กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
-
- Verified User
- โพสต์: 172
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 181
มือใหม่นะครับตอนนี้กำลังศึกษาการดูงบการเงินอยู่ครับมีคำถามดังนี้ครับ
1.กรณีการดูงบกระแสเงินสดนี่ระหว่างบริษัทที่เงินสดสุทธิติดลบนี่ถ้าเทียบในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทที่มีค่าบวก
แสดงว่าบริษัทที่มีค่าบวกนี่ควรจะดีกว่าใช่ไหมครับ(ดูจากข้อสรุปสนเทศของบริษัท)
2.ในกรณีที่เงินสดสุทธิจากกิจกรรมหาเงินเป็นลบแต่ต้องกู้มาจ่ายปันผลนี่แสดงว่าบริษัทเริ่มไม่ดีแล้วใช่ไหมครับ
3.เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวดหมายถึงเงินสดที่บริษัทมีในมือล่าสุดใช่ไหมครับควรมีค่าเป็นบวกใช่ไหมครับ(ผมคิดว่างั้น)
4.เงินสดควรจะมีสัดส่วนเป็นอย่างไรถ้าเทียบกับหนี้สิน(จะเทียบกับหนี้อะไรระหว่างหนี้สินหมุุนเวียนกับไม่หมุนเวียน)ถึงจะดี
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
1.กรณีการดูงบกระแสเงินสดนี่ระหว่างบริษัทที่เงินสดสุทธิติดลบนี่ถ้าเทียบในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทที่มีค่าบวก
แสดงว่าบริษัทที่มีค่าบวกนี่ควรจะดีกว่าใช่ไหมครับ(ดูจากข้อสรุปสนเทศของบริษัท)
2.ในกรณีที่เงินสดสุทธิจากกิจกรรมหาเงินเป็นลบแต่ต้องกู้มาจ่ายปันผลนี่แสดงว่าบริษัทเริ่มไม่ดีแล้วใช่ไหมครับ
3.เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวดหมายถึงเงินสดที่บริษัทมีในมือล่าสุดใช่ไหมครับควรมีค่าเป็นบวกใช่ไหมครับ(ผมคิดว่างั้น)
4.เงินสดควรจะมีสัดส่วนเป็นอย่างไรถ้าเทียบกับหนี้สิน(จะเทียบกับหนี้อะไรระหว่างหนี้สินหมุุนเวียนกับไม่หมุนเวียน)ถึงจะดี
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 182
[quote="jverakul"]ขอบคุณครับอาจารย์ parpon
สงสัยผมตั้งคำถามผิด ทำให้อาจารย์เข้าใจคลาดเคลื่อนครับ
ที่ผมจะถามคือ Mr.john ไปเทคโอเวอร์ บมจ. ลิเวอร์พูล ที่มูลค่าประมาณ600 ล้านปอนด์ จนสำเร็จ ซึ่งเงินจำนวนนี้ Mr.john กู้ยืมจากธนาคาร ไปๆมาๆ หนี้จำนวนนี้ก็กลายมาเป็นหนี้ บมจ.ลิเวอร์พูล ผมเลยสงสัยว่าเขามีวิธีการอย่างไรที่จะโอนหนี้ของตัวเองให้เป็นหนี้ของบริษัทที่่ตัวเองเทคโอเวอร์ เพราะที่ติดตามข่าวดู ในตปท.จะเป็นแบบนี้เยอะมาก[/quote]
ลองใหม่อีกที เข้าไปนั่งอ่านเรื่องหนี้สินของสโมสรฟุตบอล ไม่มีตรงไหนเลยที่บอกว่าเจ้าของได้โอนหนี้ไปให้สโมสรตรงๆ แต่ในทางอ้อมคือ เมื่อเจ้าของเข้าถือหุ้นบริษัทจนสามารถควบคุมบริษัทได้ เจ้าของก็จะสั่งให้บริษัทกู้ยืมเงิน (กรณีแมนยูมีการออกหุ้นกู้โดยเอาสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกัน แถมเงินกู้ส่วนตัวของ Glazers ก็มีสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกันด้วย) เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้นำไปใช้ทำอะไรเขาไม่ได้บอก แต่ถ้าจะให้เดาก็คือ แมนยูต้องจ่ายเงินกลับไปให้กับ Glazers ในลักษณะค่าใช้จ่ายหรือเงินปันผลหรือซื้อสินทรัพย์จาก Glazers (อาจจะทำทุกข้อข้างต้น) ทำให้เงินไหลออกจากบริษัทไปที่ Glazers ส่วน Glazers ก็นำเงินนั้นไปจ่ายหนี้สินของตัวเอง เท่านั้นหนี้สินของ Glazers ก็จะกลายเป็นหนี้สินของสโมสร ในกรณีของแมนยู Glazers เข้าถือหุ้นจนบริษัทต้องออกจากตลาดเพราะ Glazers ถือหุ้นคนเดียวเกือบ 100% หรือ 100% ดังนั้น การจะกำหนดให้สโมสรจ่ายเงินให้ตัวเองจึงทำได้ในเกือบทุกลักษณะ
ที่พูดมาก็เป็นเรื่องเดา เพราะไม่มีใครเขายอมเปิดเผยว่าเขาทำอย่างไรกันจริงๆ แต่ในทางบัญชี มีทางเป็นไปได้ไม่กี่รูปแบบคือ 1. เงินสดต้องไหลออกจากบริษัทไปหาผู้ถือหุ้น 2. บริษัทต้องเดบิตรายการอะไรสักอย่าง หรือทุกอย่างต่อไปนี้ 2.1 ค่าใช้จ่าย เช่น เงินเดือนผู้บริหารที่จ่ายให้ Glazers ค่าบริหาร ค่าสิทธิบัตร ค่าอะไรต่อมิอะไร ฯลฯ 2.2 สินทรัพย์ เช่น ที่ดิน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้ ฯลฯ ในกรณีของลูกหนี้ ถ้า Glazers เป็นลูกหนี้สโมสร Glazers ก็ทยอยเอาเงินออกจากสโมสรมาจ่ายหนี้ให้สโมสรเองแบบอัฐยายซื้อขนมยาย เพราะตอนแรกเมื่อลูกหนี้เกิด เงินไหลออกจากสโมสรไปหา Glazers แล้ว ต่อมาเมื่อ Glazers ต้องการชำระหนี้ให้บริษัท Glazers ก็เอาเงินปันผลมาจ่ายให้บริษัทได้ 2.3 บันทึกเป็นเงินปันผลจ่าย
ในทางบัญชีที่เป็นไปได้มีแค่นี้ค่ะ เป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ หรือจะกลับไปโครงสร้างเดิมที่ตอบไปแล้วคุณบอกว่าตอบไม่ตรงคำถาม แต่ก็นำมาใช้ไซฟอนเงินออกจากบริษัทได้เหมือนกัน นั่นคือ Buyer ซื้อบริษัท A แล้วให้ A ไปกู้ยืมเงินเพื่อมาซื้อหุ้นบริษัท B (ซึ่งเป็นของ Buyer) เงินก็จะไหลออกไปหา Buyer ผ่านทางบริษัท B แต่จะอย่างไรก็ตาม รายการระหว่างเจ้าของกับบริษัท B หนีไม่พ้นที่จะต้องออกมารูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามที่พูดมาแล้วข้างต้นค่ะ
