินทุนสํารองตามกฎหมาย และเงินสํารองอื่น (ถ้ามี) อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ โดยจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง ความจําเป็นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน แผนการลงทุน และการขยายธุรกิจในอนาคต สภาวะตลาด ความเหมาะสมและปัจจัยอื่นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงาน และการบริหารงาน ของบริษัท โดยอยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ว่า บริษัทจะต้องมีเงินสดเพียงพอสําหรับการดําเนินธุรกิจ และการดําเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสดุต่อผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรรมการบริษัทและ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทเห็นสมควร
จากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 บริษัทมีกําไรสุทธิประจําปีจํานวน 538,879,645 บาท จึงเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพ่ือ พิจารณาอนุมัติดังนี้
1. การจัดสรรกําไรสุทธิประจําปีเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย 27,000,000 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี สําหรับปี 2562 โดยหลังการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย บริษัทจะมีทุนสํารองตามกฎหมายจํานวน 70,675,000 บาท
2. การจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 ในอัตราหุ้นละ 0.14 บาท คิดเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 215.6 0 ล้าน บาท หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลร้อยละ 42.12 ของกําไรสุทธิหลังจากหักเงินทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งเป็นไปตาม นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท โดยเป็นการจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิที่ได้รับยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากสิทธิ ประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน (BOI)
หากท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2563 อนุมัตกิ ารจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการ ดําเนินงานประจําปี 2562 ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 บริษัทจะกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผล (Record date) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 และกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันท่ี 11 พฤษภาคม 2563
หน้า5/23
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผลการดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 โดย วาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัตดิ้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการจัดสรรกําไรเป็นทุนสํารองตามกฎหมาย และการจ่ายเงินปันผลจากผล การดําเนินงานประจําปี 2562 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียง ลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระท่ี 5 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 ( NER- W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ใน อัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น จึงมีความ จําเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม ดังนั้น จึงเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท คร้ังที่ 1 (NER-W1) เพ่ือใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุนในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ รวมทั้ง ช่วยเสริมให้บริษัทฯมีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อสร้างความพร้อมสําหรับการดําเนินงานในอนาคต โดยบริษัทฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวนไม่เกิน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของ บริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นโดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น โดยมีรายละเอียดท่ีสําคัญดังนี้
หัวข้อ
รายละเอียด
ประเภท
ชนิด จํานวน
ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ซ้ือหุ้นสามัญของบริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1“ (ใบสําคัญแสดงสิทธิ” หรือ “NER-W1”)
ระบุช่ือผู้ถือและสามารถเปล่ียนมือได้
308,000,000 หน่วย
หน้า6/23
หัวข้อ
รายละเอียด
จํานวนหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อ รองรับการใช้สิทธิ ราคาเสนอขาย
อัตราการใช้สิทธิ
ราคาใช้สิทธิ วันออกเสนอขาย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
308,000,000 หนุ้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.00 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย แล้วท้ังหมด 1,540,000,000 หุ้น
0 บาทต่อหน่วย (ศูนย์บาท)
ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตาม เง่ือนไขการปรับสิทธิ
1.80 บาทต่อหุ้น เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามเงื่อนการปรับสิทธิ
วันที่ 27 พฤษภาคม 2563
2 ปีนับจากวันท่ีออกใบสําคัญแสดงสิทธิ
วิธีการจัดสรร
จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ใน กรณีที่มีเศษจากการคํานวณตามอัตราการจัดสรรดังกล่าว ให้ปัดเศษนั้นทิ้ง
ทั้งนี้ บริษัทกําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทที่มีสิทธิรับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ใน วันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date)
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
- ครั้งแรก ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2563
- ครั้งที่สอง ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2564
- ครั้งที่สาม ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2564
- ครั้งที่สี่ ณ วันครบกําหนดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ คือ วันที่ 26 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ หากวันกําหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทําการให้เลื่อนเป็นวันทําการสุดท้ายก่อนวันกําหนดการ ใช้สิทธิในแต่ละครั้ง
ระยะเวลาแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิ
ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่ประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จะต้องแจ้งความจํานงใน การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.30 น. ในทุกวันทําการของบริษัท ภายในระยะเวลา 5 วันทําการก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ยกเว้นระยะเวลาแจ้งความจํานง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ซึ่งผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถแจ้งความจํานงในการใช้สิทธิภายใน 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย
ตลาดรองของใบสําคัญแสดง สิทธิ ตลาดรองของหุ้นสามัญท่ีเกิด จากการใช้สิทธิ
บริษัทจะนําใบสําคัญแสดงสิทธิไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย บริษัทจะนําหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
เงื่อนไขการปรับสิทธิ
บริษัทจะดําเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ เมื่อ เกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งต่อไปนี้ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้บริษัทต้องออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการ ปรับสิทธิ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 1. เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือ
แบ่งแยกหุ้น
หน้า7/23
หัวข้อ
รายละเอียด
2. เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญแก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไป และหรือบุคคลในวงจํากัดใน ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ที่คํานวณได้ต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท
3. เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมและหรือประชาชนทั่วไปและหรือ บุคคลในวงจํากัด โดยหลักทรัพย์นั้นให้สิทธิแก่ผู้ถือหลักทรัพย์ในการใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญหรือใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญโดย ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่จะออกใหม่เพื่อรับรองสิทธิดังกล่าวต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคา ตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท
4. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้น
5. เมื่อบริษัทจ่ายปันผลเป็นเงินในจํานวนเกินกว่าร้อยละ 80 ของกําไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของ
บริษัท หลังหักสํารองตามกฎหมาย สําหรับการดําเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ในระหว่าง
อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ
6. เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับที่กําหนดไว้ตามข้อ 1 - 5 ข้างต้นที่ทําให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ
ได้รับผลประโยชน์ด้อยไปจากเดิม
หมายเหตุ : การปรับราคาใช้สิทธิจะไม่สามารถปรับลดลงจนราคาใช้สิทธิต่ํากว่ามูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้นได้ (Par Value)
เงื่อนไขอื่น
ให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานา จในการ กําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ ของใบสําคัญแสดงสิทธินี้ ตลอดจน มีอํานาจในการกําหนดเหตุแห่งการออกหุ้นสามัญใหม่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอัน เกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ และการนําใบสําคัญแสดงสิทธิเข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
ทั้งนี้ ให้กําหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ในวันที่ 30 เมษายน 2563 (Record date) และกําหนดวันจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ทั้งน้ี การจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน เนื่องจากต้องรอการอนุมัติจาก ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2563
ทั้งนี้ ประธานฯ เสนอให้ที่ประชุมอนุมัติการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการ บริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นท่ีเกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) ซึ่งรวมไปถึงแต่ไม่จํากัดเพียงแต่ (1) การพิจารณากําหนด แก้ไข เพิ่มเติมรายละเอียดและเงื่อนไขใดๆที่จําเป็น และเกี่ยวข้องกับการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (NER-W1) เท่าที่กฎหมายกําหนดให้กระทําได้ หรือในส่วนที่ไม่ใช่ สาระสําคัญ เช่น วัน เวลา และวิธีการในการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน วิธีการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เป็นต้น (2) เข้า
หน้า8/23
เจรจา ทําความตกลง และลงนามในเอกสารและสัญญาที่เกี่ยวข้อง และดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุน (NER-W1) และ (3) ลงนามในแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานท่ีจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการจัดสรรใบสําคัญแสดง สิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน รวมถึงการติดต่อและยื่นแบบคําขออนุญาต เอกสารและหลักฐานที่จําเป็นและเก่ียวข้องต่อหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้อง และการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดําเนินการอื่นใดตามที่จําเป็นเพื่อการ จัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพ่ิมทุน
ประธานฯ จึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อัน จําเป็นและสมควรอันเก่ียวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า ตามที่บริษัทมีความประสงค์จะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือ หุ้นสามัญเพ่ิมทุน ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิ 1.80 บาท
ต่อหุ้น อยากทราบว่าได้มีการแสดงหรือการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยไว้อย่างไรบ้าง ขอให้มีการแสดงผล การศึกษาด้วย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้มั่นใจว่าจะไม่มีผลกระทบต่อเงินปันผล ไม่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และราคาตลาดของหุ้นไม่ผัน ผวนไปตามราคาใช้สิทธิ ประธานฯชี้แจงว่าการออกและเสนอใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นการให้ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่านโดย การใหโ้ ดยไม่คิดมูลค่า และจะจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น (right offering) ดังน้ัน จึงไม่มีผลกระทบต่อราคา หุ้น (Price dilution) หรือผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้น (control dilution) และบริษัทฯ กําหนดราคาใช้สิทธิในราคา 1.80 บาทต่อหุ้น ซ่ึง ณ วันที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเร่ืองออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้นราคาหุ้นอยู่ที่ 2.60 บาท มีส่วนต่างของการใช้สิทธิอยู่ที่ 0.80 บาท ซึ่งทาง คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าการให้ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นทุกท่าน ซึ่ง หากผู้ถือหุ้นไม่ประสงค์จะใช้สิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ก็สามารถโอนใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ ซ่ึง บริษัทจะไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่วนการที่ได้เงินทุนที่ได้จากการใช้สิทธิ ก็จะเพิ่มเข้ามาเป็นฐานทุนของบริษัทฯเพื่อการขยายกิจการ ขยายการทํางานใน อนาคต ตลอดจนเพิ่มการลงทุน ซึ่งอาจต้องอาศัยแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่นเงินกู้ธนาคาร หรือการออกตราสารทาง การเงินต่าง ๆ และหากฐานทุนของบริษัทฯใหญ่ขึ้น ความสามารถหรืออํานาจการต่อรองในการกู้เงินของบริษัทฯก็จะเพิ่มข้ึน บริษัทฯก็จะโตข้ึน จะมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และก้าวเดินได้อย่างมั่นคงมากขึ้นต่อไป
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการ มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลง
หน้า9/23
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิจะซ้ือหุ้นสามัญเพ่ิมทุนของบริษัท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจ จากคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และรายละเอียดอ่ืนๆ รวมทั้งดําเนินการต่างๆ อันจําเป็นและสมควรอันเกี่ยวเนื่องกับการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ตามที่ได้เสนอด้วย คะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
วาระท่ี 6 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอ ขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อที่ประชุมว่าตามที่บริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนสําหรับใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต และแผนการลงทุนของ บริษัทฯ นั้น จึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยมี รายละเอียดดังน้ี
จัดสรรให้แก่ ประเภทหลักทรัพย์ จํานวนหุ้น/2 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว/1
/1 ร้อยละต่อทุนชําระแล้ว ณ วันที่คณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนมีมติให้มีการเพิ่มทุนแบบ General Mandate
/2 จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 10 ของทุนชําระแล้วของบริษัท เพื่อจัดสรรให้แก่บุคคลใน วงจํากัด (Private Placement) ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะต้องไม่เป็นบุคคลเกี่ยวโยงกันของบริษัทตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนท่ี ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการ
บุคคลในวงจํากัด (Private Placement :PP)
หุ้นสามัญ
ไม่เกิน 154,000,000 หุ้น
10%
หน้า10/23
เปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการท่ีเกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 ท้ังน้ี ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อบุคคล ในวงจํากัด (Private Placement) ข้างต้น ต้องไม่เข้าข่ายราคาต่ําตามเกณฑ์ราคาของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยที่เก่ียวข้อง
ทั้งนี้ บริษัทฯจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือ เป็นคราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณา และกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เก่ียวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพ่ือเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวได้ ตามท่ีเห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยจะขอ สงวนสิทธิในการโหวตไม่เห็นด้วย เพราะเปรียบเสมือนเป็นการลงนามในเช็คเปล่าไว้ให้กรอกตัวเลข ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นราย ย่อยมั่นใจด้วยว่าจะไม่มีการจําหน่ายหรือจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวในลักษณะท่ีมีผลกระทบต่อการดําเนินงานของ บริษัทฯ เน่ืองจากผู้ถือหุ้นยังมีความมั่นใจในการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทอยู่ จึงขอความชัดเจนจากบริษัทฯว่าไม่
มีวาระอ่ืนใดอยู่เบื้องหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนน้ี ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า บริษัทฯ ยืนยันกับผู้ถือหุ้นว่าเหตุผลในการออกและ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement ) นี้ คือเพื่อการที่จะมีผู้ร่วมทุน ซึ่งเป็นผู้ร่วมทุนที่จะสร้างประโยชน์ให้กับบริษัท นําพาบริษัทให้เติบโตขึ้นได้ โดยไม่มีวาระอื่นใดแอบแฝง และเงินทุนที่ได้มา ก็จะใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ตลอดจนเพื่อรองรับการขยายกําลงั การผลิต และแผนการลงทุนของบริษัทฯ
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจนการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือ บุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการ
หน้า11/23
จัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและ เกี่ยวเน่ืองกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุน โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซ่ึงมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตลอดจน การมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและกําหนด รายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมี อํานาจในการดําเนินการใดๆอันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามที่ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่มีา ประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ
99.6013 0.3987 -
1,014,890,500 4,062,900
-
วาระที่ 7 พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท และแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทข้อ 4. ให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน
ผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่าตามท่ีที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้มีมตอินุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทคร้ังท่ี 1 (NER-W1) และอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ตามวาระที่ 5 และ 6 นั้น บริษัทฯ ต้องมีการเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยการออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน และจัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนดังกล่าวเพ่ือรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัท ครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และรองรับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ต่อมา ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน เพื่อให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
หน้า12/23
ข้อ 4
ทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท (หน่ึงพันหน่ึงล้านบาท)
แบ่งออกเป็น มูลค่าหุ้นละ โดยแยกออกเป็น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
2,002,000,000 หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
2,002,000,000 -
0.50
บาท (ห้าสิบสตางค์)
หุ้น (สองพันสองล้านหุ้น)
หุ้น ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยแถลงต่อที่ประชุมว่าสืบเนื่องมาจากวาระที่ 5 และ 6 บริษัทฯต้องออกหุ้นสามัญเพ่ิมทุน อีก 462,000,000 หุ้น แสดงให้เห็นถึงฐานจํานวนหุ้นที่มากข้ึน อาจส่งผลกระทบต่อผลกระทบต่อราคาหุ้น (Price dilution) และจํานวนเงินปันผลที่ผู้ถือหุ้นได้รับอาจจะลดลง จึงขอให้บริษัทฯชี้แจงเกี่ยวกับผลกระทบอัตราผลตอบแทนในรูปเงินปัน ผลของผถู้ือหุ้น
ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การท่ีบริษัทฯทําการเพิ่มทุนจดทะเบียนโดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน และรองรับการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ฐานทุนบริษัทจะใหญ่ขึ้น มีผู้ลงทุนเพ่ิมข้ึน และบริษัทฯจะนําเงินดังกล่าวใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรองรับการขยายกําลัง การผลิต และรองรับแผนการลงทุนของบริษัทฯ ซ่ึงหากดําเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ บริษัทฯ ก็จะมีผลประกอบการเป็นไป ตามเป้าหมาย จึงไม่น่าจะส่งผลกระทบต่ออัตราเงินปันผลที่จะจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และ การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพ่ือให้สอดคล้องกับการเพ่ิมทุนจดทะเบียน ตามรายละเอียดที่ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงาน โดยวาระ นี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญจํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้น สามัญจํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการเพ่ิมทุนจดทะเบียนจํานวน 231,000,000 บาท และเป็น การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และอนุมัติการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อ 4. เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจด ทะเบียน ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,153,300 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.9215 ไม่เห็นด้วย จํานวน 800,100 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.0785
หน้า13/23
งดออกเสียง จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ - บัตรเสีย จํานวน -
วาระท่ี 8 พิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งท่ี 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement)
ผู้ดําเนินการประชุมได้นําเสนอรายละเอียดการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโดยมีรายละเอียดดังน้ี
ตามที่ที่ประชุมได้พิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม 770,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 1,540,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เป็นทุนจดทะเบียนจํานวน 1,001,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จํานวน 2,002,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น และเสนอให้ ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังต่อไปนี้
1. จัดสรรหุ้นสามัญเพ่ิมทุนจํานวน 308,000,000 หุ้น เพ่ือรองรับการการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัท ครั้งท่ี 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยไม่ คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิ ในราคาใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเท่ากับ 1.80 บาทต่อหุ้น
2. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 154,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวนไม่เกิน 154,000,000 หุ้น มูลค่า หุ้นท่ีตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ท้ังนี้ บริษัทจะออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนคร้ังเดียวเต็มจํานวนหรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือเป็น คราวๆไปก็ได้ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณาและ กําหนดรายละเอียดอื่นใด อันจําเป็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรและเสนอขายเป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆเพื่อเสนอขายเป็นคราวๆ รวมถึงมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเป็นและเกี่ยวเนื่องกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพื่อทุนดังกล่าวได้ทุกประการ อาทิ วันกําหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ได้รับสิทธิการจัดสรร (วันขึ้น XR) วัตถุประสงค์ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดราคาเสนอขาย ระยะเวลาเสนอขาย อัตราการจัดสรร วิธีการจัดสรร และการชําระเงินค่าหุ้น เป็นต้น รวมถึงการเปล่ียนแปลงระยะเวลาการเสนอขาย การ เสนอซื้อและรับชําระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน การกําหนดเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ในการออกเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ ตามที่เห็นสมควร ตลอดจนการแก้ไขถ้อยคําหรือข้อความในเอกสาร รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือบริคณห์สนธิ และ/หรือคําขอต่างๆ และ/หรือ ดําเนินการใดๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของนายทะเบียนในการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบี ยนของบริษัทต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้เป็นคราวๆ ตามการชําระเงินของผู้จองซื้อในแต่ละคราว รวมถึงการนําหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าเป็น
หน้า14/23
หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และการนําส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ หรือหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป (General Mandate) เพ่ือ เสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น โดยวาระน้ีจะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติอนุมัติการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 462,000,000 หุ้น แบ่งเป็นการจัดสรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทครั้งที่ 1 (NER-W1) จํานวน 308,000,000 หุ้น และการจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแบบมอบอํานาจท่ัวไป (General Mandate) เพื่อเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 154,000,000 หุ้น ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,014,890,500 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013 จํานวน 4,062,900 เสียง คิดเป็นร้อยละ 0.3987 จํานวน - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน -
วาระที่ 9 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท
ผู้ดําเนินการประชุมได้เชิญนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร ให้นําเสนอรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้น กู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ รายงานต่อท่ีประชุมว่าบริษัทฯ มีแนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งมีแผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงมีแผนการลงทุนในอนาคต จึงมีความจําเป็นต้องจัดหาเงินทุนเพ่ิมเติม ดังน้ัน บริษัทฯจึงพิจารณาการออกและเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเงินทุน ในการขยายการลงทุนในอนาคตให้กับบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดการออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังน้ี
วัตถุประสงค์
เพื่อนําเงินที่ได้รับจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไปใช้ในการดําเนินงาน และ/หรือ ขยายธุรกิจและ/หรือ เป็นเงินทุน หมุนเวียนของบริษัท หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร
ประเภทหุ้นกู้
หุ้นกู้ทุกประเภท/ทุกรูปแบบ (ยกเว้นหุ้นกู้แปลงสภาพ) ไม่ว่าจะเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือหรือไม่ระบุชื่อผู้ถือ มีและ/ หรือไม่มีหลักประกัน ด้อยสิทธิและ/หรือไม่ด้อยสิทธิ มี/และหรือไม่มีการจัดอันดับเครดิต มี/และหรือไม่มีผู้แทนผู้ถือ หุ้นกู้ ชนิดทยอยคืนเงินต้นและ/หรือคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกําหนดไถ่ถอน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของ ภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายในแต่ละคราว ตามที่จะได้รับอนุญาตจากหน่วยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
สกุลเงิน เงินบาทและ/หรือเงินสกุลต่างประเทศ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนในขณะออกและเสนอการขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
หน้า15/23
มูลค่ารวมของหุ้นกู้
มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ยังไม่ไถ่ถอน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง กําหนดไว้ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท หรือในสกุลเงินอื่นในอัตรา ที่เทียบเท่าเงินสกุลบาท ทั้งนี้ บริษัทสามารถออกและเสนอขายหุ้นกู้เพิ่มเติม และ/หรือ ออกขายเสนอหุ้นกู้เพื่อ ทดแทนหุ้นกู้เดิมที่มีการไถ่ถอนไปแล้ว ภายในวงเงินดังกล่าว โดยจํานวนเงินต้นคงค้างทั้งหมดของหุ้นกู้ที่บริษัท ออกจําหน่ายแล้วในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องมีจํานวนเงินไม่เกินวงเงินดังกล่าว
อัตราดอกเบี้ย
ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าว ทั้งนี้อยู่ภายใต้บังคับของประกาศคณะกรรมการการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ สํานักงาน ก.ล.ต. และ/หรือ ประกาศหรือกฎระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่มี ผลบังคับในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การเสนอขาย
1) เสนอขายหุ้นกู้ทั้งหมดในคราวเดียวกันหรือหลายคราวและ/หรือเป็นโครงการและ/หรือในลักษณะหมุนเวียน (Revolving) ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นก็ในลักษณะหมุนเวียนบริษัทสามารถไถ่ถอนหรือรับชําระคืนเงินต้นได้ ภายใต้เงื่อนไขและวงเงินที่กําหนดไว้
2) เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปและ/หรือให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงและ/หรือผู้ลงทุนประเภทสถาบันใน ประเทศ และ/หรือในต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งอาจแบ่งเป็นการเสนอขาย ในครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ คณะกรรมการตลาดทุน หรือตามประกาศ กฎกระทรวง กฎระเบียบและกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีผลบังคับ ใช้ในขณะที่ออกเสนอขายหุ้นกู้นั้น
3) ในกรณีที่บริษัทได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนหุ้นกู้ที่ได้ออกภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัตินี้บริษัทสามารถออกหุ้นกู้ ทดแทนเพิ่มเติมได้อีกตามจํานวนที่ได้ไถ่ถอนหรือชําระคืนโดยหุ้นกู้ที่บริษัทออกทดแทนนี้จะมีอายุและเง่อืนไข ตามที่กําหนดไว้
การไถ่ถอนก่อน กําหนด
ผู้ถือหุ้นกู้อาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด และบริษัทมีหรือไม่มีสิทธิของไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกําหนด หรือบริษัทอาจกําหนดให้มีหรือไม่มีการไถ่ถอนในกรณีพิเศษ (Special Event Redemption) ใด หรือไม่ก็ได้ทั้งนี้ ให้ เป็นไปตามข้อตกลงและเงื่อนไขการขอออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว
การมอบอํานาจ
ข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและเกี่ยวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้นกู้ จํานวนที่เสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลา การไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขอ อนุญาตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้า เจรจาตกลงลงนามในเอกสารและสัญญาต่างๆที่เกี่ยวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตามที่จําเป็นและเกี่ยวเน่อืงกับ การออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัท ให้อยู่ในอํานาจของกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ ได้รับมอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่จะพิจารณาและกําหนดต่อไป
เง่ือนไขอื่นๆ ขึ้นอยู่กับภาวะตลาดในขณะท่ีออกและเสนอขายหุ้นกู้ในแต่ละคร้ัง และปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
หน้า16/23
ทั้งนี้ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการมอบอํานาจให้กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท และ/หรือบุคคลที่ได้รับ มอบหมายจากกรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนบริษัท มีอํานาจในการกําหนดข้อจํากัด เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆอันจําเป็นและ เก่ียวข้องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้เช่น ชื่อประเภท มูลค่าที่ตราไว้ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราดอกเบ้ีย การแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นถือหุ้น กู้ จํานวนท่ีเสนอขายในแต่ละคราว มูลค่ารวม อายุ วิธีการชําระคืนเงินต้น วิธีการจัดสรรประเภทหลักประกัน รายละเอียดในการเสนอขาย ระยะเวลาการไถ่ถอน การไถ่ถอนก่อนกําหนด และการจดทะเบียนในตลาดรองใด ๆ เป็นต้น ตลอดจนการดําเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแต่งต้ังท่ีปรึกษาหรือบุคคลที่เก่ียวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ การเข้าเจรจา ตกลง ลงนามในเอกสารและ สัญญาต่างๆท่ีเก่ียวข้องและการดําเนินงานใดๆก็ตาม ท่ีจําเป็นและเก่ียวเนื่องกับการออกเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทฯ
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพ่ิมเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามบริษัทฯถึงวัตถุประสงค์การออกหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ว่าจะ
นําเงินจากหุ้นกู้ไปลงทุนในทรัพย์สินอะไร
ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า วัตถุประสงค์หลักในการออกหุ้นกู้ครั้งน้ีคือเพ่ือนําเงิน ไปเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซึ่งวางเป้าในการทํางานไว้ ประมาณ 40 เมกะวัตต์ โดยสาเหตุที่เลือกการระดมทุนโดยการออกหุ้นกู้ เน่ืองจากหากบริษัทฯใช้วิธีการกู้เงินธนาคารแทน บริษัทฯอาจไม่สามารถดําเนินการได้ทันหลังจากได้รับอนุมัติการซื้อขายไฟจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพราะขั้นตอนการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อจากธนาคารค่อนข้างใช้เวลาพอสมควร ดังนั้น จึงจําเป็นต้องออกหุ้นกู้เพื่อความคล่องตัวในการ บรหิารงานโรงไฟฟ้าชุมชน
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามถึงการคาดการณ์อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ประธานฯแถลงต่อท่ีประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่าบริษัทได้ทําการศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนใน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ตลอดจนอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return: IRR) แล้ว ซึ่งน่าจะอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 15
3. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่าการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้มีผลกระทบต่อต้นทุนเงินทุนรวมของกิจการ อย่างไร อยากทราบว่ามีการศึกษาต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนท่ีนํามาใช้ในกิจการ (weighted average cost of capital : WACC) ของบริษัทฯไว้หรือไม่ อย่างไร อยากให้บริษัทฯนําเสนอข้อมูลด้านน้ีเพื่อให้ความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้นรายย่อย ประธานฯแถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า การออกหุ้นกู้ของบริษัทฯในครั้งนี้ ได้มีการศึกษา ต้นทุนโดยเฉลี่ยของแหล่งเงินทุนที่นํามาใช้ในกิจการ และจะไม่มีผลกระทบต่อต้นทุน หรือต่อทุนรวมของการลงทุนเดิม เนื่องจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ครั้งนี้ จะเป็นการแยกวงเงินกันชัดเจนระหว่างการลงทุนเดิม และการลงทุนใหม่ เพราะฉะนั้นจึงจะไม่เกิดผลกระทบต่อธุรกิจเดิมของบริษัทฯ และขอให้นักลงทุนมั่นใจว่าบริษัทฯได้มีการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการก่อนลงทุนอยู่แล้ว ซ่ึงถ้าโครงการใดให้ผลตอบแทนท่ีไม่ดี บริษัทฯจะไม่พิจารณาเข้าไปลงทุน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท โดยวาระนี้จะต้องได้รับการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเสียง 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
หน้า17/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในวงเงินรวมไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ตามที่ได้ เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นท่ีมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 99.6013
จํานวน - จํานวน - จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง คิดเป็นร้อยละ -
วาระท่ี 10 พิจารณาอนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 120 กําหนดว่า "ให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีแต่งต้ังผู้สอบบัญชี และกําหนด จํานวนเงินค่าสอบบัญชีของบริษัททุกปี ในการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีจะแต่งต้ังผู้สอบบัญชีคนเดิมก็ได้” และได้เสนอให้ท่ีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจําปี 2563 ตามรายชื่อ ดังต่อไปน้ี
1) นายเมธี รัตนศรีเมธา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3425 หรือ
2) นายอัครเดช เปลี่ยนสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขท่ี 5389 หรือ
3) นางสาวกรทิพย์ วาณิชวิเศษกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6947
โดยกําหนดให้ผู้สอบบัญชีคนใดคนหน่ึงตามท่ีเสนอข้างต้น เป็นผู้ทําการตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของบริษัท
ประจําปี 2563 ทั้งนี้ผู้สอบบัญชีทั้งสามท่านดังกล่าว เป็นผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจใดๆกับบริษัทฯ หรือผู้บริหาร ของบริษัทฯ ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด จัดหาผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตอื่นของสํานักงานทําหน้าที่ตรวจสอบบัญชีและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทแทนผู้สอบบัญชีดังกล่าวได้ แต่ต้อง ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นบริษัทฯก่อน
สําหรับค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้ว เห็นควรเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าสอบบัญชีประจําปี 2563 เป็นเงินจํานวน 2,170,000 บาท โดยมีรายละเอียดการเปรียบเทียบค่าสอบบัญชีประจําปี 2561 และ 2562 ดังน้ี
ปี 2562 ปี 2563 การเปล่ียนแปลง
ค่าสอบบัญชี 2,070,000 บาท 2,170,000 บาท ค่าสอบบัญชีปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562
จํานวน 100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.80 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ท่ีประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 โดยวาระนี้จะต้องได้รับการรับรองด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่ง มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน
หน้า18/23
มติ: ท่ีประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและการกําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี 2563 ตามท่ี ได้เสนอด้วยคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
จํานวน 1,018,953,400 จํานวน -
จํานวน -
จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ 100 เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 11 พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระเพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาให้ความอนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 71 และ ข้อบังคับของบริษัท ข้อ 20 กําหนดว่า “ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีทุกคร้ัง ให้กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึ่งในสาม ของ จํานวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนใกล้ที่สุดกับหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการท่ีซึ่งพ้นจากตําแหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตําแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทน้ัน ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการท่ีอยู่ในตําแหน่งนานท่ีสุดน้ันเป็นผู้ออกจากตําแหน่ง” โดยใน ปีนี้มีกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ 3 ท่าน ประกอบด้วย
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล
3. นายเทพกุล พูลลาภ
ทั้งน้ี บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพ่ือเข้ารับการพิจารณาเลือกต้ังเป็นกรรมการบริษัทเป็น
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
การล่วงหน้า ระหว่างวันท่ี 3 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2563 โดยเผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ และ เว็บไซต์ของบริษัท ซ่ึงเม่ือครบกําหนดระยะเวลาท่ีเปิดโอกาส ปรากฏว่าไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอช่ือบุคคลเข้ามายังบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาการดําเนินการสรรหากรรมการแทนกรรมการท่ีออกจากตําแหน่งตามวาระ โดยพิจารณาบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัท และมีประวัติการทํางานที่ดี มีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และเห็นสมควรเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี พิจารณาอนุมัติการแต่งตั้งกรรมการท่ี ออกจากตําแหน่งตามวาระทั้งสามท่าน ได้แก่ 1.) นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ 2.) นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล และ 3.) นายเทพกุล พูลลาภ กลับเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการตามตําแหน่งเดิมต่ออีกวาระหน่ึง รายละเอียดประวัติโดยสังเขปของท้ัง 3 ท่าน ตามสิ่งท่ีส่งมาด้วยหมายเลข 7
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ แต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระ โดยวาระน้ีต้องลงมติอนุมัติเป็นรายบุคคลด้วยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
1. นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / กรรมการบริษัท)
หน้า19/23
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ เข้าดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร / กรรมการบริษัทตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังน้ี
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
2. นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล (กรรมการบริษัท)
เสียง เสียง
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนางสาวปาร์ย อรรถพิสาล เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท ตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
3. นายเทพกุล พูลลาภ (กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ)
1,018,953,400 เสียง เสียง เสียง
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ -
มติ: ที่ประชุมได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการแต่งตั้งนายเทพกุล พูลลาภ เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบตามท่ีได้เสนอด้วยคะแนนเสียง ดังนี้
เห็นด้วย จํานวน 1,018,953,400 เสียง คิดเป็นร้อยละ 100
ไม่เห็นด้วย จํานวน - งดออกเสียง จํานวน - บัตรเสีย จํานวน -
เสียง คิดเป็นร้อยละ - เสียง
วาระที่ 12 พิจารณาอนุมัติกําหนดค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
ผู้ดําเนินการประชุมได้รายงานรายละเอียดการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติ โดยผู้ดําเนินการประชุมรายงานต่อที่ประชุมว่า บริษัทฯ ได้พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ตามความสอดคล้องกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยเสนอกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ในรูปแบบของค่าเบ้ียประชุมและค่าตอบแทนรายเดือนในวงเงินไม่เกิน 4,000,000 บาทต่อปี ตามรายละเอียดดังนี้
ประธานกรรมการ 35,000 40,000 30,000 30,000 30,000 กรรมการ 30,000 30,000 25,000 25,000 25,000
ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2563
กรรมการบริษัท
กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน
กรรมการบริหาร ความเสี่ยง
ค่าตอบแทน รายเดือน
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม(จ่าย ต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
เบี้ยประชุม (จ่ายต่อครั้ง)
หน้า20/23
ทั้งน้ีกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารขอสละสิทธิ์ไม่รับค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2563 ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามว่ามีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้มีการนําเสนอค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 เพื่อเปรียบเทียบ และเหตุผล
ของการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการด้วย
นายศักดิ์ชัย จงสถาพงษ์พันธ์ รองกรรมการผู้จัดใหญ่สายงานบริหารบัญชี-การเงิน แถลงต่อที่ประชุมและตัวแทนสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทยว่า ค่าตอบแทนกรรมการในปี 2562 ในส่วนของประธานกรรมการจ่ายค่าตอบแทนรายเดือนอยู่ท่ี 20,000 บาท และเพิ่มขึ้นเป็น 35,000 บาทสําหรับปี 2563 ส่วนเบี้ยประชุมต่อครั้ง จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 35,000 บาท เพ่ิมขึ้นเป็น 40,000 บาทสําหรับปี 2563
สําหรับประธานกรรมการคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 18,000 บาทในปี 2562 เพิ่มเป็นครั้งละ 30,000 บาท ในปี 2563 สําหรับกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ จากเดิมที่จ่ายอยู่ครั้งละ 15,000 บาทในปี 2562 เพ่ิมข้ึนเป็น 25,000 บาทในปี 2563 ซึ่งสาเหตุที่มีการขึ้นค่าตอบแทนกรรมการในปี 2563 คือเพื่อปรับตามสภาวะเศรษฐกิจและการ ขยายตัวของโรงงาน และเพื่อความเหมาะสมเมื่อเทียบกับลักษณะของธุรกิจในอุตสาหกรรมแบบเดียวกัน
เมื่อไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดมีคําถามหรือข้อสงสัยหรือมีคําแนะนําเพิ่มเติม ผู้ดําเนินการประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาอนุมัติการ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี2563โดยวาระนี้จะต้องลงมตอินุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนเสียงท้ังหมด ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้กรรมการที่เป็นผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนกรรมการตามวาระนี้จะไม่สามารถออกเสียงลงมติใน วาระน้ี
มติ: ประชุมพิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2562 ตามที่ได้เสนอด้วยคะแนน เสียง ดังน้ี
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง บัตรเสีย
วาระท่ี 13 พิจารณาเรื่องอ่ืนๆ (ถ้ามี)
คิดเป็นร้อยละ 100 คิดเป็นร้อยละ - คิดเป็นร้อยละ -
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน -
1,018,953,400 เสียง
- เสียง
- เสียง
ผู้ดําเนินการประชุมได้สอบถามผู้เข้าร่วมประชุมว่ามีเร่ืองอ่ืนใดท่ีจะนําเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาหรือไม่
1. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยสอบถามว่า จากผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 และจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ที่กระทบอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ําและปลายน้ํา บริษัทฯ
คาดการณ์ว่าผลประกอบการปี 2563 จะเป็นอย่างไร
หน้า21/23
ประธานฯ แถลงต่อที่ประชุมว่า ผลประกอบการในปี 2562 ที่ลดลงจากในปี 2561 คือ margin หรืออัตราส่วนกําไรที่เป็น ร้อยละลดลง เนื่องจากบริษัทฯได้ขยายตลาดเพิ่มมากขึ้นและบริษัทฯพิจารณาไม่บวกกําไรกับลูกค้าในอัตราสูงเกินไป อย่างไรก็ตามยอดขายของบริษัทฯยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประธานฯชี้แจงเพิ่มเติมว่าในไตรมาสที่ 1 ของปี 2563 ที่ได้มีการปิดงบการเงินระหว่างกาลไปแล้วนั้น น่าจะมีการประกาศ งบการเงินระหว่างกาลภายในเวลาที่กําหนดคือเดือนพฤษภาคม ส่วนในไตรมาสที่สอง ตัวเลขก็ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่ คาดการณ์ไว้ เนื่องจากไตรมาสสองเป็นการขายยางจากไตรมาสที่ส่ีของปี 2562 และจากไตรมาสแรกในปี 2563 ซึ่งราคา ขายยางในช่วงเวลาดังกล่าวค่อนข้างดี ก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ทําให้ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจริงคือในช่วงไตรมาสท่ีสามในปี 2563 ซ่ึงอาจจะลดลงจากท่ีประมาณการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯจะมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว
2. ตัวแทนสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยขอให้บริษัทฯ ชี้แจงถึงความต้องการเงินทุนว่าจะนําไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และ จัดลําดับความสําคัญ เช่น การขยายโรงงาน โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เป็นต้น
ประธานฯ ชี้แจงต่อที่ประชุมว่าลําดับความสําคัญอันดับหนึ่งคือการเข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน ซึ่งต้องใช้เงิน ประมาณ 2-3 พันล้านบาท ส่วนเรื่องเงินทุนหมุนเวียน บริษัทฯมีอยู่เงินทุนหมุนเวียนส่วนนึงแล้วจากเงิน IPO ที่ได้มา ประมาณ 1,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ใช้สร้างโรงงานใหม่ไปประมาณ 500 ล้านบาท ทําให้เหลือเงินอยู่อีกประมาณเกือบ 1000 ล้านบาท
3. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามว่าปัญหาภัยแล้งของประเทศไทยในปี 2563 จะส่งผลกระทบ ต่อผลประกอบการของบริษัทมากน้อยแค่ไหน ถึงขั้นทําให้ไตรมาส 2 ปี 2563 มีผลขาดทุนหรือไม่ ประธานฯชี้แจงต่อที่ประชุมว่าสถานการณ์ภัยแล้งในภาคอีสานที่ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งไว้ว่าน่าจะเป็นช่วงเดือน ธันวาคม 2562 ได้เปลี่ยนไป กล่าวคือ ปีนี้เป็นปีที่มีฝนตกบ่อยกว่าในปีที่แล้ว ทําให้บริษัทฯมองว่าสถานการณ์ภัยแล้งไม่ น่าจะมีผลกระทบโดยนัยสําคัญ แต่บริษัทฯได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (“COVID-19”) ซ่ึงอาจจะกระทบในระยะยาวต่อไป ท้ังน้ี เน่ืองจากบริษัทฯได้มีการซ้ือขายล่วงหน้าเอาไว้ 5-6 เดือน จึงทําให้ไม่มีผลกระทบต่อไตรมาสท่ี 1-2 ส่วนไตรมาสที่ 3 และ 4 อาจได้รับผลกระทบบ้าง ซึ่งบริษัทฯจะติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดและจะนํามารายงานให้ทราบต่อไป
4. ผู้ถือหุ้น (ไม่ประสงค์จะระบุช่ือในรายงานการประชุม) สอบถามถึงรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน โดยขอให้บริษัท ฯ แจ้งรายละเอียดของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนต่อที่ประชุม
ประธานฯ ช้ีแจงต่อที่ประชุมว่าโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (“โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน”) ซ่ึงเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดเล็กท่ีมีเป้าหมายให้แต่ละชุมชนมีส่วนร่วมและถือหุ้น โดยกําหนดให้รัฐวิสาหกิจชุมชนเข้าถือหุ้นบุริมสิทธิในโรงไฟฟ้าไม่ ต่ํากว่า 10% ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างจัดทํารายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์ เพ่ือเตรียมประกาศหลักเกณฑ์ คัดเลือกโครงการ บริษัทฯได้พิจารณาการเข้าร่วมโครงการในรูปแบบ Quick Win ซึ่งเป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้กับ โรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว หรือใกล้จะแล้วเสร็จเข้าร่วมโครงการและมีกําหนดให้จ่ายไฟเข้าระบบภายในปี 2563 ทั้งน้ี
หน้า22/23
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังร่าง TOR ยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาจมีการเลื่อนประมูลออกไป ทําให้ ต้องรอทางรัฐบาลเป็นผู้กําหนดวัน ประมูลมาอีกคร้ัง
ในส่วนของขนาดโครงการ บริษัทฯมีการคาดการณ์ว่าจะยื่นเสนอเพื่อประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนกําลังการผลิตประมาณ 40 เม กะวัตต์ บริษัทฯคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าให้แล้วเสร็จอย่างเร็วท่ีสุดภายใน 1 ปีครึ่ง ซ่ึงในร่าง TOR ของ รัฐบาลนั้น บริษัทที่ประมูลโรงไฟฟ้าชุมชนในส่วนของโครงการทั่วไป จะต้องขายไฟภายใน 31 ธันวาคม 2565 เท่ากับว่า เหลือเวลาอีก 1 ปีครึ่งนับจากวันน้ีเป็นต้นไป
เม่ือไม่มีผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะท่านใดเสนอเร่ืองอ่ืนๆ เพื่อพิจารณา
ประธานฯ จึงกล่าวขอบคุณผู้ถือหุ้น ผู้รับมอบฉันทะ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านท่ีสละเวลาเข้าร่วมประชุม และปิดประชุมเวลา 12.00 น.