หวังว่าคำตอบนี้คงไม่ "หลุด" อย่างคำตอบแรกนะคะ
ถ้าอาจารย์สรรพงศ์หายป่วย อาจกลับมาให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมด้วย
สงสัยผมตั้งคำถามผิด ทำให้อาจารย์เข้าใจคลาดเคลื่อนครับ
ที่ผมจะถามคือ Mr.john ไปเทคโอเวอร์ บมจ. ลิเวอร์พูล ที่มูลค่าประมาณ600 ล้านปอนด์ จนสำเร็จ ซึ่งเงินจำนวนนี้ Mr.john กู้ยืมจากธนาคาร ไปๆมาๆ หนี้จำนวนนี้ก็กลายมาเป็นหนี้ บมจ.ลิเวอร์พูล ผมเลยสงสัยว่าเขามีวิธีการอย่างไรที่จะโอนหนี้ของตัวเองให้เป็นหนี้ของบริษัทที่่ตัวเองเทคโอเวอร์ เพราะที่ติดตามข่าวดู ในตปท.จะเป็นแบบนี้เยอะมาก[/quote]
ลองใหม่อีกที เข้าไปนั่งอ่านเรื่องหนี้สินของสโมสรฟุตบอล ไม่มีตรงไหนเลยที่บอกว่าเจ้าของได้โอนหนี้ไปให้สโมสรตรงๆ แต่ในทางอ้อมคือ เมื่อเจ้าของเข้าถือหุ้นบริษัทจนสามารถควบคุมบริษัทได้ เจ้าของก็จะสั่งให้บริษัทกู้ยืมเงิน (กรณีแมนยูมีการออกหุ้นกู้โดยเอาสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกัน แถมเงินกู้ส่วนตัวของ Glazers ก็มีสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกันด้วย) เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้นำไปใช้ทำอะไรเขาไม่ได้บอก แต่ถ้าจะให้เดาก็คือ แมนยูต้องจ่ายเงินกลับไปให้กับ Glazers ในลักษณะค่าใช้จ่ายหรือเงินปันผลหรือซื้อสินทรัพย์จาก Glazers (อาจจะทำทุกข้อข้างต้น) ทำให้เงินไหลออกจากบริษัทไปที่ Glazers ส่วน Glazers ก็นำเงินนั้นไปจ่ายหนี้สินของตัวเอง เท่านั้นหนี้สินของ Glazers ก็จะกลายเป็นหนี้สินของสโมสร ในกรณีของแมนยู Glazers เข้าถือหุ้นจนบริษัทต้องออกจากตลาดเพราะ Glazers ถือหุ้นคนเดียวเกือบ 100% หรือ 100% ดังนั้น การจะกำหนดให้สโมสรจ่ายเงินให้ตัวเองจึงทำได้ในเกือบทุกลักษณะ
ที่พูดมาก็เป็นเรื่องเดา เพราะไม่มีใครเขายอมเปิดเผยว่าเขาทำอย่างไรกันจริงๆ แต่ในทางบัญชี มีทางเป็นไปได้ไม่กี่รูปแบบคือ 1. เงินสดต้องไหลออกจากบริษัทไปหาผู้ถือหุ้น 2. บริษัทต้องเดบิตรายการอะไรสักอย่าง หรือทุกอย่างต่อไปนี้ 2.1 ค่าใช้จ่าย เช่น เงินเดือนผู้บริหารที่จ่ายให้ Glazers ค่าบริหาร ค่าสิทธิบัตร ค่าอะไรต่อมิอะไร ฯลฯ 2.2 สินทรัพย์ เช่น ที่ดิน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้ ฯลฯ ในกรณีของลูกหนี้ ถ้า Glazers เป็นลูกหนี้สโมสร Glazers ก็ทยอยเอาเงินออกจากสโมสรมาจ่ายหนี้ให้สโมสรเองแบบอัฐยายซื้อขนมยาย เพราะตอนแรกเมื่อลูกหนี้เกิด เงินไหลออกจากสโมสรไปหา Glazers แล้ว ต่อมาเมื่อ Glazers ต้องการชำระหนี้ให้บริษัท Glazers ก็เอาเงินปันผลมาจ่ายให้บริษัทได้ 2.3 บันทึกเป็นเงินปันผลจ่าย
ในทางบัญชีที่เป็นไปได้มีแค่นี้ค่ะ เป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ หรือจะกลับไปโครงสร้างเดิมที่ตอบไปแล้วคุณบอกว่าตอบไม่ตรงคำถาม แต่ก็นำมาใช้ไซฟอนเงินออกจากบริษัทได้เหมือนกัน นั่นคือ Buyer ซื้อบริษัท A แล้วให้ A ไปกู้ยืมเงินเพื่อมาซื้อหุ้นบริษัท B (ซึ่งเป็นของ Buyer) เงินก็จะไหลออกไปหา Buyer ผ่านทางบริษัท B แต่จะอย่างไรก็ตาม รายการระหว่างเจ้าของกับบริษัท B หนีไม่พ้นที่จะต้องออกมารูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามที่พูดมาแล้วข้างต้นค่ะ
หวังว่าคำตอบนี้คงไม่ "หลุด" อย่างคำตอบแรกนะคะ
ถ้าอาจารย์สรรพงศ์หายป่วย อาจกลับมาให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมด้วย
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 183
[quote="Zolaa"]มือใหม่นะครับตอนนี้กำลังศึกษาการดูงบการเงินอยู่ครับมีคำถามดังนี้ครับ
1.กรณีการดูงบกระแสเงินสดนี่ระหว่างบริษัทที่เงินสดสุทธิติดลบนี่ถ้าเทียบในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทที่มีค่าบวก
แสดงว่าบริษัทที่มีค่าบวกนี่ควรจะดีกว่าใช่ไหมครับ(ดูจากข้อสรุปสนเทศของบริษัท)
2.ในกรณีที่เงินสดสุทธิจากกิจกรรมหาเงินเป็นลบแต่ต้องกู้มาจ่ายปันผลนี่แสดงว่าบริษัทเริ่มไม่ดีแล้วใช่ไหมครับ
3.เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวดหมายถึงเงินสดที่บริษัทมีในมือล่าสุดใช่ไหมครับควรมีค่าเป็นบวกใช่ไหมครับ(ผมคิดว่างั้น)
4.เงินสดควรจะมีสัดส่วนเป็นอย่างไรถ้าเทียบกับหนี้สิน(จะเทียบกับหนี้อะไรระหว่างหนี้สินหมุุนเวียนกับไม่หมุนเวียน)ถึงจะดี
ขอบคุณล่วงหน้าครับ[/quote]
1. อาจเป็นอย่างนั้นค่ะ แต่ถ้าเราดูที่ค่าสุทธิเพียงตัวเดียว เรื่องจริงอาจไม่เป็นอย่างนั้น เพราะบางบริษัทอาจได้เงินสดจากการดำเนินงานมาก แต่จ่ายลงทุนและจ่ายหนี้สินมากกว่า เงินสดสุทธิจึงเป็นลบ เทียบกับบริษัทที่มีเงินสดจากการดำเนินงานเป็นลบ แต่กู้เงินและขายสินทรัพย์ลงทุนจนได้กระแสเงินสดเป็นบวก บริษัทแรกที่เงินสดติดลบจะดีกว่าบริษัทที่สองที่เงินสดเป็นบวกค่ะ ทางที่ดี ควรแยกดูกระแสเงินสดตามหมวด คือ หมวดดำเนินงาน หมวดลงทุน และหมวดจัดหาเงิน แล้วดูไส้ในแต่ละหมวดว่าเงินสดเกิดจากอะไร เช่น หมวดดำเนินงาน ถ้าเกิดจากการดำเนินงานก็ดี แต่ถ้าเกิดจากการก่อหนี้ระยะสั้นก็ไม่ดี
2. ถ้ารู้ชัดๆ ว่ากู้เงินมาจ่ายปันผลก็ไม่ดีค่ะ แต่บางทีเราบอกไม่ได้ขนาดนั้น อาจต้องลงไปดูอัตราความเพียงพอของเงินสด คือดูว่าบริษัทหาเงินจากการดำเนินงานเพียงพอที่จ่ายหนี้ ดอกเบี้ย ปันผล และสินทรัพย์หลักหรือไม่
3. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวด เป็นสินทรัพย์รายการแรกในงบดุล ดังนั้น ต้องไม่ติดลบค่ะ
4. เวลาวิเคราะห์สภาพคล่อง อัตราส่วนที่ใช้มาจากสินทรัพย์หมุนเวียนหรือสินทรัพย์หมุนเวียนเร็วที่มีเงินสดเป็นส่วนประกอบ ไม่เคยเห็นสูตรสำเร็จที่บอกว่าเงินสดควรมีสัดส่วนเท่าไร แต่ที่แน่ๆ คือ บริษัทควรถือเงินสดเท่าที่จำเป็นตามลักษณะธุรกิจ และมากพอที่จะทำให้ไม่เกิดปัญหาสภาพคล่อง แต่บริษัทไม่ควรถือเงินสดมากเกินไป เพราะจะทำให้เสียโอกาสในการลงทุนค่ะ
1.กรณีการดูงบกระแสเงินสดนี่ระหว่างบริษัทที่เงินสดสุทธิติดลบนี่ถ้าเทียบในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทที่มีค่าบวก
แสดงว่าบริษัทที่มีค่าบวกนี่ควรจะดีกว่าใช่ไหมครับ(ดูจากข้อสรุปสนเทศของบริษัท)
2.ในกรณีที่เงินสดสุทธิจากกิจกรรมหาเงินเป็นลบแต่ต้องกู้มาจ่ายปันผลนี่แสดงว่าบริษัทเริ่มไม่ดีแล้วใช่ไหมครับ
3.เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวดหมายถึงเงินสดที่บริษัทมีในมือล่าสุดใช่ไหมครับควรมีค่าเป็นบวกใช่ไหมครับ(ผมคิดว่างั้น)
4.เงินสดควรจะมีสัดส่วนเป็นอย่างไรถ้าเทียบกับหนี้สิน(จะเทียบกับหนี้อะไรระหว่างหนี้สินหมุุนเวียนกับไม่หมุนเวียน)ถึงจะดี
ขอบคุณล่วงหน้าครับ[/quote]
1. อาจเป็นอย่างนั้นค่ะ แต่ถ้าเราดูที่ค่าสุทธิเพียงตัวเดียว เรื่องจริงอาจไม่เป็นอย่างนั้น เพราะบางบริษัทอาจได้เงินสดจากการดำเนินงานมาก แต่จ่ายลงทุนและจ่ายหนี้สินมากกว่า เงินสดสุทธิจึงเป็นลบ เทียบกับบริษัทที่มีเงินสดจากการดำเนินงานเป็นลบ แต่กู้เงินและขายสินทรัพย์ลงทุนจนได้กระแสเงินสดเป็นบวก บริษัทแรกที่เงินสดติดลบจะดีกว่าบริษัทที่สองที่เงินสดเป็นบวกค่ะ ทางที่ดี ควรแยกดูกระแสเงินสดตามหมวด คือ หมวดดำเนินงาน หมวดลงทุน และหมวดจัดหาเงิน แล้วดูไส้ในแต่ละหมวดว่าเงินสดเกิดจากอะไร เช่น หมวดดำเนินงาน ถ้าเกิดจากการดำเนินงานก็ดี แต่ถ้าเกิดจากการก่อหนี้ระยะสั้นก็ไม่ดี
2. ถ้ารู้ชัดๆ ว่ากู้เงินมาจ่ายปันผลก็ไม่ดีค่ะ แต่บางทีเราบอกไม่ได้ขนาดนั้น อาจต้องลงไปดูอัตราความเพียงพอของเงินสด คือดูว่าบริษัทหาเงินจากการดำเนินงานเพียงพอที่จ่ายหนี้ ดอกเบี้ย ปันผล และสินทรัพย์หลักหรือไม่
3. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวด เป็นสินทรัพย์รายการแรกในงบดุล ดังนั้น ต้องไม่ติดลบค่ะ
4. เวลาวิเคราะห์สภาพคล่อง อัตราส่วนที่ใช้มาจากสินทรัพย์หมุนเวียนหรือสินทรัพย์หมุนเวียนเร็วที่มีเงินสดเป็นส่วนประกอบ ไม่เคยเห็นสูตรสำเร็จที่บอกว่าเงินสดควรมีสัดส่วนเท่าไร แต่ที่แน่ๆ คือ บริษัทควรถือเงินสดเท่าที่จำเป็นตามลักษณะธุรกิจ และมากพอที่จะทำให้ไม่เกิดปัญหาสภาพคล่อง แต่บริษัทไม่ควรถือเงินสดมากเกินไป เพราะจะทำให้เสียโอกาสในการลงทุนค่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 1959
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 184
[quote="parporn"]
ลองใหม่อีกที เข้าไปนั่งอ่านเรื่องหนี้สินของสโมสรฟุตบอล ไม่มีตรงไหนเลยที่บอกว่าเจ้าของได้โอนหนี้ไปให้สโมสรตรงๆ แต่ในทางอ้อมคือ เมื่อเจ้าของเข้าถือหุ้นบริษัทจนสามารถควบคุมบริษัทได้ เจ้าของก็จะสั่งให้บริษัทกู้ยืมเงิน (กรณีแมนยูมีการออกหุ้นกู้โดยเอาสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกัน แถมเงินกู้ส่วนตัวของ Glazers ก็มีสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกันด้วย) เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้นำไปใช้ทำอะไรเขาไม่ได้บอก แต่ถ้าจะให้เดาก็คือ แมนยูต้องจ่ายเงินกลับไปให้กับ Glazers ในลักษณะค่าใช้จ่ายหรือเงินปันผลหรือซื้อสินทรัพย์จาก Glazers (อาจจะทำทุกข้อข้างต้น) ทำให้เงินไหลออกจากบริษัทไปที่ Glazers ส่วน Glazers ก็นำเงินนั้นไปจ่ายหนี้สินของตัวเอง เท่านั้นหนี้สินของ Glazers ก็จะกลายเป็นหนี้สินของสโมสร ในกรณีของแมนยู Glazers เข้าถือหุ้นจนบริษัทต้องออกจากตลาดเพราะ Glazers ถือหุ้นคนเดียวเกือบ 100% หรือ 100% ดังนั้น การจะกำหนดให้สโมสรจ่ายเงินให้ตัวเองจึงทำได้ในเกือบทุกลักษณะ