ลงชื่อ
ลงช่ือ
นายชูวิทย์ จึงธนสมบูรณ์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร
นางสาวปาร์ย อรรถพิสาล กรรมการบริษัท / เลขานุการบริษัท
ประธานท่ีประชุม
ผู้บันทึกการประชุม
หน้า23/23
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 18
SPA AGM จากคุณสุวิทย์
วันหยุดขอใช้เวลาว่างเขียนสรุปประเด็นผลกระทบของ COVID-19 ที่มีต่อธุรกิจของบริษัท Siam Wellness Group (SPA) จากประชุมผู้ถือหุ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา
จุดประสงค์ในการเขียน เพื่อแบ่งปันข้อมูลให้เพื่อนๆ ที่สนใจ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ชี้นำในการซื้อขายหุ้น
ผู้บริหารเล่าให้ฟังว่า โชคดีที่บริษัทมีสาขาในเมืองจีน ทำให้เริ่มรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของ CORONAVIRUS ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม บริษัทจึงปรับปรุงเรื่องความสะอาดและความปลอดภัยในการให้บริการก่อนคนอื่น เช่นการใส่ mask, การวัดไข้, การใช้เจลล้างมือ ฯลฯ เหตุการณ์ระบาดที่จีนเริ่มบานปลายในช่วงตรุษจีน นักท่องเที่ยวจีนไม่มีการยกเลิกและมาใช้บริการเรามาก ด้วยกระบวนการรักษาความสะอาด ทำให้พนักงานนวดของบริษัทจำนวน 1000 กว่าคนไม่มีใครติดเชื้อเลย หลังเทศกาลตรุษจีน ตัวเลขรายได้เริ่มลดลงเป็นขั้นบันไดอย่างชัดเจน ทางจีนเริ่มห้ามกรุ๊ปทัวร์เดินทางออกนอกประเทศ ทางบริษัทเริ่มประเมินสถานการณ์. กรณีเลวร้ายสุดคือ สาขาทั้งหมดถูกปิด กระแสเงินสดเพียงพอให้บริษัทประคองตัวได้จนถึงปลายปี 2563
กลยุทธ์ที่ผู้บริหารเลือกใช้ในวิกฤติครั้งนี้ คือ กบจำศีล ผู้บริหารมีประสบการณ์เคยทำธุรกิจนำเข้าสินค้ามาขาย แต่ปัจจุบัน มาร์จิ้นน้อยมากๆ ไม่คุ้มที่จะทำ ขออยู่เฉยๆ เตรียมความพร้อมรอวันที่ธุรกิจ SPA กลับมาเปิดได้อีกครั้ง ใช้เวลาว่างในการปรับปรุงสาขาเตรียมรับกับชีวิตวิถีใหม่ new normal ของธุรกิจสปา. ผู้บริหารได้นำเสนอ teaser สั้นๆ แสดงขั้นตอนกระบวนการใหม่ๆ ที่ลูกค้าจะได้เจอในยุค covid เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและพนักงานเอง เช่นห้อง negative pressure
สำหรับเรื่องค่าใช้จ่ายของบริษัท ส่วนใหญ่จะเป็นค่าเช่า กับ เงินเดือนพนักงาน ปัจจุบัน สาขาในประเทศทั้งหมดถูกสั่งปิด รายได้ไม่มี สาขาที่อยู่ตามห้าง ทางห้างประกาศไม่ต้องจ่ายค่าเช่า แต่สาขาที่อยู่นอกห้าง ส่วนใหญ่จ่ายแค่ครึ่งเดียว
สำหรับพนักงาน ทางบริษัทต้องการเก็บรักษาไว้ ไม่มีการลดคน เบื้องต้นผู้บริหารใช้เงินส่วนตัวราวๆ 4-5 ล่านบาทจ่ายช่วยพนักงานคนละ 3,000 บาทก่อนรัฐจะมีมาตรการช่วยเหลือในภายหลัง
พนักงานนวดจะได้รับเงินเยียวยาจากภาครัฐคนละ 5,000 บาท 3 เดือน ส่วนพนักงานประจำสาขาที่ไม่ใช่พนักงานนวดได้รับเงินช่วยเหลือจากประกันสังคม พนักงานประจำสำนักงานใหญ่ บางคนช่วยบริษัทโดยการ leave without pay บางคนช่วยโดยขอลดวันทำงาน ส่วนผู้บริหารระดับสูงขอไม่รับเงินเดือน work without pay
ปีนี้จ่ายปันผลให้ผู้ถือหุ้นเป็นหุ้นปันผล ผู้บริหารระดับสูงและบอร์ดไม่ขอรับโบนัสของปี 2562 ส่วนทางผู้ตรวจสอบบัญชี EY ลดค่าตรวจสอบบัญชีประจำปี 2563
ข่าวล่าสุดสาขาในประเทศจีนกลับมาเปิดให้บริการแล้ว ลูกค้ากลับมาใช้บริการค่อนข้มาก เป็นสัญญาณที่ดี
อย่างไรก็ตาม ธุรกิจ SPA ก็ยังมีความเสี่ยงพอควร ต้องรอมาตรการผ่อนปรนจากภาครัฐให้กลับมาเปิดธุรกิจ ยังต้องรอให้นักท่องเที่ยวจีนที่เป็นลูกค้าหลักของบริษัทสามารถเดินทางเข้าไทยได้. ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่าจะเกิดขึ้นอีกนานแค่ไหน มีความไม่แน่นอนสูง บริษัทอาจจะต้องเตรียมแผนสำรอง
ขอเอาใจช่วยทีมผู้บริหาร และพนักงานของ SPA ให้ผ่านวิกฤติครั้งนี้ไปได้นะครับ วิกฤติทำให้ได้เห็นน้ำใจผู้บริหาร ได้ใจพนักงานไปเต็มๆ. #SPA
วันหยุดขอใช้เวลาว่างเขียนสรุปประเด็นผลกระทบของ COVID-19 ที่มีต่อธุรกิจของบริษัท Siam Wellness Group (SPA) จากประชุมผู้ถือหุ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา
จุดประสงค์ในการเขียน เพื่อแบ่งปันข้อมูลให้เพื่อนๆ ที่สนใจ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ชี้นำในการซื้อขายหุ้น
ผู้บริหารเล่าให้ฟังว่า โชคดีที่บริษัทมีสาขาในเมืองจีน ทำให้เริ่มรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของ CORONAVIRUS ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม บริษัทจึงปรับปรุงเรื่องความสะอาดและความปลอดภัยในการให้บริการก่อนคนอื่น เช่นการใส่ mask, การวัดไข้, การใช้เจลล้างมือ ฯลฯ เหตุการณ์ระบาดที่จีนเริ่มบานปลายในช่วงตรุษจีน นักท่องเที่ยวจีนไม่มีการยกเลิกและมาใช้บริการเรามาก ด้วยกระบวนการรักษาความสะอาด ทำให้พนักงานนวดของบริษัทจำนวน 1000 กว่าคนไม่มีใครติดเชื้อเลย หลังเทศกาลตรุษจีน ตัวเลขรายได้เริ่มลดลงเป็นขั้นบันไดอย่างชัดเจน ทางจีนเริ่มห้ามกรุ๊ปทัวร์เดินทางออกนอกประเทศ ทางบริษัทเริ่มประเมินสถานการณ์. กรณีเลวร้ายสุดคือ สาขาทั้งหมดถูกปิด กระแสเงินสดเพียงพอให้บริษัทประคองตัวได้จนถึงปลายปี 2563
กลยุทธ์ที่ผู้บริหารเลือกใช้ในวิกฤติครั้งนี้ คือ กบจำศีล ผู้บริหารมีประสบการณ์เคยทำธุรกิจนำเข้าสินค้ามาขาย แต่ปัจจุบัน มาร์จิ้นน้อยมากๆ ไม่คุ้มที่จะทำ ขออยู่เฉยๆ เตรียมความพร้อมรอวันที่ธุรกิจ SPA กลับมาเปิดได้อีกครั้ง ใช้เวลาว่างในการปรับปรุงสาขาเตรียมรับกับชีวิตวิถีใหม่ new normal ของธุรกิจสปา. ผู้บริหารได้นำเสนอ teaser สั้นๆ แสดงขั้นตอนกระบวนการใหม่ๆ ที่ลูกค้าจะได้เจอในยุค covid เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าและพนักงานเอง เช่นห้อง negative pressure
สำหรับเรื่องค่าใช้จ่ายของบริษัท ส่วนใหญ่จะเป็นค่าเช่า กับ เงินเดือนพนักงาน ปัจจุบัน สาขาในประเทศทั้งหมดถูกสั่งปิด รายได้ไม่มี สาขาที่อยู่ตามห้าง ทางห้างประกาศไม่ต้องจ่ายค่าเช่า แต่สาขาที่อยู่นอกห้าง ส่วนใหญ่จ่ายแค่ครึ่งเดียว
สำหรับพนักงาน ทางบริษัทต้องการเก็บรักษาไว้ ไม่มีการลดคน เบื้องต้นผู้บริหารใช้เงินส่วนตัวราวๆ 4-5 ล่านบาทจ่ายช่วยพนักงานคนละ 3,000 บาทก่อนรัฐจะมีมาตรการช่วยเหลือในภายหลัง
พนักงานนวดจะได้รับเงินเยียวยาจากภาครัฐคนละ 5,000 บาท 3 เดือน ส่วนพนักงานประจำสาขาที่ไม่ใช่พนักงานนวดได้รับเงินช่วยเหลือจากประกันสังคม พนักงานประจำสำนักงานใหญ่ บางคนช่วยบริษัทโดยการ leave without pay บางคนช่วยโดยขอลดวันทำงาน ส่วนผู้บริหารระดับสูงขอไม่รับเงินเดือน work without pay
ปีนี้จ่ายปันผลให้ผู้ถือหุ้นเป็นหุ้นปันผล ผู้บริหารระดับสูงและบอร์ดไม่ขอรับโบนัสของปี 2562 ส่วนทางผู้ตรวจสอบบัญชี EY ลดค่าตรวจสอบบัญชีประจำปี 2563
ข่าวล่าสุดสาขาในประเทศจีนกลับมาเปิดให้บริการแล้ว ลูกค้ากลับมาใช้บริการค่อนข้มาก เป็นสัญญาณที่ดี
อย่างไรก็ตาม ธุรกิจ SPA ก็ยังมีความเสี่ยงพอควร ต้องรอมาตรการผ่อนปรนจากภาครัฐให้กลับมาเปิดธุรกิจ ยังต้องรอให้นักท่องเที่ยวจีนที่เป็นลูกค้าหลักของบริษัทสามารถเดินทางเข้าไทยได้. ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่าจะเกิดขึ้นอีกนานแค่ไหน มีความไม่แน่นอนสูง บริษัทอาจจะต้องเตรียมแผนสำรอง
ขอเอาใจช่วยทีมผู้บริหาร และพนักงานของ SPA ให้ผ่านวิกฤติครั้งนี้ไปได้นะครับ วิกฤติทำให้ได้เห็นน้ำใจผู้บริหาร ได้ใจพนักงานไปเต็มๆ. #SPA
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 19
AGM SYNEX 29 May 2020 10.00 ข้อมูลจากFB คุณสุวิทย์
ปีนี้ไม่เน้นการเติบโตของยอดขาย โฟกัสที่อัตรากำไรครับ เน้นขายสินค้าที่มีกำไรดี เน้นขายเป็นระบบโซลูชั่น เกาะเทรนด์ สุขภาพ เกมส์ และ e-commerce ครับ พยายามจัดการ portfolio ของสินค้าให้ดีขึ้น ไม่พึ่งพาแบรนด์ใดมากเกินไป ปัจจุบันมีกว่า 60 แบรนด์ สัดส่วนยอดขาย Huawei ลดลงเหลือแค่ 10% กว่าๆ เท่านั้น
ส่วนปัญหาด้าน supply shortage ตอนนี้คลี่คลายแล้ว
ส่วนปัญหาโควิทมีทั้งบวกและลบ
ลบคือ dealer บางส่วนได้รับผลกระทบจากการปิดห้างร้าน
บวกคือ สินค้าไอทีเกี่ยวกับ healthcare ขายดีขึ้น เช่นเครื่องสแกนอุณหภูมิ สินค้าเกมส์ และสินค้าที่จำเป็นต่อการ work from home ขายได้ดี
โดยรวมถือว่า ได้รับผลกระทบจากวิกฤติไม่มากเท่าที่คิดครับ
ปีนี้ไม่เน้นการเติบโตของยอดขาย โฟกัสที่อัตรากำไรครับ เน้นขายสินค้าที่มีกำไรดี เน้นขายเป็นระบบโซลูชั่น เกาะเทรนด์ สุขภาพ เกมส์ และ e-commerce ครับ พยายามจัดการ portfolio ของสินค้าให้ดีขึ้น ไม่พึ่งพาแบรนด์ใดมากเกินไป ปัจจุบันมีกว่า 60 แบรนด์ สัดส่วนยอดขาย Huawei ลดลงเหลือแค่ 10% กว่าๆ เท่านั้น
ส่วนปัญหาด้าน supply shortage ตอนนี้คลี่คลายแล้ว
ส่วนปัญหาโควิทมีทั้งบวกและลบ
ลบคือ dealer บางส่วนได้รับผลกระทบจากการปิดห้างร้าน
บวกคือ สินค้าไอทีเกี่ยวกับ healthcare ขายดีขึ้น เช่นเครื่องสแกนอุณหภูมิ สินค้าเกมส์ และสินค้าที่จำเป็นต่อการ work from home ขายได้ดี
โดยรวมถือว่า ได้รับผลกระทบจากวิกฤติไม่มากเท่าที่คิดครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 20
JMT AGM 2020
04/06/2020 11:00
+ ผู้ร่วมประชุม 553ราย มาด้วยตนเอง 47ราย ผ่านออนไลน์ 19ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 68%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ 1/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน 2562
+ รายได้ +34% กำไร +36%
+ คำถาม JP เป็นอย่างไร ตอบ q1 ยังขาดทุนอยู่ ลดการประกันในสินค้าที่ความเสี่ยงสูง มีการประกันโควิดช่วงมีนาเ-มษา รายได้ 20กว่าล้าน ยอดขายเพิ่มทำให้กำไรแย่ลง เพราะรายได้ต้องเฉลี่ยรายเดือนตามระยะสัญญา แต่คชจโบรก 10-20% ต้องคิดทันที
+ ประกันโควิดมีเคลม 4ราย
วาระ 3
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.33บ 293ล้านบาท เพราะจัดประชุมช่วงเมษาไม่ได้
วาระ 4
+ อนุมัติงบปี 2562
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ กลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ
วาระ 7
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และค่าสอบบัญชี 2563
วาระ 8
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัท เรื่องประชุมออนไลน์ ไม่ต้องอยู่ในที่ประชุมเดียวกัน 1/3แล้ว เพื่อให้เป็นตามประกาศของรัฐ
วาระ 9
+ อื่นๆ
+ ช่วง 2-3เดือนที่ผ่านมา ไม่ได้กระทบรุนแรง
+ ธุรกิจประกัน เดือนพค ยังอยู่ในแดนลบ q3 น่าจะเริ่มไปแดนบวกได้ เป้าปีนี้คือไม่ขาดทุน
+ ทำไมถึงทำธุรกิจประกัน ตอบ นึกถึงซินเนอร์จี้เป็นหลัก เพื่อทำ non motor ให้กับในกลุ่ม
+ อีกเรื่องคือ jvc มาช่วยเรื่องข้อมูล จะช่วยลดต้นทุน
+ อีก 5ปีจะเติบโตอย่างไร ตอบ ปีนี้เป็นบันไดก้าวแรก จากพอร์ต 1.8แสนล้าน 200กอง ครึ่งปีหลังน่าจะมีกองตัดต้นทุนหมด 1ล๊อต และน่าจะมีเพิ่มอีก 2-3ล๊อต
+ จะมีลูกค้าที่โอนบ้านเพิ่มขึ้น ได้บุครายได้เพิ่ม
+ น่าจะใช้เงิน 5000ล หมด
+ JPI คาดว่าจะไม่เป็นภาระอีก จากปีที่แล้ว -130ล
+ SINGER ปล่อยสินเชื่อ c4c สร้างฐานลูกค้าให้เติบโต
+ jfintech เป้า 3-5ปี จะเป็น 1ใน5ของประเทศ
+ มีโอกาศที่จะไปเก็บหนี้ให้ทั้ง singer และ jfintech ทั้ง 2 บริษัทน่าจะโตไม่ต่ำกว่า 30%
+ ตัว jmt เป้าโตไม่ต่ำกว่า 30%
+ มีการทำ data analytic จากลูกค้า 2ล้านราย AI จะดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บมากขึ้น
+ ในอดีต เกณจะใช้เงินลงทุน ให้เท่ากับ cash collect DE 1.8เท่า แต่ต่อไป 3-4เท่า
+ ปีหน้าจะพยายามหาเงินลงทุน 1หมื่นล้าน
+ cash collect เมษา-พค เทียบ yoy ไม่ลด แต่ถ้าเทียบกับ Q1 อาจจะลดลง
ดูรูปได้ที่
https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 018817411/
04/06/2020 11:00
+ ผู้ร่วมประชุม 553ราย มาด้วยตนเอง 47ราย ผ่านออนไลน์ 19ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 68%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ 1/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน 2562
+ รายได้ +34% กำไร +36%
+ คำถาม JP เป็นอย่างไร ตอบ q1 ยังขาดทุนอยู่ ลดการประกันในสินค้าที่ความเสี่ยงสูง มีการประกันโควิดช่วงมีนาเ-มษา รายได้ 20กว่าล้าน ยอดขายเพิ่มทำให้กำไรแย่ลง เพราะรายได้ต้องเฉลี่ยรายเดือนตามระยะสัญญา แต่คชจโบรก 10-20% ต้องคิดทันที
+ ประกันโควิดมีเคลม 4ราย
วาระ 3
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.33บ 293ล้านบาท เพราะจัดประชุมช่วงเมษาไม่ได้
วาระ 4
+ อนุมัติงบปี 2562
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ กลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ
วาระ 7
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และค่าสอบบัญชี 2563
วาระ 8
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัท เรื่องประชุมออนไลน์ ไม่ต้องอยู่ในที่ประชุมเดียวกัน 1/3แล้ว เพื่อให้เป็นตามประกาศของรัฐ
วาระ 9
+ อื่นๆ
+ ช่วง 2-3เดือนที่ผ่านมา ไม่ได้กระทบรุนแรง
+ ธุรกิจประกัน เดือนพค ยังอยู่ในแดนลบ q3 น่าจะเริ่มไปแดนบวกได้ เป้าปีนี้คือไม่ขาดทุน
+ ทำไมถึงทำธุรกิจประกัน ตอบ นึกถึงซินเนอร์จี้เป็นหลัก เพื่อทำ non motor ให้กับในกลุ่ม
+ อีกเรื่องคือ jvc มาช่วยเรื่องข้อมูล จะช่วยลดต้นทุน
+ อีก 5ปีจะเติบโตอย่างไร ตอบ ปีนี้เป็นบันไดก้าวแรก จากพอร์ต 1.8แสนล้าน 200กอง ครึ่งปีหลังน่าจะมีกองตัดต้นทุนหมด 1ล๊อต และน่าจะมีเพิ่มอีก 2-3ล๊อต
+ จะมีลูกค้าที่โอนบ้านเพิ่มขึ้น ได้บุครายได้เพิ่ม
+ น่าจะใช้เงิน 5000ล หมด
+ JPI คาดว่าจะไม่เป็นภาระอีก จากปีที่แล้ว -130ล
+ SINGER ปล่อยสินเชื่อ c4c สร้างฐานลูกค้าให้เติบโต
+ jfintech เป้า 3-5ปี จะเป็น 1ใน5ของประเทศ
+ มีโอกาศที่จะไปเก็บหนี้ให้ทั้ง singer และ jfintech ทั้ง 2 บริษัทน่าจะโตไม่ต่ำกว่า 30%
+ ตัว jmt เป้าโตไม่ต่ำกว่า 30%
+ มีการทำ data analytic จากลูกค้า 2ล้านราย AI จะดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บมากขึ้น
+ ในอดีต เกณจะใช้เงินลงทุน ให้เท่ากับ cash collect DE 1.8เท่า แต่ต่อไป 3-4เท่า
+ ปีหน้าจะพยายามหาเงินลงทุน 1หมื่นล้าน
+ cash collect เมษา-พค เทียบ yoy ไม่ลด แต่ถ้าเทียบกับ Q1 อาจจะลดลง
ดูรูปได้ที่
https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 018817411/
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 21
JMART AGM 2020
04/06/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 114ราย มาด้วยตนเอง53ราย ออนไลน์18ราย คิเป็นจำนวนหุ้น 58%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ 1/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน
+ Jmobile ปรับกลยุทธ์ เน้นกำไรมากกว่ายอดขาย ขายได้8.8แสนเครื่อง และร่วมกับเอไอเอสขายแพคเก็จ
+ JMT กำไรเติบโตดี สร้างกระแสเงินสดได้ตามเป้าหมาย 3210ล้าน
+ JFintech กำไรสูงสุดตั้งแต่ตั้งบริษัท จากการปล่อยสินเชื่อ และเก็บหนี้คืนได้มากขึ้น
+ JVenture ทำงานได้ตามแผน เริ่มรับรู้รายได้ตั้งแต่ q3/2562
+ Singer รักษาอัตรากำไรจากการขาย และปล่อยสินเชื่อได้ดีขึ้น
+ Jas Asset มีการส่งมอบห้องได้ ทำให้มีกำไร
+ รายได้ลดลง จากธุรกิจขายมือถือ แต่ต้นทุนก็ลดลง
+ ในหมายเหตุประกอบงบ โทเคนดิจิทัล 442ล้าน ตอบ รับรู้เป็นรายได้แล้วบางส่วน ปีนี้ก็มีตาม%งานที่สำเร็จ
+ JVC ได้พิโคไลเซนตอน พค จะเร่งปล่อยมากขึ้น
+ ที่ผ่านมา NPL 30% แต่ปล่อยกลุ่มเล็กๆเพื่อทดสอบ ถ้าลดเป็น 10-20% ก็จะมีโอกาศในตลาดนี้
+ JMT CAR Ratioของ JP ตอบ ปีที่แล้ว 180 ปีนี้ 140กว่าๆ
วาระ 3
+ รับทราบปันผลระหว่างกาล 0.24บ 217ล้าน เนื่องจากจัดประชุมช่วงเมษาไม่ได้
วาระ 4
+ อนุมัติงบปี 2562
+ การตั้งโปรวิชั่น น้อยลง เพราะปีก่อนหน้าตั้งสำรอง และบริหารสต๊อกได้ดี
+ K.อดิศักดิ์ ปีที่แล้วไม่ดี ครึ่งปีนี้ก็ยังไม่ดี แต่ครึ่งปีหลังดีแน่นอน เพราะบริษัทลูกมีการเติบโต และจะกลับมาบวกอย่างแรงปีหน้า
+ jfin coin ตอบ ราคาปัจจุบันบาทกว่าๆ จะโตได้ต้องมีดีมานในการใช้ก่อน ตอนนี้เป็นช่วงสร้างระบบ
+ k.อดิศักดิ์เสริมว่า เรามีความพร้อมมากสุดบริษัทนึงในด้าน blockchain ทำให้มีโอกาศในอนาคต
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ เท่าปีก่อน
วาระ 7
+ อนุมัติผู้สอบบัญชี อีวาย ค่าตอบแทน 1.92ล
วาระ 8
+ ลดทุนจดทะเบียน ที่เหลือจากการจ่ายปันผล เมื่อกย.2562
วาระ 9
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน เพื่อรองรับการจ่าย JMART-W3, JMART-W4 อีก 201ล้านหุ้น
วาระ 10
+ อนุมัติออก JMART-W3, JMART-W4 เนื่องจากต้องใช้เงินทุนหมุนเวียน และคืนหุ้นกู้ปี64-67 จำนวน 3600ล้าน
+ JMART-W3 แจก 9:1 จำนวน 100.7ล้านหุ้น อายุ 2ปี ราคาใช้สิทธิ 11บ อัตราใช้สิทธิ 1:1
+ JMART-W4 แจก 9:1 จำนวน 100.7ล้านหุ้น อายุ 4ปี ราคาใช้สิทธิ 15บ อัตราใช้สิทธิ 1:1
+ มีผลกระทบไดลูท 18.18%
วาระ 11
+ อนุมัติจัดสรร JMART-W3, JMART-W4
วาระ 12
+ อนุมัติแก้ไขข้อบังคับบริษัท เจ ฟินเทค เนื่องจากมีการร่วมทุนกับ KB Kookmin Card
+ jfintech จะได้รับเงินเพิ่มทุน 650ล้าน และ Jmart จะได้เงินกู้คืน 2700ล้าน ภายใน6เดือน
วาระ 13
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัท เรื่องประชุมผ่านสื่อ ตามประกาศของรัฐ
วาระ 14
+ โครงการในอนาคตต้องเพิ่มทุนหรือไม่ ตอบ มีการวางแผนไว้แล้ว มั่นใจว่าไม่ต้องเพิ่มทุน
+ ถ้าราคาไม่ ITM จะทำอย่างไร ตอบ ครั้งนี้ไม่คิดไว้เลย แต่ยอมรับว่า W1 W2 ไม่ได้แปลงทั้งสองครั้งเป็นบทเรียนที่เอามาปรับปรุง
+ k.อดิศักดิ์ อธิบายเพิ่มเติม
+ มีการวางแผนไว้นาน ตั้งแต่ซื้อ singer ปี2558 เพราะคิดว่าธุรกิจการเงินน่าลงทุน
+ ปี 2558 ตั้ง JMT+ หลังจากนั้นก็ให้ Jmart เพิ่มทุน และมาเป็น Jfintech ในปัจจุบัน
+ คงไม่สู้กับแบงค์ แต่จะหาช่องว่างแทรกเข้าไป โดยมี JVC ทำแพลตฟอร์ม
+ ตอนนี้เรามีไลเซนธุรกิจการเงินเกือบครบแล้ว พาร์ทเนอเราเข้ามาก็พร้อม
+ เราพยายามคง Jmart Shop ไว้เพื่อเป็นจุดให้บริการ ต่อไปจะมีสินค้าด้านการเงินมากขึ้น
+ ในตจว Singer จะเป็นแขนขาให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น
+ เชื่อในเทคโนโลยี คงไม่เปิดสาขาเป็นพันๆ พาร์ทเนอเรามีเทคโนโลยี
+ เรามี infra พร้อมอย่าง Jmart Singer เหมือนถนน ทาง Jfintech จะเข้าถึงลูกค้าได้ดี
+ jmt คือหัวใจหลักของธุรกิจการเงิน
+ เชื่อว่าจากนี้จะสร้างสถิติใหม่ๆ JMT โต 30% โควิดกระทบบ้าง แต่ก็สร้างโอกาศ ทำให้อาจจะใช้เงินลงทุน หมื่นล้าน
+ Singer เราใช้เวลาในการปรับเปลี่ยน อุดรอยรั่ว สร้างบิสซิเนสโมเดลที่ดีขึ้น
+ JVC มีอยู่ 20โปรเจค หนึ่งในนั้นก็คือ AGM Blockchain ที่ใช้ในวันนี้
+ โควิด ทำให้เรามีประสบการณ์ในการบริหารต้นทุน กำไรต่อไปจะดีขึ้น
+ ใน 1-2ปีนี้ SGC ที่เป็นบริษัทลูกของ Singer จะเข้าตลาด
+ Jfintech ก็มีข้อตกลงว่าจะเข้าตลาด คิดว่าใน 2ปี
+ Jmart ยังขายมือถืออยู่ และขายร่วมกับ Singer ให้ได้มากที่สุด
+ ถ้าลูกค้าเสีย JMT ตามเก็น เป็นอีโคซิสเต็ม
+ jmart หวังว่าจะโตขั้นต่ำ 25%
ดูรูปได้ที่
https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 018817411/
04/06/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 114ราย มาด้วยตนเอง53ราย ออนไลน์18ราย คิเป็นจำนวนหุ้น 58%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมวิสามัญ 1/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน
+ Jmobile ปรับกลยุทธ์ เน้นกำไรมากกว่ายอดขาย ขายได้8.8แสนเครื่อง และร่วมกับเอไอเอสขายแพคเก็จ
+ JMT กำไรเติบโตดี สร้างกระแสเงินสดได้ตามเป้าหมาย 3210ล้าน
+ JFintech กำไรสูงสุดตั้งแต่ตั้งบริษัท จากการปล่อยสินเชื่อ และเก็บหนี้คืนได้มากขึ้น
+ JVenture ทำงานได้ตามแผน เริ่มรับรู้รายได้ตั้งแต่ q3/2562
+ Singer รักษาอัตรากำไรจากการขาย และปล่อยสินเชื่อได้ดีขึ้น
+ Jas Asset มีการส่งมอบห้องได้ ทำให้มีกำไร
+ รายได้ลดลง จากธุรกิจขายมือถือ แต่ต้นทุนก็ลดลง
+ ในหมายเหตุประกอบงบ โทเคนดิจิทัล 442ล้าน ตอบ รับรู้เป็นรายได้แล้วบางส่วน ปีนี้ก็มีตาม%งานที่สำเร็จ
+ JVC ได้พิโคไลเซนตอน พค จะเร่งปล่อยมากขึ้น
+ ที่ผ่านมา NPL 30% แต่ปล่อยกลุ่มเล็กๆเพื่อทดสอบ ถ้าลดเป็น 10-20% ก็จะมีโอกาศในตลาดนี้
+ JMT CAR Ratioของ JP ตอบ ปีที่แล้ว 180 ปีนี้ 140กว่าๆ
วาระ 3
+ รับทราบปันผลระหว่างกาล 0.24บ 217ล้าน เนื่องจากจัดประชุมช่วงเมษาไม่ได้
วาระ 4
+ อนุมัติงบปี 2562
+ การตั้งโปรวิชั่น น้อยลง เพราะปีก่อนหน้าตั้งสำรอง และบริหารสต๊อกได้ดี
+ K.อดิศักดิ์ ปีที่แล้วไม่ดี ครึ่งปีนี้ก็ยังไม่ดี แต่ครึ่งปีหลังดีแน่นอน เพราะบริษัทลูกมีการเติบโต และจะกลับมาบวกอย่างแรงปีหน้า
+ jfin coin ตอบ ราคาปัจจุบันบาทกว่าๆ จะโตได้ต้องมีดีมานในการใช้ก่อน ตอนนี้เป็นช่วงสร้างระบบ
+ k.อดิศักดิ์เสริมว่า เรามีความพร้อมมากสุดบริษัทนึงในด้าน blockchain ทำให้มีโอกาศในอนาคต
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ เท่าปีก่อน
วาระ 7
+ อนุมัติผู้สอบบัญชี อีวาย ค่าตอบแทน 1.92ล
วาระ 8
+ ลดทุนจดทะเบียน ที่เหลือจากการจ่ายปันผล เมื่อกย.2562
วาระ 9
+ เพิ่มทุนจดทะเบียน เพื่อรองรับการจ่าย JMART-W3, JMART-W4 อีก 201ล้านหุ้น
วาระ 10
+ อนุมัติออก JMART-W3, JMART-W4 เนื่องจากต้องใช้เงินทุนหมุนเวียน และคืนหุ้นกู้ปี64-67 จำนวน 3600ล้าน
+ JMART-W3 แจก 9:1 จำนวน 100.7ล้านหุ้น อายุ 2ปี ราคาใช้สิทธิ 11บ อัตราใช้สิทธิ 1:1
+ JMART-W4 แจก 9:1 จำนวน 100.7ล้านหุ้น อายุ 4ปี ราคาใช้สิทธิ 15บ อัตราใช้สิทธิ 1:1
+ มีผลกระทบไดลูท 18.18%
วาระ 11
+ อนุมัติจัดสรร JMART-W3, JMART-W4
วาระ 12
+ อนุมัติแก้ไขข้อบังคับบริษัท เจ ฟินเทค เนื่องจากมีการร่วมทุนกับ KB Kookmin Card
+ jfintech จะได้รับเงินเพิ่มทุน 650ล้าน และ Jmart จะได้เงินกู้คืน 2700ล้าน ภายใน6เดือน
วาระ 13
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัท เรื่องประชุมผ่านสื่อ ตามประกาศของรัฐ
วาระ 14
+ โครงการในอนาคตต้องเพิ่มทุนหรือไม่ ตอบ มีการวางแผนไว้แล้ว มั่นใจว่าไม่ต้องเพิ่มทุน
+ ถ้าราคาไม่ ITM จะทำอย่างไร ตอบ ครั้งนี้ไม่คิดไว้เลย แต่ยอมรับว่า W1 W2 ไม่ได้แปลงทั้งสองครั้งเป็นบทเรียนที่เอามาปรับปรุง
+ k.อดิศักดิ์ อธิบายเพิ่มเติม
+ มีการวางแผนไว้นาน ตั้งแต่ซื้อ singer ปี2558 เพราะคิดว่าธุรกิจการเงินน่าลงทุน
+ ปี 2558 ตั้ง JMT+ หลังจากนั้นก็ให้ Jmart เพิ่มทุน และมาเป็น Jfintech ในปัจจุบัน
+ คงไม่สู้กับแบงค์ แต่จะหาช่องว่างแทรกเข้าไป โดยมี JVC ทำแพลตฟอร์ม
+ ตอนนี้เรามีไลเซนธุรกิจการเงินเกือบครบแล้ว พาร์ทเนอเราเข้ามาก็พร้อม
+ เราพยายามคง Jmart Shop ไว้เพื่อเป็นจุดให้บริการ ต่อไปจะมีสินค้าด้านการเงินมากขึ้น
+ ในตจว Singer จะเป็นแขนขาให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น
+ เชื่อในเทคโนโลยี คงไม่เปิดสาขาเป็นพันๆ พาร์ทเนอเรามีเทคโนโลยี
+ เรามี infra พร้อมอย่าง Jmart Singer เหมือนถนน ทาง Jfintech จะเข้าถึงลูกค้าได้ดี
+ jmt คือหัวใจหลักของธุรกิจการเงิน
+ เชื่อว่าจากนี้จะสร้างสถิติใหม่ๆ JMT โต 30% โควิดกระทบบ้าง แต่ก็สร้างโอกาศ ทำให้อาจจะใช้เงินลงทุน หมื่นล้าน
+ Singer เราใช้เวลาในการปรับเปลี่ยน อุดรอยรั่ว สร้างบิสซิเนสโมเดลที่ดีขึ้น
+ JVC มีอยู่ 20โปรเจค หนึ่งในนั้นก็คือ AGM Blockchain ที่ใช้ในวันนี้
+ โควิด ทำให้เรามีประสบการณ์ในการบริหารต้นทุน กำไรต่อไปจะดีขึ้น
+ ใน 1-2ปีนี้ SGC ที่เป็นบริษัทลูกของ Singer จะเข้าตลาด
+ Jfintech ก็มีข้อตกลงว่าจะเข้าตลาด คิดว่าใน 2ปี
+ Jmart ยังขายมือถืออยู่ และขายร่วมกับ Singer ให้ได้มากที่สุด
+ ถ้าลูกค้าเสีย JMT ตามเก็น เป็นอีโคซิสเต็ม
+ jmart หวังว่าจะโตขั้นต่ำ 25%
ดูรูปได้ที่
https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 018817411/
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 22
AGM D (Dental Corporation) 17 June 2020 9.00
มีผู้ประชุมรวม 23 รายเข้าประชุม คิดเป็น 73.5%
วาระที่สอง
รายได้ เพิ่มขึ้น 20% เป็น 772 ลบ
GP 219 ลบ เพิ่มขึ้น 7%
Net profit margin -15.58 ลบ
ในส่วนของทันตกรรม เนื่องจากค่าเงินบาทแข็งค่า ทำให้ลูกค้าต่างชาติโดยเฉพาะออสเตรเลีย
ชะลอการเข้ามารักษา ต้องรอดูผลของค่าเงินบาท โดยที่ภูเก็ต รายได้จากต่างชาติก่อนหน้าเป็น
60-70% แต่ตอนนี้ สัดส่วนลดลง คนไทย:ต่างชาติ ลดมาเป็น 50:50 หรือ 55:45
Dental service revenue 2562:
คนไทย รายได้เพิ่มขึ้น 0.3% ส่วนต่างชาติลดลง15.7%
Trading Revenue 2562:
รายได้จากการขาย เพิ่มขึ้นสองเท่า จาก 138 ลบ เป็น 329 ลบ
GP from 22.31% to 22.17%
แต่ Net profit from 0.01% เปลี่ยนเป็น ขาดทุน 3.32%
ปัญหาก็คือ ราคาทองคำเพิ่มสูงขึ้น บวกกับค่าเงินบาทแข็ง ทำให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น 30-40 ลบ
Margin dropลง ปลายปีช่วง4-5 เดือน ทองคำเพิ่มสูงขึ้น ลูกค้าบางรายนำเข้าทองคำด้วยตนเอง
ทำให้bid แล้ว marginลดลง ส่วนprojectรัฐบาลปลายปีไม่ค่อยมีด้วย
Q: ประมาณการรายได้ปีนี้ยังยืนยันว่าเป็น 1,000-1,100 ล้านบาทอยู่หรือไม่
A: รายได้คงไม่เท่าเดิม เราปิดสาขาทั้งหมดในเดือนเมษายน และทยอยเปิดในพค บางสาขา ขึ้นกับทำเล
ปิดสาขาในห้างรวมภูเก็ต จนกว่า พรก ภูเก็ตจะอนุญาตให้เปิด
สาขาเชียงใหม่ก็พึ่งเปิดในเดือนมิถุนายน
ดังนั้นรายได้ภาพรวมปีนี้ 614-615 ล้านบาท แบ่งเป็น
BIDH 40 ลบ
BIDC 270 ลบ
DVT/DAT trading ประมาณ 200-300 ลบ รวมproject 100 ลบ ในมือ
ซึ่งเซ็นต์ไป 30กว่าลบ ส่งมอบภายในต้น กค
Q:ค่าใช้จ่ายในการบริหารและกายขาย เพิ่มขึ้น อยากทราบสาเหตุ
A: ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 6% 30ลบ จากค่าใช้จ่ายส่วนงานทันตกรรม เงินเดือนพนักงานขาย
การตลาด และส่วนรากเทียมยี่ห้อใหม่ SIC รวมถึงค่าใช้จ่ายออกบูท และ สมาคม
Q: ส่วนหนี้สินที่เพิ่มขึ้น อยากทราบสาเหตุ
A: หนี้สินเพิ่มขึ้น 40 เป็น 154 ลบ เกิดจาก เรามีการเบิกเงินกู้มาครบจำนวน
ผู้สอบบัญชี จัดประเภทเงินกู้ระยะยาว 77 ลบ ซึ่งเงื่อนไขของธนาคารต้องดำรงอัตราส่วนการเงิน
ถ้าไม่ทำ ก็ถูกเรียกคืนเงินกู้ทั้งจำนวน
ดังนั้น จึงจัดหนี้สินส่วนระยะยาวเป็นระยะสั้น แต่ได้เปลี่ยนกลับเรียบร้อยใน 12 กพ 63
Q: สถานการณ์Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรกับบริษัท
A: กระทบมาก โครงสร้างรายได้มาจาก ต่างประเทศ 40-50%
ประมาณการณ์ ครึ่งปีหลัง ไม่มีรายได้จาก ตปท เข้ามาเลย
ดังนั้นจึงปรับประมาณการณ์เหลือแค่ 614 ลบ
แต่บริษัทเน้นเรื่องสภาพคล่อง หรือ cash flow ในช่วงที่ปิดเดือน เมษายน
ได้มีการขายอุปกรณ์การแพทย์ ได้มา 5 ล้านบาทเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายช่วยเหลือพนักงาน
และได้ขอกู้เงินจากBOT softloan โดยปลอดดอกเบี้ย 6 เดือนหลังจากนั้น คิด 2%
และได้เงินกู้จากออมสินอีก 36 ลบ
ที่น่ากังวล คือ CF ในส่วนของดอกเบี้ย ไม่รวมค่าเสื่อม เราได้เจรจากับธนาคาร
ไม่จ่ายเงินต้น ตั้งแต่ 6-12 เดือน แล้วแต่ธนาคาร
ส่วน เงินกู้ดอกเบี้ยสูง เราเอา RO ไปปิดหมดแล้ว
ถ้าปีหน้ามีโอกาสดี จะลดภาระเงินกู้ลงไปอีก (เพิ่มทุนหรือเปล่า)
มุมมองที่เป็นบวก
คือคนเริ่มเสาะหาร้านทำฟัน ที่มีโอกาสติดเชื้อน้อย เราก็เป็นหนึ่งในตัวเลือก
มีผู้ประชุมรวม 23 รายเข้าประชุม คิดเป็น 73.5%
วาระที่สอง
รายได้ เพิ่มขึ้น 20% เป็น 772 ลบ
GP 219 ลบ เพิ่มขึ้น 7%
Net profit margin -15.58 ลบ
ในส่วนของทันตกรรม เนื่องจากค่าเงินบาทแข็งค่า ทำให้ลูกค้าต่างชาติโดยเฉพาะออสเตรเลีย
ชะลอการเข้ามารักษา ต้องรอดูผลของค่าเงินบาท โดยที่ภูเก็ต รายได้จากต่างชาติก่อนหน้าเป็น
60-70% แต่ตอนนี้ สัดส่วนลดลง คนไทย:ต่างชาติ ลดมาเป็น 50:50 หรือ 55:45
Dental service revenue 2562:
คนไทย รายได้เพิ่มขึ้น 0.3% ส่วนต่างชาติลดลง15.7%
Trading Revenue 2562:
รายได้จากการขาย เพิ่มขึ้นสองเท่า จาก 138 ลบ เป็น 329 ลบ
GP from 22.31% to 22.17%
แต่ Net profit from 0.01% เปลี่ยนเป็น ขาดทุน 3.32%
ปัญหาก็คือ ราคาทองคำเพิ่มสูงขึ้น บวกกับค่าเงินบาทแข็ง ทำให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น 30-40 ลบ
Margin dropลง ปลายปีช่วง4-5 เดือน ทองคำเพิ่มสูงขึ้น ลูกค้าบางรายนำเข้าทองคำด้วยตนเอง
ทำให้bid แล้ว marginลดลง ส่วนprojectรัฐบาลปลายปีไม่ค่อยมีด้วย
Q: ประมาณการรายได้ปีนี้ยังยืนยันว่าเป็น 1,000-1,100 ล้านบาทอยู่หรือไม่
A: รายได้คงไม่เท่าเดิม เราปิดสาขาทั้งหมดในเดือนเมษายน และทยอยเปิดในพค บางสาขา ขึ้นกับทำเล
ปิดสาขาในห้างรวมภูเก็ต จนกว่า พรก ภูเก็ตจะอนุญาตให้เปิด
สาขาเชียงใหม่ก็พึ่งเปิดในเดือนมิถุนายน
ดังนั้นรายได้ภาพรวมปีนี้ 614-615 ล้านบาท แบ่งเป็น
BIDH 40 ลบ
BIDC 270 ลบ
DVT/DAT trading ประมาณ 200-300 ลบ รวมproject 100 ลบ ในมือ
ซึ่งเซ็นต์ไป 30กว่าลบ ส่งมอบภายในต้น กค
Q:ค่าใช้จ่ายในการบริหารและกายขาย เพิ่มขึ้น อยากทราบสาเหตุ
A: ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 6% 30ลบ จากค่าใช้จ่ายส่วนงานทันตกรรม เงินเดือนพนักงานขาย
การตลาด และส่วนรากเทียมยี่ห้อใหม่ SIC รวมถึงค่าใช้จ่ายออกบูท และ สมาคม
Q: ส่วนหนี้สินที่เพิ่มขึ้น อยากทราบสาเหตุ
A: หนี้สินเพิ่มขึ้น 40 เป็น 154 ลบ เกิดจาก เรามีการเบิกเงินกู้มาครบจำนวน
ผู้สอบบัญชี จัดประเภทเงินกู้ระยะยาว 77 ลบ ซึ่งเงื่อนไขของธนาคารต้องดำรงอัตราส่วนการเงิน
ถ้าไม่ทำ ก็ถูกเรียกคืนเงินกู้ทั้งจำนวน
ดังนั้น จึงจัดหนี้สินส่วนระยะยาวเป็นระยะสั้น แต่ได้เปลี่ยนกลับเรียบร้อยใน 12 กพ 63
Q: สถานการณ์Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรกับบริษัท
A: กระทบมาก โครงสร้างรายได้มาจาก ต่างประเทศ 40-50%
ประมาณการณ์ ครึ่งปีหลัง ไม่มีรายได้จาก ตปท เข้ามาเลย
ดังนั้นจึงปรับประมาณการณ์เหลือแค่ 614 ลบ
แต่บริษัทเน้นเรื่องสภาพคล่อง หรือ cash flow ในช่วงที่ปิดเดือน เมษายน
ได้มีการขายอุปกรณ์การแพทย์ ได้มา 5 ล้านบาทเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายช่วยเหลือพนักงาน
และได้ขอกู้เงินจากBOT softloan โดยปลอดดอกเบี้ย 6 เดือนหลังจากนั้น คิด 2%
และได้เงินกู้จากออมสินอีก 36 ลบ
ที่น่ากังวล คือ CF ในส่วนของดอกเบี้ย ไม่รวมค่าเสื่อม เราได้เจรจากับธนาคาร
ไม่จ่ายเงินต้น ตั้งแต่ 6-12 เดือน แล้วแต่ธนาคาร
ส่วน เงินกู้ดอกเบี้ยสูง เราเอา RO ไปปิดหมดแล้ว
ถ้าปีหน้ามีโอกาสดี จะลดภาระเงินกู้ลงไปอีก (เพิ่มทุนหรือเปล่า)
มุมมองที่เป็นบวก
คือคนเริ่มเสาะหาร้านทำฟัน ที่มีโอกาสติดเชื้อน้อย เราก็เป็นหนึ่งในตัวเลือก
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 23
AGM PTTEP 17 Jun 2020 14.00
วันประชุมจัดที่ Energy complex ซึ่งมีการจัดการป้องกันการติดเชื้อCovid-19อย่างเข้มงวด
ซึ่งควรต้องไปก่อนเวลาอย่างน้อย1ชั่วโมง จึงสามารถไปฟังสดที่ห้องประชุมซึ่งจุเพียง 100 คนได้
ถ้ามาทีหลัง ต้องไปฟังในห้องประชุมเล็กจุเพียงห้องละ 20กว่าคน ฟังจากที่ถ่ายทอดอีกที
เวลาส่งคำถาม จะมีแบบฟอร์มให้กรอกและส่งก่อนเข้าประชุม
ซึ่ง ตึกที่ทำการลงทะเบียน คือตึกC หลังจากลงทะเบียนเสร็จก็ต้องไปตึกใหญ่ข้างๆ
และมีพนักงานตรวจสิ่งของอย่างละเอียด ค้นทุกซอกมุมที่กระเป๋าสัมภาระอย่างกับ ระวังกลัวคนวางระเบิด