ที่พูดมาก็เป็นเรื่องเดา เพราะไม่มีใครเขายอมเปิดเผยว่าเขาทำอย่างไรกันจริงๆ แต่ในทางบัญชี มีทางเป็นไปได้ไม่กี่รูปแบบคือ 1. เงินสดต้องไหลออกจากบริษัทไปหาผู้ถือหุ้น 2. บริษัทต้องเดบิตรายการอะไรสักอย่าง หรือทุกอย่างต่อไปนี้ 2.1 ค่าใช้จ่าย เช่น เงินเดือนผู้บริหารที่จ่ายให้ Glazers ค่าบริหาร ค่าสิทธิบัตร ค่าอะไรต่อมิอะไร ฯลฯ 2.2 สินทรัพย์ เช่น ที่ดิน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้ ฯลฯ ในกรณีของลูกหนี้ ถ้า Glazers เป็นลูกหนี้สโมสร Glazers ก็ทยอยเอาเงินออกจากสโมสรมาจ่ายหนี้ให้สโมสรเองแบบอัฐยายซื้อขนมยาย เพราะตอนแรกเมื่อลูกหนี้เกิด เงินไหลออกจากสโมสรไปหา Glazers แล้ว ต่อมาเมื่อ Glazers ต้องการชำระหนี้ให้บริษัท Glazers ก็เอาเงินปันผลมาจ่ายให้บริษัทได้ 2.3 บันทึกเป็นเงินปันผลจ่าย
ในทางบัญชีที่เป็นไปได้มีแค่นี้ค่ะ เป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ หรือจะกลับไปโครงสร้างเดิมที่ตอบไปแล้วคุณบอกว่าตอบไม่ตรงคำถาม แต่ก็นำมาใช้ไซฟอนเงินออกจากบริษัทได้เหมือนกัน นั่นคือ Buyer ซื้อบริษัท A แล้วให้ A ไปกู้ยืมเงินเพื่อมาซื้อหุ้นบริษัท B (ซึ่งเป็นของ Buyer) เงินก็จะไหลออกไปหา Buyer ผ่านทางบริษัท B แต่จะอย่างไรก็ตาม รายการระหว่างเจ้าของกับบริษัท B หนีไม่พ้นที่จะต้องออกมารูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามที่พูดมาแล้วข้างต้นค่ะ
หวังว่าคำตอบนี้คงไม่ "หลุด" อย่างคำตอบแรกนะคะ
ถ้าอาจารย์สรรพงศ์หายป่วย อาจกลับมาให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมด้วย[/quote]
ขอบคุณครับอาจารย์
ผมพอจะเข้าใจหลักการแล้วครับ เนื่องจากผมไม่ได้อ่านงบการเงินทั้งลิเวอร์พูลและแมนยูครับ แค่อ่านข่าวกีฬาทั่วๆไป ทำให้เกิดคำถามที่ทำให้อาจารย์เข้าใจคลาดเคลื่อนครับ ต้องขออภัยอาจารย์ด้วยนะครับ
ลองใหม่อีกที เข้าไปนั่งอ่านเรื่องหนี้สินของสโมสรฟุตบอล ไม่มีตรงไหนเลยที่บอกว่าเจ้าของได้โอนหนี้ไปให้สโมสรตรงๆ แต่ในทางอ้อมคือ เมื่อเจ้าของเข้าถือหุ้นบริษัทจนสามารถควบคุมบริษัทได้ เจ้าของก็จะสั่งให้บริษัทกู้ยืมเงิน (กรณีแมนยูมีการออกหุ้นกู้โดยเอาสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกัน แถมเงินกู้ส่วนตัวของ Glazers ก็มีสินทรัพย์ของสโมสรเป็นประกันด้วย) เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้นำไปใช้ทำอะไรเขาไม่ได้บอก แต่ถ้าจะให้เดาก็คือ แมนยูต้องจ่ายเงินกลับไปให้กับ Glazers ในลักษณะค่าใช้จ่ายหรือเงินปันผลหรือซื้อสินทรัพย์จาก Glazers (อาจจะทำทุกข้อข้างต้น) ทำให้เงินไหลออกจากบริษัทไปที่ Glazers ส่วน Glazers ก็นำเงินนั้นไปจ่ายหนี้สินของตัวเอง เท่านั้นหนี้สินของ Glazers ก็จะกลายเป็นหนี้สินของสโมสร ในกรณีของแมนยู Glazers เข้าถือหุ้นจนบริษัทต้องออกจากตลาดเพราะ Glazers ถือหุ้นคนเดียวเกือบ 100% หรือ 100% ดังนั้น การจะกำหนดให้สโมสรจ่ายเงินให้ตัวเองจึงทำได้ในเกือบทุกลักษณะ
ที่พูดมาก็เป็นเรื่องเดา เพราะไม่มีใครเขายอมเปิดเผยว่าเขาทำอย่างไรกันจริงๆ แต่ในทางบัญชี มีทางเป็นไปได้ไม่กี่รูปแบบคือ 1. เงินสดต้องไหลออกจากบริษัทไปหาผู้ถือหุ้น 2. บริษัทต้องเดบิตรายการอะไรสักอย่าง หรือทุกอย่างต่อไปนี้ 2.1 ค่าใช้จ่าย เช่น เงินเดือนผู้บริหารที่จ่ายให้ Glazers ค่าบริหาร ค่าสิทธิบัตร ค่าอะไรต่อมิอะไร ฯลฯ 2.2 สินทรัพย์ เช่น ที่ดิน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้ ฯลฯ ในกรณีของลูกหนี้ ถ้า Glazers เป็นลูกหนี้สโมสร Glazers ก็ทยอยเอาเงินออกจากสโมสรมาจ่ายหนี้ให้สโมสรเองแบบอัฐยายซื้อขนมยาย เพราะตอนแรกเมื่อลูกหนี้เกิด เงินไหลออกจากสโมสรไปหา Glazers แล้ว ต่อมาเมื่อ Glazers ต้องการชำระหนี้ให้บริษัท Glazers ก็เอาเงินปันผลมาจ่ายให้บริษัทได้ 2.3 บันทึกเป็นเงินปันผลจ่าย
ในทางบัญชีที่เป็นไปได้มีแค่นี้ค่ะ เป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ หรือจะกลับไปโครงสร้างเดิมที่ตอบไปแล้วคุณบอกว่าตอบไม่ตรงคำถาม แต่ก็นำมาใช้ไซฟอนเงินออกจากบริษัทได้เหมือนกัน นั่นคือ Buyer ซื้อบริษัท A แล้วให้ A ไปกู้ยืมเงินเพื่อมาซื้อหุ้นบริษัท B (ซึ่งเป็นของ Buyer) เงินก็จะไหลออกไปหา Buyer ผ่านทางบริษัท B แต่จะอย่างไรก็ตาม รายการระหว่างเจ้าของกับบริษัท B หนีไม่พ้นที่จะต้องออกมารูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามที่พูดมาแล้วข้างต้นค่ะ
หวังว่าคำตอบนี้คงไม่ "หลุด" อย่างคำตอบแรกนะคะ
ถ้าอาจารย์สรรพงศ์หายป่วย อาจกลับมาให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมด้วย[/quote]
ขอบคุณครับอาจารย์