ถ้าไม่สะดวกในการไปประชุม ก็สามารถดูจาก website www.pttep.com ได้ โดยกรอกหมายเลขทะเบียน
หรือหมายเลขบัตรประชาชนลงไป
สรุปถ้าไปช้า ฟัง onlineดีกว่าครับ
งานประชุมเริ่ม 14.00 โดยวาระแรก มีการเปิดวิดีโอ แนะนำบริษัทประมาณ 10นาที ก่อนเข้าประชุมจริง
ซึ่งผู้บริหาร ได้พูดถึงกลยุทธ์ของบริษัท
Expand & Execute
1.เข้าซื้อ บริษัท Murphy 0il (Malaysia) ซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่3
2.ซื้อ Partex
3.ได้รับสิทธิ์สำรวจแหล่งก๊าซที่ บงกชและเอราวัณ
4.ได้รับสิทธิ์ในปิโตรเลียม สองแปลง ที่มาเลเซีย และสองแปลงที่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
5.โครงการ โมซัมบิก โรวมา ออฟชอว์ แอเรียวัน และ แอลซีเรีย
6.ปริมาณสำรอง (RP Ratio) เพิ่มจาก 5 ปี เป็น 7.5 ปี ตามเป้าหมาย
7.ค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติ อันดับ7ของโลกจาก ซาราวัก มาเลเซีย
ผลการดำเนินงาน
ปี2562 มีกำไรสุทธิ 1569 ลบ เพิ่มขึ้น 40%
จากการขาย 356,651 บาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 15%
ราคาขายเฉลี่ย 47.24 $ ต่อบาร์เรล ต้นทุน (cash cost+non cash cost) 31.71 $ และ Cash cost 15$
รายได้รวม 6,413 ล้าน$ เพิ่มขึ้น 13%
ปันผลรวม 6 บาท แบ่งเป็น ครึ่งปีแรก 2.25 บาท และครึ่งปีหลัง(จ่ายปีนี้) 3.75 บาท
แผนการลงทุน5ปี
เพื่อทำให้ยอดขาย เพิ่มขึ้น จากปี 2563 388 เป็น 467 โต 15%
แผนการพัฒนาความยั่งยืน
1.HPO (High performance operation)
1.1 เปลี่ยนผ่านการดำเนินงาน โครงการ เอราวัณ บงกช และ Murphy,partex เพื่อตอบสนองการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง
1.2 เร่งกิจกรรมการสำรวจ
1.3 สร้างมูลค่าเพิ่ม ควบคุมต้นทุน ด้วย digital technology
1.4 ขยายธุรกิจใหม่ผ่าน AI Robotic venture
2. GRC กำกับองค์กร เต็มไปด้วยความโปร่งใสและยั่งยืน
3. SVC เติบโตอย่างยั่งยืน
3 กลยุทธ์
3.1 ลดgreen house gas production
3.2 ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 อนุรักษ์นิเวศน์ทางทะเลย
วาระที่2
ไวรัส Covid-19 นั้นนอกเหนือการควบคุม
ตอนนี้ปริมาณการผลิต ก๊าซ:น้ำมัน = 70:30 เป้า 80:20
DE ration 0.29 ค่อนข้างต่ำ แต่เพิ่มจาก 0.16 โดยการออกหุ้นกู้และกู้ยืมจากธนาคาร
มีเงินสดในมือ 3,000 ล้าน$
บริหารความเสี่ยง ทำสัญญาราคาน้ำมัน 42% ของ Explosure volumn ซึ่งลดลงจากเดิมเพราะราคาน้ำมัน
โอกาสต่ำกว่านี้น้อย
ปรับแผนการลงทุน และ ค่าใช้จ่ายลดลง 15-20%
ทบทวนการเจาะสำรวจ แผนการผลิต ให้อยู่จุดคุ้มทุน
ปริมาณการขายเพิ่มขึ้นมาจากการเพิ่มสัดส่วนใน บงกช Murphy partex
ปี62 ราคาเฉลี่ย 47.24$ เพิ่มจาก 46.66$
กำไรเพิ่มขึ้นจาก 0.27$ เป็น 0.38$ มาจาก ภาษีเงินได้ลดลง และ ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น
วันประชุมจัดที่ Energy complex ซึ่งมีการจัดการป้องกันการติดเชื้อCovid-19อย่างเข้มงวด
ซึ่งควรต้องไปก่อนเวลาอย่างน้อย1ชั่วโมง จึงสามารถไปฟังสดที่ห้องประชุมซึ่งจุเพียง 100 คนได้
ถ้ามาทีหลัง ต้องไปฟังในห้องประชุมเล็กจุเพียงห้องละ 20กว่าคน ฟังจากที่ถ่ายทอดอีกที
เวลาส่งคำถาม จะมีแบบฟอร์มให้กรอกและส่งก่อนเข้าประชุม
ซึ่ง ตึกที่ทำการลงทะเบียน คือตึกC หลังจากลงทะเบียนเสร็จก็ต้องไปตึกใหญ่ข้างๆ
และมีพนักงานตรวจสิ่งของอย่างละเอียด ค้นทุกซอกมุมที่กระเป๋าสัมภาระอย่างกับ ระวังกลัวคนวางระเบิด
ถ้าไม่สะดวกในการไปประชุม ก็สามารถดูจาก website www.pttep.com ได้ โดยกรอกหมายเลขทะเบียน
หรือหมายเลขบัตรประชาชนลงไป
สรุปถ้าไปช้า ฟัง onlineดีกว่าครับ
งานประชุมเริ่ม 14.00 โดยวาระแรก มีการเปิดวิดีโอ แนะนำบริษัทประมาณ 10นาที ก่อนเข้าประชุมจริง
ซึ่งผู้บริหาร ได้พูดถึงกลยุทธ์ของบริษัท
Expand & Execute
1.เข้าซื้อ บริษัท Murphy 0il (Malaysia) ซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่3
2.ซื้อ Partex
3.ได้รับสิทธิ์สำรวจแหล่งก๊าซที่ บงกชและเอราวัณ
4.ได้รับสิทธิ์ในปิโตรเลียม สองแปลง ที่มาเลเซีย และสองแปลงที่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
5.โครงการ โมซัมบิก โรวมา ออฟชอว์ แอเรียวัน และ แอลซีเรีย
6.ปริมาณสำรอง (RP Ratio) เพิ่มจาก 5 ปี เป็น 7.5 ปี ตามเป้าหมาย
7.ค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติ อันดับ7ของโลกจาก ซาราวัก มาเลเซีย
ผลการดำเนินงาน
ปี2562 มีกำไรสุทธิ 1569 ลบ เพิ่มขึ้น 40%
จากการขาย 356,651 บาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 15%
ราคาขายเฉลี่ย 47.24 $ ต่อบาร์เรล ต้นทุน (cash cost+non cash cost) 31.71 $ และ Cash cost 15$
รายได้รวม 6,413 ล้าน$ เพิ่มขึ้น 13%
ปันผลรวม 6 บาท แบ่งเป็น ครึ่งปีแรก 2.25 บาท และครึ่งปีหลัง(จ่ายปีนี้) 3.75 บาท
แผนการลงทุน5ปี
เพื่อทำให้ยอดขาย เพิ่มขึ้น จากปี 2563 388 เป็น 467 โต 15%
แผนการพัฒนาความยั่งยืน
1.HPO (High performance operation)
1.1 เปลี่ยนผ่านการดำเนินงาน โครงการ เอราวัณ บงกช และ Murphy,partex เพื่อตอบสนองการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง
1.2 เร่งกิจกรรมการสำรวจ
1.3 สร้างมูลค่าเพิ่ม ควบคุมต้นทุน ด้วย digital technology
1.4 ขยายธุรกิจใหม่ผ่าน AI Robotic venture
2. GRC กำกับองค์กร เต็มไปด้วยความโปร่งใสและยั่งยืน
3. SVC เติบโตอย่างยั่งยืน
3 กลยุทธ์
3.1 ลดgreen house gas production
3.2 ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 อนุรักษ์นิเวศน์ทางทะเลย
วาระที่2
ไวรัส Covid-19 นั้นนอกเหนือการควบคุม
ตอนนี้ปริมาณการผลิต ก๊าซ:น้ำมัน = 70:30 เป้า 80:20
DE ration 0.29 ค่อนข้างต่ำ แต่เพิ่มจาก 0.16 โดยการออกหุ้นกู้และกู้ยืมจากธนาคาร
มีเงินสดในมือ 3,000 ล้าน$
บริหารความเสี่ยง ทำสัญญาราคาน้ำมัน 42% ของ Explosure volumn ซึ่งลดลงจากเดิมเพราะราคาน้ำมัน
โอกาสต่ำกว่านี้น้อย
ปรับแผนการลงทุน และ ค่าใช้จ่ายลดลง 15-20%
ทบทวนการเจาะสำรวจ แผนการผลิต ให้อยู่จุดคุ้มทุน
ปริมาณการขายเพิ่มขึ้นมาจากการเพิ่มสัดส่วนใน บงกช Murphy partex
ปี62 ราคาเฉลี่ย 47.24$ เพิ่มจาก 46.66$
กำไรเพิ่มขึ้นจาก 0.27$ เป็น 0.38$ มาจาก ภาษีเงินได้ลดลง และ ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 24
AU AGM 2020
19/06/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 120ราย มาด้วยตนเอง 39ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 77%
วาระ 1
+ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ
วาระ 2
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 29/04/2562
วาระ 3
+ ผลการดำเนินงาน ปี62
+ ขยายสาขา กทม4สาขา ตจว2สาขา เซ็นทรัลหาดใหญ่ เซ็นทรัลป่าตอง
+ ลงทุนโรงงานเฟสใหม่ เครื่องจักร เพื่อเพิ่มกำลังผลิตในการส่งออก
+ ขยายช่องทาง pop-up store 3-12เดือน ข้อดีคือลงทุนต่ำ ได้ดิวพิเศษ ได้ทดลองตลาด บางอันไม่ดีเก็บบูทกลับ ถ้าไป 2ครั้งผ่านจึงเปิดร้าน อย่างระยองใช้ได้
+ สินค้าเทคอะเวย์ ทำได้ดี ขนมปังเนยโสด
+ ลองออก แป้งแพนเค้ก ท๊อฟฟี่เค้ก แอแคร ขนมใหว้พระจันทร์
+ หน้าที่บริษัทคือเทสตลาด คาโบนาร่าผลตอบรับค่อนข้างดี
+ oem กับสายการบินต่างๆ แอร์เอเชีย ไทยสมาย สตาร์บัค บอนชอน รวมๆ 40ล้าน
+ ยอดขายเฉลี่ยต่อสาขา แบ่งเป็น3เทีย สาขาใหญ่ที่มีลูกค้าตปท รายได้ 4-5ล สาขาเล็กๆ 1ล้านปลายๆ-2กลางๆ
+ ตจวที่ขายดี หาดใหญ่ พัทยา เชียงใหม่กลางๆ
+ สาขาตปท ฮ่องกง ยังไม่เปิด ดำเนินการมาระดับนึงแต่ระงับอยู่ เพราะม๊อบ ตามด้วยโควิด
+ pop-up store ถ้าอยู่เกิน 4เดือน ส่วนใหญ่จะดีหมด
+ ขายออนไลน์ ปีที่แล้วเปิดผ่านไลน์แอท และเพิ่ม grab lineman
วาระ 4
+ งบปี 62
+ เพิ่มโรงงาน เกือบๆ100ล้าน
+ หนี้สิน เพิ่มขึ้นจากผลประโยชน์พนักงาน และค่าไลเซ่นที่ฮ่องกง
+ รายได้ +37% กำไร +61%
+ เปิดป๊อบอัปเพิ่ม เลยมีสินค้าเทคอะเวย์เพิ่มด้วย
+ inventory turnover เพิ่มขึ้น เพราะสาขาเยอะขึ้น สต๊อกของเพิ่ม
+ หนี้สินการรื้อถอน เป็นประมาณการทางบัญชี เพราะสาขาเป็นเช่า เมื่อคืนพื้นที่ต้องเผื่อค่ารื้อถอน
+ หลักทรัพย์เพื่อค้า ส่วนใหญ่เป็น money market t+1
+ การลงทุนหลัก คือเฟส3 ระบบพาสเจอร์ไรส์ การส่งออกเป็นคอนเทนเนอร์ เลยต้องเพิ่มที่เก็บหลังจากผลิต
+ สินค้าเสื่อมสภาพ จะมีทั้งสาขา โรงงาน จะอยู่ในต้นทุนขายอยู่แล้ว ปกติไม่สูง
วาระ 5
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.29บ 236ล้าน คิดเป็น 99.6%ของกำไร
+ ทำไมปัน100% ตอบ บริษัทมีกระแสเงินสดเพียงพอ น่าจะเป็นประโยชน์กับผถห
วาระ 6
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้ามาใหม่
วาระ 7
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ไม่เกิน 1ล้าน
+ ปี62 ค่าเบี้บประชุมใช้จริง 5.8แสน ค่าเบี้บประชุมเท่าปีที่แล้ว
วาระ 8
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี สำนักงาน อีวาย ค่าตอบแทน 1.71ล้าน เพิ่มจากปีก่อน 3%
วาระ 9
+ อื่นๆ
+ ฮ่องกงขายเฟรนไซ สิทธิ 5ปี วัตถุดิบหลักซื้อจากเราลงเรือไป การบริหารมีเทรนเขา วิธีการอาจจะต่างจากไทยบ้างเพราะวัฒนะธรรมต่างกัน
+ ก่อนหน้านี้ มีประเทศอื่นบ้าง แต่โควิดมายังเงียบๆอยู่
+ มาตรฐานบัญชีใหม่ ค่าเช่ากระทบ 5ล้าน
+ สินค้าใหม่ ที่มีการลอกเลียน ตอบ ชิน มีคนทำมาตลอด มองเป็นเรื่องดี แสดงว่าเรามาถูกทางแล้ว จริงๆเป็นตลาดเปิด ผู้บริโภคจะตัดสินเอง
+ การขยายตปทช้า ตอบ เมื่อก่อนคอนเซอเวทีฟกว่านี้ ปี61ขยายเยอะมาก ตอนนี้จังหวะไม่ดี เราเลยกลับมาทำอย่างอื่น
+ Royalty Program ยังเติบโตทุกปี active 1.5แสนคน กำลังทำแอปอยู่ จะตอบโจทย์หลายๆเรื่อง การซื้อออนไลน์ เมนูใหม่
+ คชจ โปรแกรม หลักล้านแต่ไม่เยอะมาก จ้างเขียน แล้วให้พนักงานดูแลต่อ
+ เมนูเพื่อสุขภาพ ตอบ โควิดทำให้คนเครียด มาเสพสิ่งที่ตัวเองชอบมากกว่า โปรดักมีเยอะแต่ต้องเล็งเวลาว่าจะออกช่วงไหน อย่างแพนเค้กจะมีรสชาตใหม่ๆ ที่เคยทำมาสุขภาพมากจะขายไม่ดี ต้องผสมผสาน
+ เมโกริ เบรกอยู่
+ หลังคลายล๊อกดาวยอดขายเป็นยังไง ตอบ ความรุนแรงของโควิดเยอะ หลังเปิด อาทิตย์แรกคนกล้าๆกลัวๆ อาทิตย์ที่2-3ดีขึ้น แต่ช่วงพีคมีนักท่องเที่ยวด้วย
+ เสาร์อาทิตย์ดี แต่วันธรรมดาคนจะกลับบ้านกัน
+ มีแนวทางให้ สัดส่วนรายได้นั้งในร้านลดลง เพิ่มเทคอะเวย์
+ ช่วงนี้ปรับตัวกันรายวัน q1 มองไว้แล้วว่าปิดแน่ คุยกันตลอดว่าขายอะไรดี มีการเตรียมของที่จะทำไว้
+ โควิดระรอกสองมาทำอย่างไร ตอบ ถ้ามีอาจจะกลับไปปิดคล้ายรอบแรก คชจ วัตถุดิบ ค่าเช่า แรงงาน หารือวางแผนกันอยู่
+ แผนการผลิตพยายามบาลานคชจ-รายได้ สาขานั่งปกติแล้ว แต่ยังไม่ได้เอาโต๊ะใส่เต็ม พยายามให้รายได้ต่อพื้นที่ดีขึ้น mikka ก็จะมาช่วยส่วนนี้
+ ปีนี้ยังไม่เน้นขยายสาขา เน้นปรับปรุงร้านเดิมให้ดี
+ ตจว เราใช้ pop-up เข้าไปเทส
+ mikka เกิดจากขายน้ำในอาฟเตอยูแต่ไม่สำเร็จซักที เรามองว่ามีตลาดเสมอสำหรับสิ่งที่พอดี ปลายปีที่แล้วเปิด 10ธค เริ่มที่เล็กๆคีออส เปิดขายแฟรนไชแล้ว
+ จะแยกแถวไลน์แมนกับลูกค้าปกติไหม ตอบ ไลน์แมนก็คือลูกค้า จะพยายามขยายสาขา จะได้เฉลี่ยลูกค้าไป
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 1180912228
19/06/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 120ราย มาด้วยตนเอง 39ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 77%
วาระ 1
+ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ
วาระ 2
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 29/04/2562
วาระ 3
+ ผลการดำเนินงาน ปี62
+ ขยายสาขา กทม4สาขา ตจว2สาขา เซ็นทรัลหาดใหญ่ เซ็นทรัลป่าตอง
+ ลงทุนโรงงานเฟสใหม่ เครื่องจักร เพื่อเพิ่มกำลังผลิตในการส่งออก
+ ขยายช่องทาง pop-up store 3-12เดือน ข้อดีคือลงทุนต่ำ ได้ดิวพิเศษ ได้ทดลองตลาด บางอันไม่ดีเก็บบูทกลับ ถ้าไป 2ครั้งผ่านจึงเปิดร้าน อย่างระยองใช้ได้
+ สินค้าเทคอะเวย์ ทำได้ดี ขนมปังเนยโสด
+ ลองออก แป้งแพนเค้ก ท๊อฟฟี่เค้ก แอแคร ขนมใหว้พระจันทร์
+ หน้าที่บริษัทคือเทสตลาด คาโบนาร่าผลตอบรับค่อนข้างดี
+ oem กับสายการบินต่างๆ แอร์เอเชีย ไทยสมาย สตาร์บัค บอนชอน รวมๆ 40ล้าน
+ ยอดขายเฉลี่ยต่อสาขา แบ่งเป็น3เทีย สาขาใหญ่ที่มีลูกค้าตปท รายได้ 4-5ล สาขาเล็กๆ 1ล้านปลายๆ-2กลางๆ
+ ตจวที่ขายดี หาดใหญ่ พัทยา เชียงใหม่กลางๆ
+ สาขาตปท ฮ่องกง ยังไม่เปิด ดำเนินการมาระดับนึงแต่ระงับอยู่ เพราะม๊อบ ตามด้วยโควิด
+ pop-up store ถ้าอยู่เกิน 4เดือน ส่วนใหญ่จะดีหมด
+ ขายออนไลน์ ปีที่แล้วเปิดผ่านไลน์แอท และเพิ่ม grab lineman
วาระ 4
+ งบปี 62
+ เพิ่มโรงงาน เกือบๆ100ล้าน
+ หนี้สิน เพิ่มขึ้นจากผลประโยชน์พนักงาน และค่าไลเซ่นที่ฮ่องกง
+ รายได้ +37% กำไร +61%
+ เปิดป๊อบอัปเพิ่ม เลยมีสินค้าเทคอะเวย์เพิ่มด้วย
+ inventory turnover เพิ่มขึ้น เพราะสาขาเยอะขึ้น สต๊อกของเพิ่ม
+ หนี้สินการรื้อถอน เป็นประมาณการทางบัญชี เพราะสาขาเป็นเช่า เมื่อคืนพื้นที่ต้องเผื่อค่ารื้อถอน
+ หลักทรัพย์เพื่อค้า ส่วนใหญ่เป็น money market t+1
+ การลงทุนหลัก คือเฟส3 ระบบพาสเจอร์ไรส์ การส่งออกเป็นคอนเทนเนอร์ เลยต้องเพิ่มที่เก็บหลังจากผลิต
+ สินค้าเสื่อมสภาพ จะมีทั้งสาขา โรงงาน จะอยู่ในต้นทุนขายอยู่แล้ว ปกติไม่สูง
วาระ 5
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.29บ 236ล้าน คิดเป็น 99.6%ของกำไร
+ ทำไมปัน100% ตอบ บริษัทมีกระแสเงินสดเพียงพอ น่าจะเป็นประโยชน์กับผถห
วาระ 6
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้ามาใหม่
วาระ 7
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ไม่เกิน 1ล้าน
+ ปี62 ค่าเบี้บประชุมใช้จริง 5.8แสน ค่าเบี้บประชุมเท่าปีที่แล้ว
วาระ 8
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี สำนักงาน อีวาย ค่าตอบแทน 1.71ล้าน เพิ่มจากปีก่อน 3%
วาระ 9
+ อื่นๆ
+ ฮ่องกงขายเฟรนไซ สิทธิ 5ปี วัตถุดิบหลักซื้อจากเราลงเรือไป การบริหารมีเทรนเขา วิธีการอาจจะต่างจากไทยบ้างเพราะวัฒนะธรรมต่างกัน
+ ก่อนหน้านี้ มีประเทศอื่นบ้าง แต่โควิดมายังเงียบๆอยู่
+ มาตรฐานบัญชีใหม่ ค่าเช่ากระทบ 5ล้าน
+ สินค้าใหม่ ที่มีการลอกเลียน ตอบ ชิน มีคนทำมาตลอด มองเป็นเรื่องดี แสดงว่าเรามาถูกทางแล้ว จริงๆเป็นตลาดเปิด ผู้บริโภคจะตัดสินเอง
+ การขยายตปทช้า ตอบ เมื่อก่อนคอนเซอเวทีฟกว่านี้ ปี61ขยายเยอะมาก ตอนนี้จังหวะไม่ดี เราเลยกลับมาทำอย่างอื่น
+ Royalty Program ยังเติบโตทุกปี active 1.5แสนคน กำลังทำแอปอยู่ จะตอบโจทย์หลายๆเรื่อง การซื้อออนไลน์ เมนูใหม่
+ คชจ โปรแกรม หลักล้านแต่ไม่เยอะมาก จ้างเขียน แล้วให้พนักงานดูแลต่อ
+ เมนูเพื่อสุขภาพ ตอบ โควิดทำให้คนเครียด มาเสพสิ่งที่ตัวเองชอบมากกว่า โปรดักมีเยอะแต่ต้องเล็งเวลาว่าจะออกช่วงไหน อย่างแพนเค้กจะมีรสชาตใหม่ๆ ที่เคยทำมาสุขภาพมากจะขายไม่ดี ต้องผสมผสาน
+ เมโกริ เบรกอยู่
+ หลังคลายล๊อกดาวยอดขายเป็นยังไง ตอบ ความรุนแรงของโควิดเยอะ หลังเปิด อาทิตย์แรกคนกล้าๆกลัวๆ อาทิตย์ที่2-3ดีขึ้น แต่ช่วงพีคมีนักท่องเที่ยวด้วย
+ เสาร์อาทิตย์ดี แต่วันธรรมดาคนจะกลับบ้านกัน
+ มีแนวทางให้ สัดส่วนรายได้นั้งในร้านลดลง เพิ่มเทคอะเวย์
+ ช่วงนี้ปรับตัวกันรายวัน q1 มองไว้แล้วว่าปิดแน่ คุยกันตลอดว่าขายอะไรดี มีการเตรียมของที่จะทำไว้
+ โควิดระรอกสองมาทำอย่างไร ตอบ ถ้ามีอาจจะกลับไปปิดคล้ายรอบแรก คชจ วัตถุดิบ ค่าเช่า แรงงาน หารือวางแผนกันอยู่
+ แผนการผลิตพยายามบาลานคชจ-รายได้ สาขานั่งปกติแล้ว แต่ยังไม่ได้เอาโต๊ะใส่เต็ม พยายามให้รายได้ต่อพื้นที่ดีขึ้น mikka ก็จะมาช่วยส่วนนี้