ผมพอจะเข้าใจหลักการแล้วครับ เนื่องจากผมไม่ได้อ่านงบการเงินทั้งลิเวอร์พูลและแมนยูครับ แค่อ่านข่าวกีฬาทั่วๆไป ทำให้เกิดคำถามที่ทำให้อาจารย์เข้าใจคลาดเคลื่อนครับ ต้องขออภัยอาจารย์ด้วยนะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 64
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 186
ได้ลองอ่านหนังสือ อาจารย์ภาพร จนจบ แล้วครับ ขอบคุณมากครับที่ได้เขียนหนังสือดีๆอย่างนี้ขึ้นมาครับ แต่พอดีผมมีปัญหาติดใจ อยู่ นิดนึงอ่ะครับ ในงบกระแสเงินสดอ่ะครับในส่วนของ เงินได้มา(ใช้ไป)ในกิจกรรมดำเนินงานอ่ะครับ เนื่องจากพยายามแกะงบในบริษัท จดทะเบียนดูแล้วเจอปัญหาดังนี้ครับ
1.หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หากค่าเป็น บวก หมายถึงว่า บริษัทตั้งหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้ในงวดนั้นแต่ไม่ได้เป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงเลยบวกกลับใช่ไหมครับ หากค่าเป็นลบ หมายถึงว่า หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญที่เคยตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน สามารถเก็บเงินได้ จึงนำมาบันทึกเป็นรายได้แล้วในงบเฉพาะกำไรขาดทุนซึ่งได้รวมอยู่ในกำไรสุทธิสำหรับงวดนั้นอยู่แล้ว เพื่อเป็นการไม่ให้บวกซ้ำสองรอบเลยน้ำมาหักออก ใช่ไหมครับ
2.ขาด(กำไร)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน อันนี้อยู่ในส่วนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือเปล่า ผมก็หาไม่เจออ่ะครับ ส่วนที่ว่าอยู่ในงบเฉพาะกำไรขาดทุนก็ไม่เห็นจะมีตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เลยอ่ะครับ หากตั้งมันจะอยู่ในส่วนไหนหรอครับ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หรือแยกต่างหากเลย อยากทราบว่า มันมาจากไหนหรอครับ เนื่องจากบริษัทนี้ มีการส่งออกไปต่างประเทศ แล้วเกี่ยวข้องกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้าด้วย แล้วที่จริงงบในไตรมาสนั้น พร้อมทั้งงวดเก้าเดือน ก็มีรายการกำไรจากการปริวรรตค่าเงินในงบเฉพาะกำไรขาดทุนด้วยซ้ำ แต่ในขณะเดียวกันกลับมีรายการนี้ที่แสดงค่าเป็น บวก ในงบกระแสเงิดสดในจำนวนที่ค่อนข้างมีนัยสำคัญเลยครับ เลยอยากจะขอคำชี้แนะในเรื่องของที่มาของรายการนี้ พร้อมทั้งความหมายหากค่าเป็นบวก และค่าเป็นลบ ด้วยอ่ะครับ
ผมเป็นมือใหม่น่ะครับ หากผิดพลาดตรงไหนขออภัยด้วยนะครับ
1.หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หากค่าเป็น บวก หมายถึงว่า บริษัทตั้งหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้ในงวดนั้นแต่ไม่ได้เป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงเลยบวกกลับใช่ไหมครับ หากค่าเป็นลบ หมายถึงว่า หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญที่เคยตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน สามารถเก็บเงินได้ จึงนำมาบันทึกเป็นรายได้แล้วในงบเฉพาะกำไรขาดทุนซึ่งได้รวมอยู่ในกำไรสุทธิสำหรับงวดนั้นอยู่แล้ว เพื่อเป็นการไม่ให้บวกซ้ำสองรอบเลยน้ำมาหักออก ใช่ไหมครับ
2.ขาด(กำไร)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน อันนี้อยู่ในส่วนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือเปล่า ผมก็หาไม่เจออ่ะครับ ส่วนที่ว่าอยู่ในงบเฉพาะกำไรขาดทุนก็ไม่เห็นจะมีตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เลยอ่ะครับ หากตั้งมันจะอยู่ในส่วนไหนหรอครับ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หรือแยกต่างหากเลย อยากทราบว่า มันมาจากไหนหรอครับ เนื่องจากบริษัทนี้ มีการส่งออกไปต่างประเทศ แล้วเกี่ยวข้องกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้าด้วย แล้วที่จริงงบในไตรมาสนั้น พร้อมทั้งงวดเก้าเดือน ก็มีรายการกำไรจากการปริวรรตค่าเงินในงบเฉพาะกำไรขาดทุนด้วยซ้ำ แต่ในขณะเดียวกันกลับมีรายการนี้ที่แสดงค่าเป็น บวก ในงบกระแสเงิดสดในจำนวนที่ค่อนข้างมีนัยสำคัญเลยครับ เลยอยากจะขอคำชี้แนะในเรื่องของที่มาของรายการนี้ พร้อมทั้งความหมายหากค่าเป็นบวก และค่าเป็นลบ ด้วยอ่ะครับ
ผมเป็นมือใหม่น่ะครับ หากผิดพลาดตรงไหนขออภัยด้วยนะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2135
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 187
สอบถามเรื่องการทำงบรวมครับ ว่ารายการในกรอบสีแดงนี้ ตอนทำงบรวมมันเดินรายการสำหรับบริษัทใหญ่ และบริษัทย่อยยังไงครับ
[attachment=0]คชจ.บริหาร.JPG[/attachment]
[attachment=0]คชจ.บริหาร.JPG[/attachment]
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 188
[quote="kkbns"]ได้ลองอ่านหนังสือ อาจารย์ภาพร จนจบ แล้วครับ ขอบคุณมากครับที่ได้เขียนหนังสือดีๆอย่างนี้ขึ้นมาครับ แต่พอดีผมมีปัญหาติดใจ อยู่ นิดนึงอ่ะครับ ในงบกระแสเงินสดอ่ะครับในส่วนของ เงินได้มา(ใช้ไป)ในกิจกรรมดำเนินงานอ่ะครับ เนื่องจากพยายามแกะงบในบริษัท จดทะเบียนดูแล้วเจอปัญหาดังนี้ครับ
1.หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หากค่าเป็น บวก หมายถึงว่า บริษัทตั้งหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้ในงวดนั้นแต่ไม่ได้เป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงเลยบวกกลับใช่ไหมครับ หากค่าเป็นลบ หมายถึงว่า หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญที่เคยตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน สามารถเก็บเงินได้ จึงนำมาบันทึกเป็นรายได้แล้วในงบเฉพาะกำไรขาดทุนซึ่งได้รวมอยู่ในกำไรสุทธิสำหรับงวดนั้นอยู่แล้ว เพื่อเป็นการไม่ให้บวกซ้ำสองรอบเลยน้ำมาหักออก ใช่ไหมครับ
2.ขาด(กำไร)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน อันนี้อยู่ในส่วนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือเปล่า ผมก็หาไม่เจออ่ะครับ ส่วนที่ว่าอยู่ในงบเฉพาะกำไรขาดทุนก็ไม่เห็นจะมีตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เลยอ่ะครับ หากตั้งมันจะอยู่ในส่วนไหนหรอครับ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หรือแยกต่างหากเลย อยากทราบว่า มันมาจากไหนหรอครับ เนื่องจากบริษัทนี้ มีการส่งออกไปต่างประเทศ แล้วเกี่ยวข้องกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้าด้วย แล้วที่จริงงบในไตรมาสนั้น พร้อมทั้งงวดเก้าเดือน ก็มีรายการกำไรจากการปริวรรตค่าเงินในงบเฉพาะกำไรขาดทุนด้วยซ้ำ แต่ในขณะเดียวกันกลับมีรายการนี้ที่แสดงค่าเป็น บวก ในงบกระแสเงิดสดในจำนวนที่ค่อนข้างมีนัยสำคัญเลยครับ เลยอยากจะขอคำชี้แนะในเรื่องของที่มาของรายการนี้ พร้อมทั้งความหมายหากค่าเป็นบวก และค่าเป็นลบ ด้วยอ่ะครับ
ผมเป็นมือใหม่น่ะครับ หากผิดพลาดตรงไหนขออภัยด้วยนะครับ[/quote]
ข้อ 1 หลักการง่ายๆ ในการดูกระแสเงินสดจากการดำเนินงานในงบกำไรขาดทุนคือ เมื่อกำไรสุทธิที่นำมาเป็นตัวตั้งนำมาจากงบกำไรขาดทุน ซึ่งบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง เราต้องทำการปรับกำไรตามเกณฑ์คงค้างให้เป็นกำไรตามเกณฑ์เงินสด โดยนำรายการใดๆ ที่บันทึกตามเกณฑ์คงค้าง (โดยไม่มีเงินสดเกี่ยวข้อง) ในงบกำไรขาดทุนมาปรับเข้าหรือออกในงบกระแสเงินสด ดังนั้น รายการที่ลบในงบกำไรขาดทุน ต้องนำมาบวกในงบกระแสเงินสด เช่น หนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคา ส่วนรายการอะไรที่เป็นบวกในงบกำไรขาดทุนต้องนำมาลบในงบกระแสเงินสด เช่น หนี้สูญกลับบัญชี ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน
ข้อ 2 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนไม่ใช่กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แต่เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารรายการหนึ่ง บางครั้งเวลาบริษัทแสดงรายการนี้ เขาจะนำไปแสดงรวมกับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ทำให้เราไม่เห็นรายการนี้แยกแสดงต่างหากในงบกำไรขาดทุน แต่จะสามารถเห็นได้ในงบกระแสเงินสด ระวังนิดนึงนะคะ กฎบัญชียุ่งยากหยุมหยิม สิ่งที่บอกไปครอบคลุมรายการส่วนใหญ่ แต่บางครั้งข้อยกเว้นอาจทำให้รายการบันทึกบัญชีต่างไปจากที่บอกไว้
กำไรจากการปริวรรตเงินตราเป็นบวกในงบกำไรขาดทุนต้องนำมาลบออกจากงบกระแสเงินสด
1.หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หากค่าเป็น บวก หมายถึงว่า บริษัทตั้งหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้ในงวดนั้นแต่ไม่ได้เป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงเลยบวกกลับใช่ไหมครับ หากค่าเป็นลบ หมายถึงว่า หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญที่เคยตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน สามารถเก็บเงินได้ จึงนำมาบันทึกเป็นรายได้แล้วในงบเฉพาะกำไรขาดทุนซึ่งได้รวมอยู่ในกำไรสุทธิสำหรับงวดนั้นอยู่แล้ว เพื่อเป็นการไม่ให้บวกซ้ำสองรอบเลยน้ำมาหักออก ใช่ไหมครับ
2.ขาด(กำไร)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน อันนี้อยู่ในส่วนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นหรือเปล่า ผมก็หาไม่เจออ่ะครับ ส่วนที่ว่าอยู่ในงบเฉพาะกำไรขาดทุนก็ไม่เห็นจะมีตั้งเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เลยอ่ะครับ หากตั้งมันจะอยู่ในส่วนไหนหรอครับ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หรือแยกต่างหากเลย อยากทราบว่า มันมาจากไหนหรอครับ เนื่องจากบริษัทนี้ มีการส่งออกไปต่างประเทศ แล้วเกี่ยวข้องกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้าด้วย แล้วที่จริงงบในไตรมาสนั้น พร้อมทั้งงวดเก้าเดือน ก็มีรายการกำไรจากการปริวรรตค่าเงินในงบเฉพาะกำไรขาดทุนด้วยซ้ำ แต่ในขณะเดียวกันกลับมีรายการนี้ที่แสดงค่าเป็น บวก ในงบกระแสเงิดสดในจำนวนที่ค่อนข้างมีนัยสำคัญเลยครับ เลยอยากจะขอคำชี้แนะในเรื่องของที่มาของรายการนี้ พร้อมทั้งความหมายหากค่าเป็นบวก และค่าเป็นลบ ด้วยอ่ะครับ