+ ปีนี้ยังไม่เน้นขยายสาขา เน้นปรับปรุงร้านเดิมให้ดี
+ ตจว เราใช้ pop-up เข้าไปเทส
+ mikka เกิดจากขายน้ำในอาฟเตอยูแต่ไม่สำเร็จซักที เรามองว่ามีตลาดเสมอสำหรับสิ่งที่พอดี ปลายปีที่แล้วเปิด 10ธค เริ่มที่เล็กๆคีออส เปิดขายแฟรนไชแล้ว
+ จะแยกแถวไลน์แมนกับลูกค้าปกติไหม ตอบ ไลน์แมนก็คือลูกค้า จะพยายามขยายสาขา จะได้เฉลี่ยลูกค้าไป
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 1180912228
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 25
AGM ROJNA 19 June 2020 10.00
ผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเอง 47 ราย
มอบฉันทะ 64 ราย
รวม 111 ราย
คิดเป็น 66.7867% หรือ 1,349,066,143 หุ้น
วาระที่2
คุณจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการผู้จัดการ เปิดประชุมแทน คุณดิเรก ซึ่งไม่มาประชุม
อัปเดทผลประกอบการปีที่แล้ว
การขายที่ดินปีที่แล้วในบริเวณ EEC ค่อนข้างมาก
ผู้ซื้อส่วนใหญ่มาจากจีน ซึ่งมีธุรกิจหลากหลาย ไม่เหมือนในอดีต ญี่ปุ่นมาเป็นสายอุตสาหกรรม
เช่นยานยนต์
การใช้ไฟฟ้าในธุรกิจไฟฟ้าอยู่ในเกณฑ์ดี
การใช้น้ำในธุรกิจขายน้ำก็อยู่ในเกณฑ์ดี ทำให้บริษัทมีกำไรดีในปีที่แล้ว
ยอดรายได้ 14,295 ลบ เติบโตจากปีที่แล้ว 12,128 ลบ
ยอดกำไร 1,837 ลบ (0.91บาทต่อหุ้น) เติบโตจากปีที่แล้ว 671 ลบ (0.33บาทต่อหุ้น)
ส่วนใหญ่มาจากำไร ลงทุนในบริษัท Gulf ที่ราคาเพิ่มขึ้น และการถือหน่วยลงทุนอสังหาต่างประเทศ
คลังสินค้า เฟรเซอร์ที่สิงคโปร์
ปีนี้มีการแพร่ระบาดของ Covid-19 การเดินทางในต่างประเทศก็ขาดหายไป
จนถึงวันนี้ การขายที่ดินก็ชะลอไป เรามีที่ดินทำสัญญา ยังไม่ขาย 2,000 ลบ
ช่วง สค การมีCharter fight ควรมีธุรกรรมการขายที่ดินเพิ่มขึ้น
คงโอนได้ใน Q4 เราดำเนินการใกล้เสร็จแล้ว
ปัญหาที่ท้าทาย
การชะงักงันของธุรกิจทุกภาค โดย
ภาคอุคสาหกรรมที่โดนกระทบมากสุด คือ ยานยนต์ และ อิเลคทรอนิคส์
บางโรงงานปิดชั่วคราว หรือ ลดคนลง
ธุรกิจอาหาร เครื่องดื่ม บรรจุภัณฑ์ ยังไปได้ระดับนึง
ผลประกอบการปีนี้ อยู่ในเกณฑ์เอาอยู่ จะดีเหมือนปีที่แล้วคงยาก
ปีนี้ ถ้าไม่มีcovid-19 ธุรกิจก็ยังทรงตัวจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น บั่นทอนความสามารถในการส่งออก
กำลังซื้อโดยรวมจากภาคอุตสาหกรรมต่ำลง
เราพยายามรักษาสภาพคล่องพอสมควร ธุรกิจเริ่มหดตัวจากไตรมาสสองจนถึงสิ้นปี
ความสำคัญในการดูแลบริษัท คือ การบริหารสภาพคล่อง
เราโชคดีที่อยู่ในธุรกิจสาธารณูปโภค ขายไฟและน้ำ
ถึงแม้ขายลดลง แต่ก็ยังหนุนกิจการอยู่
มีที่ดิน ที่เป็น Back log รอขายอยู่ ไม่น่าจะเกิดปัญหาใดๆ
บริษัทยังชำระหุ้นกู้ที่ครบกำหนดใน พค 63 ไปเกือบ 3,000 ลบ โดยไม่มีปัญหา
Q&A
1.เราไม่ได้ไปต่ออายุโรงไฟฟ้าSPP เพราะเรามองว่าไม่คุ้มที่ต่ออายุ เพราะ
1.1 สัญญาใหม่ขายไฟให้EGATเพียง 30 MW จากเดิม90 MW
1.2 ต้องทุบโรงไฟฟ้าเดิมทิ้งเพื่อสร้างใหม่ แต่โรงไฟฟ้าปัจจุบันอายุเพียง 7 ปี ยังใช้ได้อีก 18 ปี
1.3 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ 4,000 ลบ เราเก็บเงินไว้เป็นสภาพคล่องดีกว่า
และ พยายามชักจูงลูกค้าที่ซื้อไฟจากEGATมาซื้อกับเราแทน ซึ่งได้ราคาขายดีกว่าขายให้EGATโดยตรง
2. โรงงานในนิคม เช่น รถยนต์ ส่วนใหญ่ลดกำลังการผลิต รอบนี้กลับมาผลิตใหม่แล้ว
3. Trust ที่ลงในต่างประเทศ ตอนนี้ยังถืออยู่ Yield ดีมาก 11%
4. โครงการที่ร่วมลงทนกับ ญี่ปุ่น คือ Solar roof top กำลังได้ลูกค้ารายแรก แต่ไม่เปิดเผยรายละเอียด
5.เรามีขาย Gulf ออกไปบ้าง แต่ก็ถือต่อจนถึงจุดที่ต้องขายออกไป ในอนาคต ซึ่งเราอยู่ในธุรกิจนี้อยู่แล้ว
รู้ว่าควรขายตอนไหน
6.ที่ดินที่สุวรรณภูมิ ตอนนี้โอนมาทั้งสองส่วนแล้ว การพัฒนา โดยจ้างที่ปรึกษาทำmaster plan
คาดว่ารายได้จะเข้ามาเร็วสุด อีก 2-3 ปีข้างหน้า
วาระที่ 8 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้วงเงิน 20,000 ลบ ผู้ถือหุ้นอนุมัติ
ส่วนจะออกขายเมื่อไหร่ ก็ขึ้นกับสภาพตลาดว่าเอื้อขนาดไหน
ผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเอง 47 ราย
มอบฉันทะ 64 ราย
รวม 111 ราย
คิดเป็น 66.7867% หรือ 1,349,066,143 หุ้น
วาระที่2
คุณจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการผู้จัดการ เปิดประชุมแทน คุณดิเรก ซึ่งไม่มาประชุม
อัปเดทผลประกอบการปีที่แล้ว
การขายที่ดินปีที่แล้วในบริเวณ EEC ค่อนข้างมาก
ผู้ซื้อส่วนใหญ่มาจากจีน ซึ่งมีธุรกิจหลากหลาย ไม่เหมือนในอดีต ญี่ปุ่นมาเป็นสายอุตสาหกรรม
เช่นยานยนต์
การใช้ไฟฟ้าในธุรกิจไฟฟ้าอยู่ในเกณฑ์ดี
การใช้น้ำในธุรกิจขายน้ำก็อยู่ในเกณฑ์ดี ทำให้บริษัทมีกำไรดีในปีที่แล้ว
ยอดรายได้ 14,295 ลบ เติบโตจากปีที่แล้ว 12,128 ลบ
ยอดกำไร 1,837 ลบ (0.91บาทต่อหุ้น) เติบโตจากปีที่แล้ว 671 ลบ (0.33บาทต่อหุ้น)
ส่วนใหญ่มาจากำไร ลงทุนในบริษัท Gulf ที่ราคาเพิ่มขึ้น และการถือหน่วยลงทุนอสังหาต่างประเทศ
คลังสินค้า เฟรเซอร์ที่สิงคโปร์
ปีนี้มีการแพร่ระบาดของ Covid-19 การเดินทางในต่างประเทศก็ขาดหายไป
จนถึงวันนี้ การขายที่ดินก็ชะลอไป เรามีที่ดินทำสัญญา ยังไม่ขาย 2,000 ลบ
ช่วง สค การมีCharter fight ควรมีธุรกรรมการขายที่ดินเพิ่มขึ้น
คงโอนได้ใน Q4 เราดำเนินการใกล้เสร็จแล้ว
ปัญหาที่ท้าทาย
การชะงักงันของธุรกิจทุกภาค โดย
ภาคอุคสาหกรรมที่โดนกระทบมากสุด คือ ยานยนต์ และ อิเลคทรอนิคส์
บางโรงงานปิดชั่วคราว หรือ ลดคนลง
ธุรกิจอาหาร เครื่องดื่ม บรรจุภัณฑ์ ยังไปได้ระดับนึง
ผลประกอบการปีนี้ อยู่ในเกณฑ์เอาอยู่ จะดีเหมือนปีที่แล้วคงยาก
ปีนี้ ถ้าไม่มีcovid-19 ธุรกิจก็ยังทรงตัวจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น บั่นทอนความสามารถในการส่งออก
กำลังซื้อโดยรวมจากภาคอุตสาหกรรมต่ำลง
เราพยายามรักษาสภาพคล่องพอสมควร ธุรกิจเริ่มหดตัวจากไตรมาสสองจนถึงสิ้นปี
ความสำคัญในการดูแลบริษัท คือ การบริหารสภาพคล่อง
เราโชคดีที่อยู่ในธุรกิจสาธารณูปโภค ขายไฟและน้ำ
ถึงแม้ขายลดลง แต่ก็ยังหนุนกิจการอยู่
มีที่ดิน ที่เป็น Back log รอขายอยู่ ไม่น่าจะเกิดปัญหาใดๆ
บริษัทยังชำระหุ้นกู้ที่ครบกำหนดใน พค 63 ไปเกือบ 3,000 ลบ โดยไม่มีปัญหา
Q&A
1.เราไม่ได้ไปต่ออายุโรงไฟฟ้าSPP เพราะเรามองว่าไม่คุ้มที่ต่ออายุ เพราะ
1.1 สัญญาใหม่ขายไฟให้EGATเพียง 30 MW จากเดิม90 MW
1.2 ต้องทุบโรงไฟฟ้าเดิมทิ้งเพื่อสร้างใหม่ แต่โรงไฟฟ้าปัจจุบันอายุเพียง 7 ปี ยังใช้ได้อีก 18 ปี
1.3 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ 4,000 ลบ เราเก็บเงินไว้เป็นสภาพคล่องดีกว่า
และ พยายามชักจูงลูกค้าที่ซื้อไฟจากEGATมาซื้อกับเราแทน ซึ่งได้ราคาขายดีกว่าขายให้EGATโดยตรง
2. โรงงานในนิคม เช่น รถยนต์ ส่วนใหญ่ลดกำลังการผลิต รอบนี้กลับมาผลิตใหม่แล้ว
3. Trust ที่ลงในต่างประเทศ ตอนนี้ยังถืออยู่ Yield ดีมาก 11%
4. โครงการที่ร่วมลงทนกับ ญี่ปุ่น คือ Solar roof top กำลังได้ลูกค้ารายแรก แต่ไม่เปิดเผยรายละเอียด
5.เรามีขาย Gulf ออกไปบ้าง แต่ก็ถือต่อจนถึงจุดที่ต้องขายออกไป ในอนาคต ซึ่งเราอยู่ในธุรกิจนี้อยู่แล้ว
รู้ว่าควรขายตอนไหน
6.ที่ดินที่สุวรรณภูมิ ตอนนี้โอนมาทั้งสองส่วนแล้ว การพัฒนา โดยจ้างที่ปรึกษาทำmaster plan
คาดว่ารายได้จะเข้ามาเร็วสุด อีก 2-3 ปีข้างหน้า
วาระที่ 8 พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้วงเงิน 20,000 ลบ ผู้ถือหุ้นอนุมัติ
ส่วนจะออกขายเมื่อไหร่ ก็ขึ้นกับสภาพตลาดว่าเอื้อขนาดไหน
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 26
CBG AGM 2020
22/06/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 972ราย มาด้วยตนเอง 38ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 86%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 23/04/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน ปี62
+ รายได้ +4%
+ เครื่องดื่มชูกำลัง 86% เป็นส่งออก 46%
+ ตัวแทนจัดจำหน่าย 9%
+ q1 ปี20 +21% ส่งออกเป็น53%
+ นับเฉพาะเครื่องดื่มชูกำลัง ส่งออก 55->63%
+ กำไร เกิดจากจัดซื้อ วัตถุดิบ80%ขึ้นไปนำเข้ามาเอง นอกจากน้ำตาล ทำให้ต้นทุนถูกลง ยอดการผลิตสูงก็ทำให้จัดซื้อง่ายขึ้น
+ vcm กระป๋องขาย 900ล้าน กปละบาทก็ประหยัดไป 900ล้านบาท ปี 19ยังผลิดไม่เพียงพอ
+ ขวดแก้วที่กำลังผลิตเหลือ ก็รับจ้างผลิตแต่ไม่มาก
+ roe ปันผล ดีขึ้น deลดลง
+ โควิด โชคดีที่ทำธุรกิจอยู่ที่จีน ทำให้วางแผนการผลิต สต๊อกสินค้าดี
+ c-lock ถือ 85% วู๊ดดี้ถือ 15% ผลิตจากโรงงานคาราบาว อยากเป็นอันดับ 1 ขวดเขียวเก็บวิตามินซีดีสุด ฝาเกลียว หยดไนโตรเจนให้ซ่านิดนึง
+ APM ลงทุน 700ล้าน ทำให้กำไรขั้นต้นเพิ่ม 1.5%
+ ไลน์ผลิต เพิ่มทั้งขวด +4.2ล้านขวด และกระป๋อง 5.7ล้านกป
+ การผลิต เราทำเองเพื่อเตรียมมูฟแบบเงียบๆได้
+ ผู้ผลิตทุกคนรู้ว่าขวดใสจะเก็บวิตามินไม่ดี แต่คนอื่นจะหาขวดเขียวยังไง
+ ขวดเขียวมีการรับรีไซเคิลยังไง เพราะน่าจะรีไซเคิลลำบากเหมือนขวดสไปร์ท ตอบ เทคโนโลยีปัจจุบันทำได้ สมัยก่อนใช้ได้ 50% ตอนนี้ได้ 70% การทำความร้อนให้ขวดละลายใช้ความร้อนน้อยกว่าให้ทรายละลาย เมื่อก่อนขวดเล็กๆเอามาล้างใช้ใหม่ เดี๋ยวนี้ทุบแล้วหลอมใหม่ ลดต้นทุนได้เยอะ
+ การเยี่ยมชมโรงงาน ตอบ พยายามจัดให้เยี่ยม ทั้งโรงกระป๋อง ขวด ปีนี้มีกล่อง ฟีล์ม
+ อยากให้ไปดูโรงเหล้า ทันสมัยที่สุด ขายเกือบแสนลัง
+ ร้านcj ของผถหใหญ่ มีแนวโน้มจะให้ cbg ควบไหม ตอบ ปีนี้น่าจะกำไร 800ล้าน แต่ยังไม่มีแผนในระยะไกล้
วาระ 3
+ อนุมัติงบ ปี62
+ รายงานผู้สอบบัญชี หน้า137 การรับรู้รายได้ที่มีข้อตกลงที่หลากหลาย มีการสอบบัญชียังไง ตอบ นำโปรแกรมมาวิเคราะห์รายทรานแซกชั่น ว่าผิดปกติหรือไม่
+ tfrs15 รายได้ตามสัญญา กระทบอย่างไร ตอบ เรื่องของแถม ผลกระทบน้อยมาก เพราะทำมาก่อน กระทบไม่กี่สิบล้าน
+ การด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย และค่าความนิยม 1400กว่าล้าน ตอบ จะพิจารณาเป็นหน่วยธุรกิจ ที่อังกฤษตอนซื้อมีค่าความนิยม ที่ผ่านมามีการขาดทุน และแผนการลงทุนการตลาดมาคำนวนแคชโฟล ทำให้เกิดการด้อยค่า ในงบเดี่ยว
+ งบรวม มีค่าความนิยมอยู่ 500ล้าน ยังไม่ด้อยค่า แนวโน้มอังกฤษคิดว่าขาดทุน 5-600ล้านปอนด์ ไม่รวมสปอนเซอร์ ปีหน้าเชลซีจะหมด ประหยัดขึ้นส่งจากไทยแทนฮอลแลนด์
+ หน้า182 เครื่องหมายการค้า ราคาทุน 10ล้าน ตัดไปแล้ว 9ล้าน เหลือแค่ล้านเดียวซึ่งน่าจะน้อยเกิน อีกบริษัทเป็นหมื่นล้าน ตอบ เป็นราคาซื้อจากพี่แอ๊ดแบบเป็นเพื่อนกันตอนตั้งบริษัท ตอนนี้จริงๆน่าจะหลายพันล้าน
วาระ 4
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 2ครั้ง 1.7บาท เป็นเงิน 1700ล้าน คิดเป็น 68%ของกำไร
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ 3ท่าน กลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ไม่เกิน 5ล้านบาท เท่าปีที่แล้ว
วาระ 7
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี สำนักงานอีวาย ค่าตอบแทน 1.16ล้าน รวมทุกบริษัทในกลุ่ม 4.8ล้าน
วาระ 8
+ แต่งตั้งกรรมการใหม่ 2ท่าน
+ คิดว่าหลังโควิด ไทยจะยากลำบาก ต้องประเมินสถาณการณ์ให้ถูกต้อง คุณณ กาฬ เป็นบกของโพสทูเดย์มาสิบกว่าปี คุณณัฐชนกเข้าใจเราดี ทำเรื่องออกแบบ
วาระ 9
+ อนุมัติวงเงินหุ้นกู้ 5000ล้าน
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ 2-3ล๊อต ตอนมิยครบกำหนด แต่ตลาดไม่เอื้อเลยใช้เงินกู้ธนาคาร แต่ดอกค่อนข้างต่ำไม่ถึง 2%
+ ตอนนี้คงยังไม่เหมาะออกหุ้นกู้ เพราะปกติต้องถูกกว่าเงินกู้ธนาคาร แต่ขอไว้เพื่อ
+ ผถหสอบถามว่าวินัยการเงินของบริษัทเป็นอย่างไร ตอบ de ใน2ปีไม่อยากให้เกิน 1เท่า ebitdaปีที่แล้ว 3-4พันล้าน de/ebitda 1เท่านิดๆถือว่าดี
+ ดอกเบี้ย หุ้นกู้ที่ออกไปแล้ว 2ปี 2.2% 3ปี 2.3% ถือว่าดี
+ ส่วนเงินกู้ธนาคาร ระยะยาว 3%+- ระยะสั้นต่ำกว่า 2%
วาระ 10
+ อื่นๆ
+ พี่แอ๊ดบอกว่าบริษัททำงานหนัก กำลังจะมีผลิตแพ๊คเก็จจิ้งให้ครบ โควิดถือเป็นโอกาศ
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 4563989223
22/06/2020 14:00
+ ผู้ร่วมประชุม 972ราย มาด้วยตนเอง 38ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 86%
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญ เมื่อ 23/04/2562
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงาน ปี62
+ รายได้ +4%
+ เครื่องดื่มชูกำลัง 86% เป็นส่งออก 46%
+ ตัวแทนจัดจำหน่าย 9%
+ q1 ปี20 +21% ส่งออกเป็น53%
+ นับเฉพาะเครื่องดื่มชูกำลัง ส่งออก 55->63%
+ กำไร เกิดจากจัดซื้อ วัตถุดิบ80%ขึ้นไปนำเข้ามาเอง นอกจากน้ำตาล ทำให้ต้นทุนถูกลง ยอดการผลิตสูงก็ทำให้จัดซื้อง่ายขึ้น
+ vcm กระป๋องขาย 900ล้าน กปละบาทก็ประหยัดไป 900ล้านบาท ปี 19ยังผลิดไม่เพียงพอ
+ ขวดแก้วที่กำลังผลิตเหลือ ก็รับจ้างผลิตแต่ไม่มาก
+ roe ปันผล ดีขึ้น deลดลง
+ โควิด โชคดีที่ทำธุรกิจอยู่ที่จีน ทำให้วางแผนการผลิต สต๊อกสินค้าดี
+ c-lock ถือ 85% วู๊ดดี้ถือ 15% ผลิตจากโรงงานคาราบาว อยากเป็นอันดับ 1 ขวดเขียวเก็บวิตามินซีดีสุด ฝาเกลียว หยดไนโตรเจนให้ซ่านิดนึง
+ APM ลงทุน 700ล้าน ทำให้กำไรขั้นต้นเพิ่ม 1.5%
+ ไลน์ผลิต เพิ่มทั้งขวด +4.2ล้านขวด และกระป๋อง 5.7ล้านกป
+ การผลิต เราทำเองเพื่อเตรียมมูฟแบบเงียบๆได้
+ ผู้ผลิตทุกคนรู้ว่าขวดใสจะเก็บวิตามินไม่ดี แต่คนอื่นจะหาขวดเขียวยังไง
+ ขวดเขียวมีการรับรีไซเคิลยังไง เพราะน่าจะรีไซเคิลลำบากเหมือนขวดสไปร์ท ตอบ เทคโนโลยีปัจจุบันทำได้ สมัยก่อนใช้ได้ 50% ตอนนี้ได้ 70% การทำความร้อนให้ขวดละลายใช้ความร้อนน้อยกว่าให้ทรายละลาย เมื่อก่อนขวดเล็กๆเอามาล้างใช้ใหม่ เดี๋ยวนี้ทุบแล้วหลอมใหม่ ลดต้นทุนได้เยอะ
+ การเยี่ยมชมโรงงาน ตอบ พยายามจัดให้เยี่ยม ทั้งโรงกระป๋อง ขวด ปีนี้มีกล่อง ฟีล์ม
+ อยากให้ไปดูโรงเหล้า ทันสมัยที่สุด ขายเกือบแสนลัง
+ ร้านcj ของผถหใหญ่ มีแนวโน้มจะให้ cbg ควบไหม ตอบ ปีนี้น่าจะกำไร 800ล้าน แต่ยังไม่มีแผนในระยะไกล้
วาระ 3
+ อนุมัติงบ ปี62
+ รายงานผู้สอบบัญชี หน้า137 การรับรู้รายได้ที่มีข้อตกลงที่หลากหลาย มีการสอบบัญชียังไง ตอบ นำโปรแกรมมาวิเคราะห์รายทรานแซกชั่น ว่าผิดปกติหรือไม่
+ tfrs15 รายได้ตามสัญญา กระทบอย่างไร ตอบ เรื่องของแถม ผลกระทบน้อยมาก เพราะทำมาก่อน กระทบไม่กี่สิบล้าน
+ การด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย และค่าความนิยม 1400กว่าล้าน ตอบ จะพิจารณาเป็นหน่วยธุรกิจ ที่อังกฤษตอนซื้อมีค่าความนิยม ที่ผ่านมามีการขาดทุน และแผนการลงทุนการตลาดมาคำนวนแคชโฟล ทำให้เกิดการด้อยค่า ในงบเดี่ยว
+ งบรวม มีค่าความนิยมอยู่ 500ล้าน ยังไม่ด้อยค่า แนวโน้มอังกฤษคิดว่าขาดทุน 5-600ล้านปอนด์ ไม่รวมสปอนเซอร์ ปีหน้าเชลซีจะหมด ประหยัดขึ้นส่งจากไทยแทนฮอลแลนด์
+ หน้า182 เครื่องหมายการค้า ราคาทุน 10ล้าน ตัดไปแล้ว 9ล้าน เหลือแค่ล้านเดียวซึ่งน่าจะน้อยเกิน อีกบริษัทเป็นหมื่นล้าน ตอบ เป็นราคาซื้อจากพี่แอ๊ดแบบเป็นเพื่อนกันตอนตั้งบริษัท ตอนนี้จริงๆน่าจะหลายพันล้าน
วาระ 4
+ รับทราบการจ่ายปันผลระหว่างกาล 2ครั้ง 1.7บาท เป็นเงิน 1700ล้าน คิดเป็น 68%ของกำไร
วาระ 5
+ แต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ 3ท่าน กลับเข้ามาใหม่
วาระ 6
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ไม่เกิน 5ล้านบาท เท่าปีที่แล้ว
วาระ 7
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี สำนักงานอีวาย ค่าตอบแทน 1.16ล้าน รวมทุกบริษัทในกลุ่ม 4.8ล้าน
วาระ 8
+ แต่งตั้งกรรมการใหม่ 2ท่าน