ผมเป็นมือใหม่น่ะครับ หากผิดพลาดตรงไหนขออภัยด้วยนะครับ[/quote]
ข้อ 1 หลักการง่ายๆ ในการดูกระแสเงินสดจากการดำเนินงานในงบกำไรขาดทุนคือ เมื่อกำไรสุทธิที่นำมาเป็นตัวตั้งนำมาจากงบกำไรขาดทุน ซึ่งบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง เราต้องทำการปรับกำไรตามเกณฑ์คงค้างให้เป็นกำไรตามเกณฑ์เงินสด โดยนำรายการใดๆ ที่บันทึกตามเกณฑ์คงค้าง (โดยไม่มีเงินสดเกี่ยวข้อง) ในงบกำไรขาดทุนมาปรับเข้าหรือออกในงบกระแสเงินสด ดังนั้น รายการที่ลบในงบกำไรขาดทุน ต้องนำมาบวกในงบกระแสเงินสด เช่น หนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคา ส่วนรายการอะไรที่เป็นบวกในงบกำไรขาดทุนต้องนำมาลบในงบกระแสเงินสด เช่น หนี้สูญกลับบัญชี ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน
ข้อ 2 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนไม่ใช่กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แต่เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารรายการหนึ่ง บางครั้งเวลาบริษัทแสดงรายการนี้ เขาจะนำไปแสดงรวมกับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ทำให้เราไม่เห็นรายการนี้แยกแสดงต่างหากในงบกำไรขาดทุน แต่จะสามารถเห็นได้ในงบกระแสเงินสด ระวังนิดนึงนะคะ กฎบัญชียุ่งยากหยุมหยิม สิ่งที่บอกไปครอบคลุมรายการส่วนใหญ่ แต่บางครั้งข้อยกเว้นอาจทำให้รายการบันทึกบัญชีต่างไปจากที่บอกไว้
กำไรจากการปริวรรตเงินตราเป็นบวกในงบกำไรขาดทุนต้องนำมาลบออกจากงบกระแสเงินสด
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 189
[quote="AleAle"]สอบถามเรื่องการทำงบรวมครับ ว่ารายการในกรอบสีแดงนี้ ตอนทำงบรวมมันเดินรายการสำหรับบริษัทใหญ่ และบริษัทย่อยยังไงครับ
[attachment=0]คชจ.บริหาร.JPG[/attachment][/quote]
ตอบให้แล้วในหน้า fanpage ของอาจารย์ค่ะ
[attachment=0]คชจ.บริหาร.JPG[/attachment][/quote]
ตอบให้แล้วในหน้า fanpage ของอาจารย์ค่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 73
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 192
อยากขอสอบถามซัก 2 คำถามนะครับว่า
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 193
[quote="ckung"]อยากขอสอบถามซัก 2 คำถามนะครับว่า
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ[/quote]
1. หนี้สินทั้งสิ้นค่ะ รวมหนี้สินทุกรายการทุกประเภท
2. บางส่วนจะแสดงอยู่ในหนี้สินไม่หมุนเวียน แต่ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี จะแสดงเป็นหนี้สินหมุนเวียน
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ[/quote]
1. หนี้สินทั้งสิ้นค่ะ รวมหนี้สินทุกรายการทุกประเภท
2. บางส่วนจะแสดงอยู่ในหนี้สินไม่หมุนเวียน แต่ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี จะแสดงเป็นหนี้สินหมุนเวียน
-
- Verified User
- โพสต์: 73
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 194
[quote="parporn"][quote="ckung"]อยากขอสอบถามซัก 2 คำถามนะครับว่า
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ[/quote]
1. หนี้สินทั้งสิ้นค่ะ รวมหนี้สินทุกรายการทุกประเภท
2. บางส่วนจะแสดงอยู่ในหนี้สินไม่หมุนเวียน แต่ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี จะแสดงเป็นหนี้สินหมุนเวียน[/quote]
ขอบคุณอาจารย์มากครับ
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นนั้นใช้หนี้สินส่วนไหนมาคำนวนครับ
เช่น (เจ้าหนี้การค้า + หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น = D/E
ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นการที่บอกว่าบริษัทอย่าง CPALL ไม่มีหนี้ก็น่าจะไม่จริง 100% แต่เป็นมุมมองว่าไม่มีหนี้ระยะยาวมากกว่าใช่ไหมครับ
2. หนี้ที่เป็นเงินกู้ระยะยาวเช่นกู้แบงค์หรือออกหุ้นกู้เพื่อลงทุนจะอยู่ที่ส่วนไหนในงบการเงินครับ
ขอบคุณมากๆล่วงหน้านะครับ[/quote]
1. หนี้สินทั้งสิ้นค่ะ รวมหนี้สินทุกรายการทุกประเภท
2. บางส่วนจะแสดงอยู่ในหนี้สินไม่หมุนเวียน แต่ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี จะแสดงเป็นหนี้สินหมุนเวียน[/quote]
ขอบคุณอาจารย์มากครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 172
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 195
ขอสักหลายคำถามครับมือใหม่กำลังศึกษางบการเงิน