+ คิดว่าหลังโควิด ไทยจะยากลำบาก ต้องประเมินสถาณการณ์ให้ถูกต้อง คุณณ กาฬ เป็นบกของโพสทูเดย์มาสิบกว่าปี คุณณัฐชนกเข้าใจเราดี ทำเรื่องออกแบบ
วาระ 9
+ อนุมัติวงเงินหุ้นกู้ 5000ล้าน
+ ตอนนี้มีหุ้นกู้ 2-3ล๊อต ตอนมิยครบกำหนด แต่ตลาดไม่เอื้อเลยใช้เงินกู้ธนาคาร แต่ดอกค่อนข้างต่ำไม่ถึง 2%
+ ตอนนี้คงยังไม่เหมาะออกหุ้นกู้ เพราะปกติต้องถูกกว่าเงินกู้ธนาคาร แต่ขอไว้เพื่อ
+ ผถหสอบถามว่าวินัยการเงินของบริษัทเป็นอย่างไร ตอบ de ใน2ปีไม่อยากให้เกิน 1เท่า ebitdaปีที่แล้ว 3-4พันล้าน de/ebitda 1เท่านิดๆถือว่าดี
+ ดอกเบี้ย หุ้นกู้ที่ออกไปแล้ว 2ปี 2.2% 3ปี 2.3% ถือว่าดี
+ ส่วนเงินกู้ธนาคาร ระยะยาว 3%+- ระยะสั้นต่ำกว่า 2%
วาระ 10
+ อื่นๆ
+ พี่แอ๊ดบอกว่าบริษัททำงานหนัก กำลังจะมีผลิตแพ๊คเก็จจิ้งให้ครบ โควิดถือเป็นโอกาศ
ดูรูปได้ที่ https://m.facebook.com/groups/157217113 ... 4563989223
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 27
AGM BCH 23 JUN 2020 10.00 ประชุมที่ รพ World Medical Center
ผู้ถือหุ้นและมอบฉันทะ รวม 1,249 คน คิดเป็น 65.29% ของหุ้นทั้งหมด
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินงานของบริษัทในปี 2562
บริษัทก่อตั้งปี 2536 และเข้าตลท เมื่อปี 2547 มีทุนชำระ 2,493.75 ลบ
กลุ่มบริษัทประกอบด้วย รพ 13 แห่ง และ โพลีคลินิก 1 แห่ง
รพ แห่งใหม่ Inter อรัญประเทศพึ่งเปิดเมื่อ 11 พค 2563
รพ เกษมราษฎร์ อินเตอร์ ซึ่งลูกค้าจ่ายเองหมด จะพิจารณาว่าเปิด 1 กค หรือไม่
ส่วนที่ ปราจีนบุรี คาดว่าจะเปิดในวันที่ 1 มค 2564 โดยก่อสร้างเสร็จในเดือน ตค
และยื่นขออนุญาตในเดือน พย 63 กลุ่มเป้าหมาย คนชั้นกลางจากปอยเปต กัมพูชา และ
ผู้ประกันตนที่ฉะเชิงเทรากว่าแสนคนที่ใช้โควตาร่วมกับ KH ฉะเชิงเทรา
ส่วนที่เวียงจันทน์ Phaseแรก 110 เตียง ส่วนcapex ชะลอไปก่อน
รายได้
Q1-3 รายได้ยังโตปกติ พอถึง Q4 รายได้ประกันสังคมแบบเหมาจ่าย
เก็บจริงได้ 7,100 บาทต่อคนจาก 12,800 บาท
ซึ่งถ้าประกันสังคมมีงบเหลือ ก็จะมาให้ภายหลัง ทำให้รายได้Growth ทั้งปี 9.9% คิดเป็น 8,900 ลบ
แยกเป็น KH เติบโต 10.1% , WMC เติบโต 11.5% และ รพ การุณเวช เติบโต 4.9%
แยกเป็น ผู้ป่วยนอก เติบโต 9.7% , 5ปี CAGR = 5.9%
ผู้ป่วยใน เติบโต 14.9% ,CAGR 5ปี = 8.5%
ผู้ประกันตน เติบโต 5.8% ,CAGR 5ปี = 6%
รายได้แยก ตามself-pay Patients
Self-pay ลดลง 24% เหลือสัดส่วน 25% แสดงว่าคนเริ่มทำประกันสุขภาพเพิ่มขึ้น
จนทำให้การเติบโตของ Private Insurance 16% คิดเป็นสัดส่วน 29.8%
Corporate contact เติบโต 69.6% เป็นสัดส่วน 30.9%
Others เติบโต 17.2% คิดเป็นสัดส่วน 14.3%
รายได้ แบ่งตาม department of self-pay Patients
เงินสดIPD เติบโต 14.9%, OPD เติบโต 9.7%
ส่วนรายได้ประกันสังคมในปี63 ระบบเหมาจ่ายจะให้ขั้นต่ำ 12,000 บาทต่อคน
ทำให้ระบบบันทึกบัญชีไม่สวิงมากแล้ว
งบการเงินรวม
Asset เติบโต 11.8% = 14,115 MB
Liability เติบโต 14.6% = 7,137 MB
Equity เติบโต 9.1% = 6,978 MB
Revenue เติบโต 9.9% = 8,996 MB
กำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัท เติบโต 4.2% = 1,134 ลบ ,กำไรต่อหุ้น 0.46 บาท
งบกระแสเงินสด
จากการดำเนินงาน 1,902.4 MB
จากกิจกรรมการลงทุน (1,729.2 MB)
จากจัดหาเงิน (26.5 MB)
ยุทธศาสตร์บริการเพิ่มเติมในช่วง Covid ใน Q2
1.การตรวจCovid โดย 13 Mar เริ่มตรวจแบบ Drive Throuh ค่าบริการเริ่มแรก 6,500 บาท ต่อมาคิด 5,000บาท
2.ห้องปฏิบัติการ ส่งผลกลับใน24ชม (Real Time-PCR)
3.In-patient Ward&Treatment Service
- Cohort Ward
- Isolation Ward
- Negative pressure room
รพ เอกชน ใน กท และ ปริมณฑล ดูแลcovid คิดเป็น 43% ของระบบ และรัฐsupportหน้าการอนามัยให้ฟรี
4.Collaboration with Hotels หลังcovidคลี่คลาย รัฐเริ่มถอนตัว
แต่ก็ยังมีการทำ state quarantine โดย รพ ร่วมกับ รร ทำstate quarantine โดยรัฐออกค่า รร และ แพทย์ให้
ตอนนี้เราตรวจCovidมากกว่า 120,000 คน โดยสามารถเก็บค่าLab 2,500 บาทต่อคน ส่วนชุด เบิกตามจริง
Q&A
1.สัดส่วนBOI ที่สามารถคิดcredit ภาษีมีเท่าไหร่
ปี62 กำไรมาจาก Non BOI ส่วนปีนี้ เราจะมีกำไรจากแม่สาย ส่วน KH inter ยังไม่มีกำไร
2. ศูนย์มะเร็ง เราทำศูนย์โดยใช้พื้นที่ไม่เยอะ เราต้องมีเพราะคนประกันตนในรพ จะครบล้านคนในปีหน้า
ทำให้ต้องลงทุน จะได้ไม่ต้องส่งต่อ
ศูนย์ IVF ตลาดใหญ่อยู่ที่จีน แต่รายได้ต่างชาติคิดเป็น 5.7% เท่านั้น เราพร้อมแล้ว แต่คนไข้ยังมาน้อย
เพราะรัฐอนุญาตนำเข้าไม่เกิน 100,000 คน
ส่วนคนไข้จากตะวันออกกลาง ตอนนี้ที่นั่นก็ระบาดหนัก ถ้าพึ่งตลาดเดียวก็จะเหนื่อย
ตอนนี้ CLMV มีโอกาสเข้ามาก่อน ส่วนกลุ่มสีแดง รวม Middle East ถ้าอนุญาตก็สามารถเข้ามาได้
3. ผู้ถือหุ้นสอบถามเรื่องการตัดค่าเสื่อม ได้คำตอบว่า
อาคาร ตัด 30 ปี , งานระบบ อุปกรณ์การแพทย์ ตัด 10 ปี
4.รายได้อื่นๆ เช่น ค่าเช่า มาจากให้เช่าพื้นที่ใน รพ เช่น ร้านกาแฟ ซึ่งเก็บค่าเช่าได้
รพ ใหม่ ก็จะมีร้านค้าตาม WMC
5.TFRS16 จะกระทบต่องบมากแค่ไหนในเรื่องสัญญาเช่า
ส่วนใหญ่ รพ เราสร้างบนพื้นที่ตัวเองยกเว้น ที่จอดรถ ซึ่งเช่าระยะยาว 30 ปี
แต่มีผลกระทบไม่เยอะ เราเลยมีการbookในส่วนหนี้สินมากขึ้น
6. ปีที่แล้วรายรับจาก สปสช เราจะตั้งตามรายรับจริง ซึ่งประกันสังคมถ้ามีเงินเหลือ
ก็ไปสำรวจและคืนมาภายหลัง ส่วนปีนี้ได้ปรับขึ้นอีก 7.25%
7.Break even ของสาขาเปิดใหม่ ขึ้นกับกลุ่มลูกค้า
ถ้าเป็นลูกค้าเงินสด ก็ไม่เกิน 6 เดือน เช่นที่ Inter อรัญประเทศ
8. โครงการใหม่ สปก ลาว เรามีเงินกู้ทั้ง บาท กีบ และ $ เพื่อไม่ให้กระทบกับความผันผวนของ
อัตราแลกเปลี่ยน เช่น ถ้าซื้อของจากvendorไทย เราก็กู้เงินบาท
ผู้ถือหุ้นและมอบฉันทะ รวม 1,249 คน คิดเป็น 65.29% ของหุ้นทั้งหมด
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินงานของบริษัทในปี 2562
บริษัทก่อตั้งปี 2536 และเข้าตลท เมื่อปี 2547 มีทุนชำระ 2,493.75 ลบ
กลุ่มบริษัทประกอบด้วย รพ 13 แห่ง และ โพลีคลินิก 1 แห่ง
รพ แห่งใหม่ Inter อรัญประเทศพึ่งเปิดเมื่อ 11 พค 2563
รพ เกษมราษฎร์ อินเตอร์ ซึ่งลูกค้าจ่ายเองหมด จะพิจารณาว่าเปิด 1 กค หรือไม่
ส่วนที่ ปราจีนบุรี คาดว่าจะเปิดในวันที่ 1 มค 2564 โดยก่อสร้างเสร็จในเดือน ตค
และยื่นขออนุญาตในเดือน พย 63 กลุ่มเป้าหมาย คนชั้นกลางจากปอยเปต กัมพูชา และ
ผู้ประกันตนที่ฉะเชิงเทรากว่าแสนคนที่ใช้โควตาร่วมกับ KH ฉะเชิงเทรา
ส่วนที่เวียงจันทน์ Phaseแรก 110 เตียง ส่วนcapex ชะลอไปก่อน
รายได้
Q1-3 รายได้ยังโตปกติ พอถึง Q4 รายได้ประกันสังคมแบบเหมาจ่าย
เก็บจริงได้ 7,100 บาทต่อคนจาก 12,800 บาท
ซึ่งถ้าประกันสังคมมีงบเหลือ ก็จะมาให้ภายหลัง ทำให้รายได้Growth ทั้งปี 9.9% คิดเป็น 8,900 ลบ
แยกเป็น KH เติบโต 10.1% , WMC เติบโต 11.5% และ รพ การุณเวช เติบโต 4.9%
แยกเป็น ผู้ป่วยนอก เติบโต 9.7% , 5ปี CAGR = 5.9%
ผู้ป่วยใน เติบโต 14.9% ,CAGR 5ปี = 8.5%
ผู้ประกันตน เติบโต 5.8% ,CAGR 5ปี = 6%
รายได้แยก ตามself-pay Patients
Self-pay ลดลง 24% เหลือสัดส่วน 25% แสดงว่าคนเริ่มทำประกันสุขภาพเพิ่มขึ้น
จนทำให้การเติบโตของ Private Insurance 16% คิดเป็นสัดส่วน 29.8%
Corporate contact เติบโต 69.6% เป็นสัดส่วน 30.9%
Others เติบโต 17.2% คิดเป็นสัดส่วน 14.3%
รายได้ แบ่งตาม department of self-pay Patients
เงินสดIPD เติบโต 14.9%, OPD เติบโต 9.7%
ส่วนรายได้ประกันสังคมในปี63 ระบบเหมาจ่ายจะให้ขั้นต่ำ 12,000 บาทต่อคน
ทำให้ระบบบันทึกบัญชีไม่สวิงมากแล้ว
งบการเงินรวม
Asset เติบโต 11.8% = 14,115 MB
Liability เติบโต 14.6% = 7,137 MB
Equity เติบโต 9.1% = 6,978 MB
Revenue เติบโต 9.9% = 8,996 MB
กำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัท เติบโต 4.2% = 1,134 ลบ ,กำไรต่อหุ้น 0.46 บาท
งบกระแสเงินสด
จากการดำเนินงาน 1,902.4 MB
จากกิจกรรมการลงทุน (1,729.2 MB)
จากจัดหาเงิน (26.5 MB)
ยุทธศาสตร์บริการเพิ่มเติมในช่วง Covid ใน Q2
1.การตรวจCovid โดย 13 Mar เริ่มตรวจแบบ Drive Throuh ค่าบริการเริ่มแรก 6,500 บาท ต่อมาคิด 5,000บาท
2.ห้องปฏิบัติการ ส่งผลกลับใน24ชม (Real Time-PCR)
3.In-patient Ward&Treatment Service
- Cohort Ward
- Isolation Ward
- Negative pressure room
รพ เอกชน ใน กท และ ปริมณฑล ดูแลcovid คิดเป็น 43% ของระบบ และรัฐsupportหน้าการอนามัยให้ฟรี
4.Collaboration with Hotels หลังcovidคลี่คลาย รัฐเริ่มถอนตัว
แต่ก็ยังมีการทำ state quarantine โดย รพ ร่วมกับ รร ทำstate quarantine โดยรัฐออกค่า รร และ แพทย์ให้
ตอนนี้เราตรวจCovidมากกว่า 120,000 คน โดยสามารถเก็บค่าLab 2,500 บาทต่อคน ส่วนชุด เบิกตามจริง
Q&A
1.สัดส่วนBOI ที่สามารถคิดcredit ภาษีมีเท่าไหร่
ปี62 กำไรมาจาก Non BOI ส่วนปีนี้ เราจะมีกำไรจากแม่สาย ส่วน KH inter ยังไม่มีกำไร
2. ศูนย์มะเร็ง เราทำศูนย์โดยใช้พื้นที่ไม่เยอะ เราต้องมีเพราะคนประกันตนในรพ จะครบล้านคนในปีหน้า
ทำให้ต้องลงทุน จะได้ไม่ต้องส่งต่อ
ศูนย์ IVF ตลาดใหญ่อยู่ที่จีน แต่รายได้ต่างชาติคิดเป็น 5.7% เท่านั้น เราพร้อมแล้ว แต่คนไข้ยังมาน้อย
เพราะรัฐอนุญาตนำเข้าไม่เกิน 100,000 คน
ส่วนคนไข้จากตะวันออกกลาง ตอนนี้ที่นั่นก็ระบาดหนัก ถ้าพึ่งตลาดเดียวก็จะเหนื่อย
ตอนนี้ CLMV มีโอกาสเข้ามาก่อน ส่วนกลุ่มสีแดง รวม Middle East ถ้าอนุญาตก็สามารถเข้ามาได้
3. ผู้ถือหุ้นสอบถามเรื่องการตัดค่าเสื่อม ได้คำตอบว่า
อาคาร ตัด 30 ปี , งานระบบ อุปกรณ์การแพทย์ ตัด 10 ปี
4.รายได้อื่นๆ เช่น ค่าเช่า มาจากให้เช่าพื้นที่ใน รพ เช่น ร้านกาแฟ ซึ่งเก็บค่าเช่าได้
รพ ใหม่ ก็จะมีร้านค้าตาม WMC
5.TFRS16 จะกระทบต่องบมากแค่ไหนในเรื่องสัญญาเช่า
ส่วนใหญ่ รพ เราสร้างบนพื้นที่ตัวเองยกเว้น ที่จอดรถ ซึ่งเช่าระยะยาว 30 ปี
แต่มีผลกระทบไม่เยอะ เราเลยมีการbookในส่วนหนี้สินมากขึ้น
6. ปีที่แล้วรายรับจาก สปสช เราจะตั้งตามรายรับจริง ซึ่งประกันสังคมถ้ามีเงินเหลือ
ก็ไปสำรวจและคืนมาภายหลัง ส่วนปีนี้ได้ปรับขึ้นอีก 7.25%
7.Break even ของสาขาเปิดใหม่ ขึ้นกับกลุ่มลูกค้า
ถ้าเป็นลูกค้าเงินสด ก็ไม่เกิน 6 เดือน เช่นที่ Inter อรัญประเทศ
8. โครงการใหม่ สปก ลาว เรามีเงินกู้ทั้ง บาท กีบ และ $ เพื่อไม่ให้กระทบกับความผันผวนของ
อัตราแลกเปลี่ยน เช่น ถ้าซื้อของจากvendorไทย เราก็กู้เงินบาท
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 28
AGM MINT 19 June 2020 13.00
ผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเอง 101 ราย
มอบฉันทะ 1,121 ราย
รวม 1,222 ราย
คิดเป็น 67.789% หรือ 3,131,197,385 หุ้น
วาระที่1 Company performance
Minor Hotels รวม NH Hotel ใช้กลยุทธ์หมุนเวียนสินทรัพย์
Minor Food เข้าลงทุนเพื่อดำเนินธุรกิจร้านอาหารภายใต้แบรนด์บอนชอนในไทย
Minor Lifestyle มีแบรนด์เป็นของตัวเองเป็นครั้งแรกคือ แบรนด์ สโกมาดิ
เกี่ยวสกู๊ตเตอร์คลาสสิกจากสหราชอาณาจักร
ย้ายสนญมาอยู่ที่ อาคารเดอะปาร์ค รัชดาภิเษก
รับทราบผลการดำเนินงาน
สินทรัพย์ลดลง เหลือ 254,184ลบ จาก ที่ดิน อาคาร ที่ลดลง รวมถึง สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนลดลง
หนี้สินลดลง เหลือ 168,316 ลบ จาก ชำระคืนเงินกู้ยืม และ ลดลงจากการแปลงค่าเงิน
ส่วนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 85,868 ลบ เนื่องจากกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น
กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เป็น 10,698 ลบ โต23% ซึ่งโตช้ากว่ารายได้ เพราะ มีต้นทุนการเงินที่กู้มาซื้อ NH Hotel.
การแปลงค่าเงิน รวมถึง โครงสร้างการทำกำไรที่เปลี่ยนแปลง ของ NH Hotel ซึ่งมีโครงสร้างการทำกำไรที่ต่ำกว่า
โรงแรมส่วนใหญ่เป็นการเช่าซื้อ
หนี้สินที่มีดอกเบี้ย/ส่วนผู้ถือหุ้น =1.31 เท่า ลดลงเพราะชำระเงินกู้ยืม ขายทรัพย์สิน และ ส่วนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น
Q&A
1.การจัดการเงินสดตั้งแต่ ไตรมาสสองไปถึงต้นปีหน้า หลังมี Covid-19
บริษัททยอยเปิดโรงแรม เน้น Domestic travel ก่อน เพราะคนในประเทศไปต่างประเทศไม่ได้ ก็ไปเที่ยวในประเทศแทน
โรงแรมใน EU ฐานลูกค้าเดิม 60% เป็น domestic demand เราจะได้ประโยชน์ตรงนั้น
รัฐบาลทาง EU เริ่มเปิดน่านฟ้า มากกว่า 70-75% เป็น European demand
เรามีสภาพคล่องเงินสด 20,000 ลบ และมีแผนเพิ่มทุนอีก 10,000 ลบ
ถ้าไวรัสยืดเย้อถึงไตรมาสสาม เราก็ยังรองรับได้
2.Fix cost : Variable cost = 50:50
ในช่วงCovid-19 เราลดต้นทุนมากกว่า 25-30% ของปีที่แล้ว
ทำให้ลดFix cost ค่อนข้างดี ต้นทุนผันแปรก็ลดลง
ช่วยprotect profit และ กระแสเงินสด
-3.Q1 ขาดทุนเกือบสองพันล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งมาจาก Covid-19 อีกส่วนนั้น
มาจาก EU ปกติขาดทุนในQ1 แต่ก่อนหน้ามีรายได้จากส่วนอื่นมา ทำให้ไม่ขาดทุน
Q2 มี Lock down เมษาและ พค โดนกระทบperformanceพอสมควร
ช่วงปลาย พค และ มิย เราน่าจะดีขึ้น รวมถึง Q3 , Q4
4. ช่วงนี้ชะลอการทำ M&A เพื่อรักษาสภาพคล่อง
5. Capex ปีนี้เป้า 17,000-20,000 ลบ เราลดเหลือ 10,000 ลบ ซึ่งจ่ายไปแล้วในช่วงต้นปี
เช่น ซื้อบอนชอง
วาระที่2
คุณหญิงชฎา ประธานกรรมการตรวจสอบ ได้อัปเดทว่าได้มีการประชุม 4 ครั้ง มีการประเมิน
1.รายงานการเงินปีที่แล้ว ถูกต้อง ครบถ้วน ระบบการควบคุมภายในเหมาะสม
2.บริษัทปฏิบัติตามกฏของตลาดหลักทรัพย์
3.มีการควบคุมภายใน สินทรัพย์ของบริษัทได้รับการป้องกัน บันทึกบัญชีเหมาะสม
4.ตรวจสอบภายในถูกต้อง
5.PVC ปฏิบัติหน้าที่อย่างเหมาะสม
คุณหญิงชฏา มีอายุครบ 75 ปี ตามกฏของ ตลท ไม่สามารถเป็นกรรมการได้
ดังนั้น จึงลาออกจากการเป็นกรรมการ และคุณสุวภา เจริญยิ่ง ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบแทน
Q&A
1. เงินกู้ 6,400 ลบ เรามีเงินสด 20,000 ลบ รองรับ ไม่น่ากังวล
2. ผู้ตรวจสอบบัญชี ได้ตรวจสอบงบการเงิน งบกระแสเงินสด โดยการใช้สมมติฐาน
กระแสเงินสดในอนาคต อัตราการคิดลด ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
และ เครื่องหมายการค้า ไม่มีการตัดจำหน่าย ถ้าไม่ด้อยค่า ก็จะเท่าเดิม
3. อ้างอิงจากหนังสือรายงานประจำปี ตรงตารางอัตรากำไรสุทธิใน EU เทียบกับ โอเชียเนียทำไมต่างกันทั้งที่
รายได้ใกล้เคียงกัน ตอบวา โครงสร้างธุรกิจของEU ต่างกับเรา โดยมี Leasehold สูง อัตรากำไรจะไม่สูงเหมืองฝั่งเรา
วาระที่ 7 ได้มีการอนุมัติเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเอง 101 ราย
มอบฉันทะ 1,121 ราย
รวม 1,222 ราย
คิดเป็น 67.789% หรือ 3,131,197,385 หุ้น
วาระที่1 Company performance
Minor Hotels รวม NH Hotel ใช้กลยุทธ์หมุนเวียนสินทรัพย์
Minor Food เข้าลงทุนเพื่อดำเนินธุรกิจร้านอาหารภายใต้แบรนด์บอนชอนในไทย
Minor Lifestyle มีแบรนด์เป็นของตัวเองเป็นครั้งแรกคือ แบรนด์ สโกมาดิ
เกี่ยวสกู๊ตเตอร์คลาสสิกจากสหราชอาณาจักร
ย้ายสนญมาอยู่ที่ อาคารเดอะปาร์ค รัชดาภิเษก
รับทราบผลการดำเนินงาน
สินทรัพย์ลดลง เหลือ 254,184ลบ จาก ที่ดิน อาคาร ที่ลดลง รวมถึง สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนลดลง
หนี้สินลดลง เหลือ 168,316 ลบ จาก ชำระคืนเงินกู้ยืม และ ลดลงจากการแปลงค่าเงิน
ส่วนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 85,868 ลบ เนื่องจากกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น
กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เป็น 10,698 ลบ โต23% ซึ่งโตช้ากว่ารายได้ เพราะ มีต้นทุนการเงินที่กู้มาซื้อ NH Hotel.
การแปลงค่าเงิน รวมถึง โครงสร้างการทำกำไรที่เปลี่ยนแปลง ของ NH Hotel ซึ่งมีโครงสร้างการทำกำไรที่ต่ำกว่า
โรงแรมส่วนใหญ่เป็นการเช่าซื้อ
หนี้สินที่มีดอกเบี้ย/ส่วนผู้ถือหุ้น =1.31 เท่า ลดลงเพราะชำระเงินกู้ยืม ขายทรัพย์สิน และ ส่วนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น
Q&A
1.การจัดการเงินสดตั้งแต่ ไตรมาสสองไปถึงต้นปีหน้า หลังมี Covid-19
บริษัททยอยเปิดโรงแรม เน้น Domestic travel ก่อน เพราะคนในประเทศไปต่างประเทศไม่ได้ ก็ไปเที่ยวในประเทศแทน
โรงแรมใน EU ฐานลูกค้าเดิม 60% เป็น domestic demand เราจะได้ประโยชน์ตรงนั้น
รัฐบาลทาง EU เริ่มเปิดน่านฟ้า มากกว่า 70-75% เป็น European demand
เรามีสภาพคล่องเงินสด 20,000 ลบ และมีแผนเพิ่มทุนอีก 10,000 ลบ
ถ้าไวรัสยืดเย้อถึงไตรมาสสาม เราก็ยังรองรับได้
2.Fix cost : Variable cost = 50:50
ในช่วงCovid-19 เราลดต้นทุนมากกว่า 25-30% ของปีที่แล้ว
ทำให้ลดFix cost ค่อนข้างดี ต้นทุนผันแปรก็ลดลง
ช่วยprotect profit และ กระแสเงินสด
-3.Q1 ขาดทุนเกือบสองพันล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งมาจาก Covid-19 อีกส่วนนั้น
มาจาก EU ปกติขาดทุนในQ1 แต่ก่อนหน้ามีรายได้จากส่วนอื่นมา ทำให้ไม่ขาดทุน
Q2 มี Lock down เมษาและ พค โดนกระทบperformanceพอสมควร
ช่วงปลาย พค และ มิย เราน่าจะดีขึ้น รวมถึง Q3 , Q4
4. ช่วงนี้ชะลอการทำ M&A เพื่อรักษาสภาพคล่อง
5. Capex ปีนี้เป้า 17,000-20,000 ลบ เราลดเหลือ 10,000 ลบ ซึ่งจ่ายไปแล้วในช่วงต้นปี
เช่น ซื้อบอนชอง
วาระที่2
คุณหญิงชฎา ประธานกรรมการตรวจสอบ ได้อัปเดทว่าได้มีการประชุม 4 ครั้ง มีการประเมิน
1.รายงานการเงินปีที่แล้ว ถูกต้อง ครบถ้วน ระบบการควบคุมภายในเหมาะสม
2.บริษัทปฏิบัติตามกฏของตลาดหลักทรัพย์
3.มีการควบคุมภายใน สินทรัพย์ของบริษัทได้รับการป้องกัน บันทึกบัญชีเหมาะสม
4.ตรวจสอบภายในถูกต้อง
5.PVC ปฏิบัติหน้าที่อย่างเหมาะสม
คุณหญิงชฏา มีอายุครบ 75 ปี ตามกฏของ ตลท ไม่สามารถเป็นกรรมการได้
ดังนั้น จึงลาออกจากการเป็นกรรมการ และคุณสุวภา เจริญยิ่ง ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบแทน
Q&A
1. เงินกู้ 6,400 ลบ เรามีเงินสด 20,000 ลบ รองรับ ไม่น่ากังวล
2. ผู้ตรวจสอบบัญชี ได้ตรวจสอบงบการเงิน งบกระแสเงินสด โดยการใช้สมมติฐาน
กระแสเงินสดในอนาคต อัตราการคิดลด ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
และ เครื่องหมายการค้า ไม่มีการตัดจำหน่าย ถ้าไม่ด้อยค่า ก็จะเท่าเดิม
3. อ้างอิงจากหนังสือรายงานประจำปี ตรงตารางอัตรากำไรสุทธิใน EU เทียบกับ โอเชียเนียทำไมต่างกันทั้งที่
รายได้ใกล้เคียงกัน ตอบวา โครงสร้างธุรกิจของEU ต่างกับเรา โดยมี Leasehold สูง อัตรากำไรจะไม่สูงเหมืองฝั่งเรา
วาระที่ 7 ได้มีการอนุมัติเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้น
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 649
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 29
SINGER AGM 2020
26/06/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 120ราย มาด้วยตนเอง 33ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 52%
+ คุณอดิศักดิ์ขออภัยที่ต้องมาประชุมที่ ตึกเจมาร์ท แทนตึกกสท เพราะทางตึกไม่อยากให้ประชุมคนเยอะๆ
+ ประชุมครั้งนี้มีใช้ AGM Voting เป็นบริษัทที่ 4ใน เครือ มีลงทะเบียนออนไลน์ 12ราย
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญเมื่อ 26/04/2019
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงานปี 62
+ ซิงเกอร์ตั้งมาร้อยกว่าปี เริ่มจากจักรเย็บผ้า และเริ่มผ่อนจักรเย็บผ้า ตอนนั้นยังไม่มีเครื่องใช้ไฟฟ้า
+ 2015 jmartเข้าซื้อหุ้น และเริ่มปรับเปลี่ยนระบบ การปล่อยสินเชื่อให้หลังบ้านอนุมัติ ให้สเตทเม้นที่บ้านลูกค้าครั้งแรก
+ เมื่อ3ปีที่แล้ว ใช้งบ100ล้านขึ้นระบบออราเคิลขึ้น คนขายสะดวกขึ้น ควบคุมเงินได้ดีขึ้น
+ 2019 เพิ่มทุน 270ล้านหุ้น เป็น 401ล้านหุ้น และมี w1 w2 อีกอย่างละ 66ล้านหุ้น
+ กำไร 166ล้าน
+ รายได้ขายลดลง เพราะลดการขายสินค้าที่ nplสูง แต่ปรับสินค้าที่มีมาจิ้นดีขึ้น เช่น แอร์อินเวอเตอร์
+ ดอกเบี้ยรับ +16.5% ตามพอร์ตสินเชื่อ
+ ธุรกิจเป็นไดเร็คเซล รายชื่อทีมขาย 3000ราย Active 2000ราย
+ ควบคุม sg&a / รายได้
+ npm จากหลักเดียว เป็น 11%
+ จำนวนสาขาย่อย ปิดปีร่วมพัน ตอนนี้ 1300ราย จะพยายามให้ได้ 2000ราย โควิดทำให้ทีมขายมีโอกาศมากขึ้น ทั้งแฟรนไชส์ และฟรีแลนท์
+ พอร์ตสินเชื่อ จากhp มาเป็น c4c มากขึ้น ปี2019 24% q1 เป็น 28%
+ มาตรการธปทไม่มีผล เพราะเราเก็บน้อยกว่านั้นอยู่แล้ว
+ พอร์ตรวม 3900ล้าน เป้า 5000กว่าล้าน
+ npl ปิดปี 9.4% q1 8%กว่า ทั้งปีน่าจะต่ำกว่า 7%
+ แผน c4c เพิ่ม2000ล้าน 60%เป็นฟรีต
+ เป้าพอร์ต 5600-5800ล้าน
+ ช่วงโควิด บริจากชุดกาว หน้ากาก
+ การสำรองหนี้ปี 60-61เป็นจำนวนมาก ตอบ มีการสำรองตาม tfrs9 หมดแล้ว
+ การบริหารลูกหนี้ c4c เกิน 1ปี ตอบ เริ่มปี 2017หลายรายเริ่มหมดแล้ว tfrs9ทำให้เราตัด writeoff ได้เร็วขึ้น หลังติดต่อไม่ได้ บางราย 9เดือน
+ c4c รายย่อย ตอบ หลังใด้ไลเซ่น pl เริ่มทำรถบ้าน หลายท่านเป็นลูกค้าซิงเกอร์เช่าตู้น้ำมันอยู่แล้ว ปล่อยแบบถึงบ้านลูกค้าเท่านั้น ทำให้กำกับลูกค้าได้ดีขึ้น q1 ยังไม่เห็น yield อาจจะ 17-19% จะทำให้ yieldรวม ดีขึ้น
+ เงินเพิ่มทุน w1 จะนำมาขยายc4c เป็นหลัก รวมถึงหุ้นกู้ปีนี้ที่วางไว้3ล๊อต 600ล้าน 600ล 800ล deยัง 1กว่าๆ ไปได้ถึง 3เท่า
+ c4c คู่แข่งสูง ตอบ ต้องการขยาย 2000ล้าน ปีหน้าก็ 2000ล้าน เราไม่แข่งการขยายสาขา ต้องการควบคุมคุณภาพหนี้ เน้นรถบ้าน รถการเกษตรเท่านั้น แข่งขันได้ในเซ็กเม้นที่เราอยู่
+ npl จะลดลงด้วยวิธีได ตอบ ควบคุมด้วยเทคโนโลยีมากขึ้น เช่น เซลต้องถ่ายคู่สินค้า+ลูกค้า
วาระ 3
+ รับทราบจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.10บาท 40ล้านบาท คิดเป็น 24%ของกำไร
วาระ 4
+ เลือกกรรมการที่ออกตามวาระ กลับเข้ามาใหม่
วาระ 5
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ เพิ่มจากปีที่แล้ว 10%
วาระ 6
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี kpmg ค่าตอบแทน 5.99ล้าน เพิ่มจากปีก่อน 5แสน
วาระ 7
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัทเรื่องการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
วาระ 8
+ อื่นๆ
ดูรูปได้ที่ https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 6787006334
26/06/2020 10:00
+ ผู้ร่วมประชุม 120ราย มาด้วยตนเอง 33ราย คิดเป็นจำนวนหุ้น 52%
+ คุณอดิศักดิ์ขออภัยที่ต้องมาประชุมที่ ตึกเจมาร์ท แทนตึกกสท เพราะทางตึกไม่อยากให้ประชุมคนเยอะๆ
+ ประชุมครั้งนี้มีใช้ AGM Voting เป็นบริษัทที่ 4ใน เครือ มีลงทะเบียนออนไลน์ 12ราย
วาระ 1
+ รับรองรายงานการประชุมสามัญเมื่อ 26/04/2019
วาระ 2
+ ผลการดำเนินงานปี 62
+ ซิงเกอร์ตั้งมาร้อยกว่าปี เริ่มจากจักรเย็บผ้า และเริ่มผ่อนจักรเย็บผ้า ตอนนั้นยังไม่มีเครื่องใช้ไฟฟ้า
+ 2015 jmartเข้าซื้อหุ้น และเริ่มปรับเปลี่ยนระบบ การปล่อยสินเชื่อให้หลังบ้านอนุมัติ ให้สเตทเม้นที่บ้านลูกค้าครั้งแรก
+ เมื่อ3ปีที่แล้ว ใช้งบ100ล้านขึ้นระบบออราเคิลขึ้น คนขายสะดวกขึ้น ควบคุมเงินได้ดีขึ้น
+ 2019 เพิ่มทุน 270ล้านหุ้น เป็น 401ล้านหุ้น และมี w1 w2 อีกอย่างละ 66ล้านหุ้น
+ กำไร 166ล้าน
+ รายได้ขายลดลง เพราะลดการขายสินค้าที่ nplสูง แต่ปรับสินค้าที่มีมาจิ้นดีขึ้น เช่น แอร์อินเวอเตอร์
+ ดอกเบี้ยรับ +16.5% ตามพอร์ตสินเชื่อ
+ ธุรกิจเป็นไดเร็คเซล รายชื่อทีมขาย 3000ราย Active 2000ราย
+ ควบคุม sg&a / รายได้
+ npm จากหลักเดียว เป็น 11%
+ จำนวนสาขาย่อย ปิดปีร่วมพัน ตอนนี้ 1300ราย จะพยายามให้ได้ 2000ราย โควิดทำให้ทีมขายมีโอกาศมากขึ้น ทั้งแฟรนไชส์ และฟรีแลนท์
+ พอร์ตสินเชื่อ จากhp มาเป็น c4c มากขึ้น ปี2019 24% q1 เป็น 28%
+ มาตรการธปทไม่มีผล เพราะเราเก็บน้อยกว่านั้นอยู่แล้ว
+ พอร์ตรวม 3900ล้าน เป้า 5000กว่าล้าน
+ npl ปิดปี 9.4% q1 8%กว่า ทั้งปีน่าจะต่ำกว่า 7%
+ แผน c4c เพิ่ม2000ล้าน 60%เป็นฟรีต
+ เป้าพอร์ต 5600-5800ล้าน
+ ช่วงโควิด บริจากชุดกาว หน้ากาก
+ การสำรองหนี้ปี 60-61เป็นจำนวนมาก ตอบ มีการสำรองตาม tfrs9 หมดแล้ว
+ การบริหารลูกหนี้ c4c เกิน 1ปี ตอบ เริ่มปี 2017หลายรายเริ่มหมดแล้ว tfrs9ทำให้เราตัด writeoff ได้เร็วขึ้น หลังติดต่อไม่ได้ บางราย 9เดือน
+ c4c รายย่อย ตอบ หลังใด้ไลเซ่น pl เริ่มทำรถบ้าน หลายท่านเป็นลูกค้าซิงเกอร์เช่าตู้น้ำมันอยู่แล้ว ปล่อยแบบถึงบ้านลูกค้าเท่านั้น ทำให้กำกับลูกค้าได้ดีขึ้น q1 ยังไม่เห็น yield อาจจะ 17-19% จะทำให้ yieldรวม ดีขึ้น
+ เงินเพิ่มทุน w1 จะนำมาขยายc4c เป็นหลัก รวมถึงหุ้นกู้ปีนี้ที่วางไว้3ล๊อต 600ล้าน 600ล 800ล deยัง 1กว่าๆ ไปได้ถึง 3เท่า
+ c4c คู่แข่งสูง ตอบ ต้องการขยาย 2000ล้าน ปีหน้าก็ 2000ล้าน เราไม่แข่งการขยายสาขา ต้องการควบคุมคุณภาพหนี้ เน้นรถบ้าน รถการเกษตรเท่านั้น แข่งขันได้ในเซ็กเม้นที่เราอยู่
+ npl จะลดลงด้วยวิธีได ตอบ ควบคุมด้วยเทคโนโลยีมากขึ้น เช่น เซลต้องถ่ายคู่สินค้า+ลูกค้า
วาระ 3
+ รับทราบจ่ายปันผลระหว่างกาล 0.10บาท 40ล้านบาท คิดเป็น 24%ของกำไร
วาระ 4
+ เลือกกรรมการที่ออกตามวาระ กลับเข้ามาใหม่
วาระ 5
+ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ เพิ่มจากปีที่แล้ว 10%
วาระ 6
+ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี kpmg ค่าตอบแทน 5.99ล้าน เพิ่มจากปีก่อน 5แสน
วาระ 7
+ แก้ไขข้อบังคับบริษัทเรื่องการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
วาระ 8
+ อื่นๆ
ดูรูปได้ที่ https://www.facebook.com/groups/1572171 ... 6787006334
-
- Verified User
- โพสต์: 2195
- ผู้ติดตาม: 0
Re: AGM 2563
โพสต์ที่ 30
AGM SIS 26 Jun 2020 14.00
มีผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเองเข้าประชุม 42 คน และ ผู้รับมอบฉันทะ 12 คน คิดเป็นเสียง 67.85%
มี E-meeting คือ ผู้เข้าประชุมทางonline และ สามารถโหวตผ่านonlineด้วยครับ
วาระที่1
จ่ายปันผลระหว่างกาล 0.55 บาทต่อหุ้น คิดเป็น 45.49% ของกำไรสุทธิ
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินงาน
รายได้ของบริษัทแบ่งออกได้เป็น4 กลุ่ม ซึ่งเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มยกเว้น smart phone ซึ่งสินค้าหลักคือ
ซัมซุง และ Wiko ยอดขายลดลง
รายได้ MB กำไร MB
1.สินค้าเชิงพาณิชย์ 6,221 317
2.สินค้าผู้บริโภค 8,011 325 (กำไรที่มาจากvendor ติดค้างมาจ่ายปีนี้)
3.สินค้ามูลค่าเพิ่ม 2,157 309
4.สินค้าSmartphone 2,891 120 (สินค้าไม่ค่อยถูกกับตลาด)
5.ส่วนงานอื่น 1,112 286
รวม 20,392 1,357
Q&A
1.ธุรกิจCloud Service ตอนนี้อยู่ในช่วงลงทุน คิดว่าอนาคตดี ซึ่งลูกค้าสามารถจ่ายเป็นรายเดือน เช่าใช้ได้แล้ว
มีลูกค้ากว่า 200 ราย เป็นบริษัทใหญ่ มีตั้งแต่ประกันชีวิตรายใหญ่ ,Real Estate,Chainอาหาร
ลูกค้ายังไม่เยอะ เพราะห่วงเรื่องความปลอดภัย หลังจากบริษัทพึ่งใบCertificate ISO2007
ทำให้ลูกค้ามั่นใจมากขึ้น
ช่องทางขายผ่านลูกค้า จะขายเป็นเช่าใช้ต่อเมื่อขายให้ลูกค้าไม่ได้เลยเสนอเป็นเช่าใช้
2.สินค้า Xiaomi เป็นสินค้าใหม่ พึ่งขายปลายปี หลังจากแบรนด์มาclearปัญหาเก่าให้บางส่วน
เช่น stockในร้านลูกค้าก่อนหน้า ในตลาดตอนนี้เราเข้ามาเป็นรายที่5 แต่มีรายถอนตัว เราเลย
เป็นรายที่4ที่อยู่ในตลาดตอนนี้ มีส่วนแบ่งกว่า 60% ถือเป็นรายใหญ่ ช่วยขยายตลาดให้เขา
กลุ่มsmartphone ง่ายหน่อย มีสินค้าที่ดี ช่องทางไม่วุ่นวาย ไม่ค่อยมีสินค้าจากต่างประเทศ
แต่กลุ่มEco มีขายจากประเทศจีน และส่งเข้ามาทีละชิ้น จัดการยาก ต้องออกแรงอีกเยอะ
โดยรวมก็ดี ปีนี้Q1 มีปัญหาฝุ่นพอดี รวมถึงภาคเหนือมีไฟไหม้ป่า เราขายเครื่องฟอกอากาศได้เยอะ
เป็นหมื่นเครื่อง
3.ผลกระทบจากCovid-19
3.1 ภาพใหญ่ ศก ถดถอย คิดว่าน่าจะติดลบ 20%GDP ดังนั้นธปท ประกาศเกิน -10% ก็ไม่แปลกใจ
ดังนั้นสินค้าน่าจะขายลดลง หลายอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าใหญ่ของเรา เช่น โรงแรม ซึ่งใช้ IT,Wifi เยอะมาก
หลายโครงการขายไปแล้วยังเก็บเงินไม่ได้ ที่สั่งมาแล้ว ก็ไปขายคนอื่น
การบินไทย มีหนี้ตรงเรื่องการดูแล maintenance ซึ่งเราทำมา10ปี ตอนนี้หยุดจ่ายแต่เรายังบริการให้อยู่
เราติดตามตัวเลข Q1 ดีขึ้น และ Q2 ก็ยังokอยู่ เลยเดายาก มองQ3 ให้ทีมงานสอบถามลูกค้า ก็ยังไม่เห็นมีอะไร
มากระทบเราเยอะ คิดว่ายังไปได้อยู่
โดยสรุป องค์กรก็ยังใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาอยู่ดี แต่ต้องปรับบ้าง ซื้อสินค้าที่ถูกลง
3.2 โครงการใช้ Cloud service ช่วงนี้ก็ติดต่อมาหาเราเยอะขึ้น ตอนแรกคิดว่า สิ้นปีนี้น่าจะกำไร
พอดีเจอcovid ก็ชักไม่แน่ใจ แต่ก็เป็นโอกาสที่ดี ตอนนี้ทำแค่สองเรื่องก่อน แต่ก็ยังพิจารณาความต้องการที่เพิ่มเข้ามาอยู่
ลูกค้าได้ประโยชน์ โดย จ่ายไปรายเดือนในการเช่าใช้ Cloud service ไม่ต้องซื้อHardware
เราดีกว่าต่างประเทศ เพราะมีbandwidthทีดีกว่า บริการดีกว่า เรามีcall center พูดไทย ตปทไม่มีcall center
เราใช้ฐานลูกค้า 5,000-6,000 รายที่จะไปเสนอsolution นี้
วาระที่3 อนุมัติงบการเงินปี2562
สินทรัพย์ เงินกู้ 1,751 ลบ เมื่อต้นปี ปลายปีเพิ่มเป็น 2,166 ลบ เรากู้ธนาคารมา
ส่วนเจ้าหนี้ เพิ่มจาก 2,1xx เป็น 2,447 ลบ
Equity เพิ่มจาก 2,176 เป็น 2,400 ลบ
สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น จากprojectที่ต้องสั่งสินค้ามารอ และclearได้ในตอน Q1 2020
Q&A
1.ตอนห้างปิด ลูกค้าเราส่วนใหญ่อยู่ในห้าง ไม่สามารถขายได้ บางส่วนก็ไปรับสินค้ากลับ
บางรายไม่ติดต่อกลับมา หลังเปิดห้างได้ ลูกค้าก็เริ่มทยอยคืนหนี้เราแล้ว
แต่ลูกค้าที่ขายให้โรงแรม ก็คุยกันว่าจะจ่ายคืนเราได้อย่างไร
มีผู้ถือหุ้นมาด้วยตนเองเข้าประชุม 42 คน และ ผู้รับมอบฉันทะ 12 คน คิดเป็นเสียง 67.85%
มี E-meeting คือ ผู้เข้าประชุมทางonline และ สามารถโหวตผ่านonlineด้วยครับ
วาระที่1
จ่ายปันผลระหว่างกาล 0.55 บาทต่อหุ้น คิดเป็น 45.49% ของกำไรสุทธิ
วาระที่2 รับทราบผลการดำเนินงาน
รายได้ของบริษัทแบ่งออกได้เป็น4 กลุ่ม ซึ่งเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มยกเว้น smart phone ซึ่งสินค้าหลักคือ
ซัมซุง และ Wiko ยอดขายลดลง
รายได้ MB กำไร MB
1.สินค้าเชิงพาณิชย์ 6,221 317
2.สินค้าผู้บริโภค 8,011 325 (กำไรที่มาจากvendor ติดค้างมาจ่ายปีนี้)
3.สินค้ามูลค่าเพิ่ม 2,157 309
4.สินค้าSmartphone 2,891 120 (สินค้าไม่ค่อยถูกกับตลาด)
5.ส่วนงานอื่น 1,112 286
รวม 20,392 1,357
Q&A
1.ธุรกิจCloud Service ตอนนี้อยู่ในช่วงลงทุน คิดว่าอนาคตดี ซึ่งลูกค้าสามารถจ่ายเป็นรายเดือน เช่าใช้ได้แล้ว
มีลูกค้ากว่า 200 ราย เป็นบริษัทใหญ่ มีตั้งแต่ประกันชีวิตรายใหญ่ ,Real Estate,Chainอาหาร
ลูกค้ายังไม่เยอะ เพราะห่วงเรื่องความปลอดภัย หลังจากบริษัทพึ่งใบCertificate ISO2007
ทำให้ลูกค้ามั่นใจมากขึ้น
ช่องทางขายผ่านลูกค้า จะขายเป็นเช่าใช้ต่อเมื่อขายให้ลูกค้าไม่ได้เลยเสนอเป็นเช่าใช้
2.สินค้า Xiaomi เป็นสินค้าใหม่ พึ่งขายปลายปี หลังจากแบรนด์มาclearปัญหาเก่าให้บางส่วน
เช่น stockในร้านลูกค้าก่อนหน้า ในตลาดตอนนี้เราเข้ามาเป็นรายที่5 แต่มีรายถอนตัว เราเลย
เป็นรายที่4ที่อยู่ในตลาดตอนนี้ มีส่วนแบ่งกว่า 60% ถือเป็นรายใหญ่ ช่วยขยายตลาดให้เขา
กลุ่มsmartphone ง่ายหน่อย มีสินค้าที่ดี ช่องทางไม่วุ่นวาย ไม่ค่อยมีสินค้าจากต่างประเทศ
แต่กลุ่มEco มีขายจากประเทศจีน และส่งเข้ามาทีละชิ้น จัดการยาก ต้องออกแรงอีกเยอะ
โดยรวมก็ดี ปีนี้Q1 มีปัญหาฝุ่นพอดี รวมถึงภาคเหนือมีไฟไหม้ป่า เราขายเครื่องฟอกอากาศได้เยอะ
เป็นหมื่นเครื่อง
3.ผลกระทบจากCovid-19
3.1 ภาพใหญ่ ศก ถดถอย คิดว่าน่าจะติดลบ 20%GDP ดังนั้นธปท ประกาศเกิน -10% ก็ไม่แปลกใจ
ดังนั้นสินค้าน่าจะขายลดลง หลายอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าใหญ่ของเรา เช่น โรงแรม ซึ่งใช้ IT,Wifi เยอะมาก
หลายโครงการขายไปแล้วยังเก็บเงินไม่ได้ ที่สั่งมาแล้ว ก็ไปขายคนอื่น
การบินไทย มีหนี้ตรงเรื่องการดูแล maintenance ซึ่งเราทำมา10ปี ตอนนี้หยุดจ่ายแต่เรายังบริการให้อยู่
เราติดตามตัวเลข Q1 ดีขึ้น และ Q2 ก็ยังokอยู่ เลยเดายาก มองQ3 ให้ทีมงานสอบถามลูกค้า ก็ยังไม่เห็นมีอะไร
มากระทบเราเยอะ คิดว่ายังไปได้อยู่
โดยสรุป องค์กรก็ยังใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาอยู่ดี แต่ต้องปรับบ้าง ซื้อสินค้าที่ถูกลง
3.2 โครงการใช้ Cloud service ช่วงนี้ก็ติดต่อมาหาเราเยอะขึ้น ตอนแรกคิดว่า สิ้นปีนี้น่าจะกำไร
พอดีเจอcovid ก็ชักไม่แน่ใจ แต่ก็เป็นโอกาสที่ดี ตอนนี้ทำแค่สองเรื่องก่อน แต่ก็ยังพิจารณาความต้องการที่เพิ่มเข้ามาอยู่
ลูกค้าได้ประโยชน์ โดย จ่ายไปรายเดือนในการเช่าใช้ Cloud service ไม่ต้องซื้อHardware
เราดีกว่าต่างประเทศ เพราะมีbandwidthทีดีกว่า บริการดีกว่า เรามีcall center พูดไทย ตปทไม่มีcall center
เราใช้ฐานลูกค้า 5,000-6,000 รายที่จะไปเสนอsolution นี้
วาระที่3 อนุมัติงบการเงินปี2562
สินทรัพย์ เงินกู้ 1,751 ลบ เมื่อต้นปี ปลายปีเพิ่มเป็น 2,166 ลบ เรากู้ธนาคารมา
ส่วนเจ้าหนี้ เพิ่มจาก 2,1xx เป็น 2,447 ลบ
Equity เพิ่มจาก 2,176 เป็น 2,400 ลบ
สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น จากprojectที่ต้องสั่งสินค้ามารอ และclearได้ในตอน Q1 2020
Q&A
1.ตอนห้างปิด ลูกค้าเราส่วนใหญ่อยู่ในห้าง ไม่สามารถขายได้ บางส่วนก็ไปรับสินค้ากลับ
บางรายไม่ติดต่อกลับมา หลังเปิดห้างได้ ลูกค้าก็เริ่มทยอยคืนหนี้เราแล้ว
แต่ลูกค้าที่ขายให้โรงแรม ก็คุยกันว่าจะจ่ายคืนเราได้อย่างไร