1.ในงบกระแสเงินสดในส่วนของ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงานคือเงินสดทั้งหมดของบริษัทที่มีอยู่ในขณะนั้นใช่ไหมครับ
2. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุนหมายถึงเงินสดที่ดึงมาจากเงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน
ใช่ไหมครับ
3. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงินหมายถึงเงินที่เหลือจากการลงทุนแล้วเอามาจ่ายปันผลจ่ายดอกเบี้ยใช่ไหมครับถ้าไม่พอก็กู้มาเพิ่มอย่างนี้ใช่ไหมครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
1.ในงบกระแสเงินสดในส่วนของ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงานคือเงินสดทั้งหมดของบริษัทที่มีอยู่ในขณะนั้นใช่ไหมครับ
2. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุนหมายถึงเงินสดที่ดึงมาจากเงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน
ใช่ไหมครับ
3. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงินหมายถึงเงินที่เหลือจากการลงทุนแล้วเอามาจ่ายปันผลจ่ายดอกเบี้ยใช่ไหมครับถ้าไม่พอก็กู้มาเพิ่มอย่างนี้ใช่ไหมครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 196
[quote="Zolaa"]ขอสักหลายคำถามครับมือใหม่กำลังศึกษางบการเงิน
1.ในงบกระแสเงินสดในส่วนของ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงานคือเงินสดทั้งหมดของบริษัทที่มีอยู่ในขณะนั้นใช่ไหมครับ
2. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุนหมายถึงเงินสดที่ดึงมาจากเงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน
ใช่ไหมครับ
3. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงินหมายถึงเงินที่เหลือจากการลงทุนแล้วเอามาจ่ายปันผลจ่ายดอกเบี้ยใช่ไหมครับถ้าไม่พอก็กู้มาเพิ่มอย่างนี้ใช่ไหมครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ[/quote]
1. ไม่ใช่ค่ะ
งบกระแสเงินสดทั้งงบคือ การแสดงการเปลี่ยนแปลงของเงินสดในระหว่างงวด (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด) โดยแจงออกเป็นกิจกรรมใหญ่ๆ 3 กลุ่มคือ กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน
2. ไม่ใช่ค่ะ การเปลี่ยนแปลงของเงินสดที่แสดงแต่ละกิจกรรมเป็นของใครของของมัน การแสดงรายการแค่เพียงบอกว่ามีเงินเข้าเท่าไร ออกเท่าไร แต่ไม่ได้บอกว่าเงินที่เข้านั้นมากไหน เรื่องนั้นเราต้องพยายามวิเคราะห์เองค่ะ ว่าเงินสดที่นำมาใช้ในกิจกรรมลงทุนนั้นมาจากการดำเนินงานหรือจัดหาเงิน
3. ไม่เชิงค่ะ คำตอบคล้ายกับที่ตอบในข้อ 2 ค่ะ เงินสดที่นำมาจ่ายดอกเบี้ยและปันผล หรือแม้แต่จ่ายคืนหนี้สิน อาจมาจากกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน หรือแม้แต่กิจกรรมจัดหาเงินเอง งบกระแสเงินสดไม่ได้บอกว่าเงินมาจากไหน เราต้องวิเคราะห์เองจากตัวเลขที่แสดงค่ะ
1.ในงบกระแสเงินสดในส่วนของ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงานคือเงินสดทั้งหมดของบริษัทที่มีอยู่ในขณะนั้นใช่ไหมครับ
2. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุนหมายถึงเงินสดที่ดึงมาจากเงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน
ใช่ไหมครับ
3. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงินหมายถึงเงินที่เหลือจากการลงทุนแล้วเอามาจ่ายปันผลจ่ายดอกเบี้ยใช่ไหมครับถ้าไม่พอก็กู้มาเพิ่มอย่างนี้ใช่ไหมครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ[/quote]
1. ไม่ใช่ค่ะ
งบกระแสเงินสดทั้งงบคือ การแสดงการเปลี่ยนแปลงของเงินสดในระหว่างงวด (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด) โดยแจงออกเป็นกิจกรรมใหญ่ๆ 3 กลุ่มคือ กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน
2. ไม่ใช่ค่ะ การเปลี่ยนแปลงของเงินสดที่แสดงแต่ละกิจกรรมเป็นของใครของของมัน การแสดงรายการแค่เพียงบอกว่ามีเงินเข้าเท่าไร ออกเท่าไร แต่ไม่ได้บอกว่าเงินที่เข้านั้นมากไหน เรื่องนั้นเราต้องพยายามวิเคราะห์เองค่ะ ว่าเงินสดที่นำมาใช้ในกิจกรรมลงทุนนั้นมาจากการดำเนินงานหรือจัดหาเงิน
3. ไม่เชิงค่ะ คำตอบคล้ายกับที่ตอบในข้อ 2 ค่ะ เงินสดที่นำมาจ่ายดอกเบี้ยและปันผล หรือแม้แต่จ่ายคืนหนี้สิน อาจมาจากกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมลงทุน หรือแม้แต่กิจกรรมจัดหาเงินเอง งบกระแสเงินสดไม่ได้บอกว่าเงินมาจากไหน เราต้องวิเคราะห์เองจากตัวเลขที่แสดงค่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 172
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 198
มีข้อสงสัยอีกแล้วครับอาจารย์ในหนังสืออ่านงบการเงินให้เป็นหน้า184-185ในส่วนของงบกระแสเงินสด
1.ดอกเบี้ยจ่ายในหน้า184เขียนไว้เป็น610พอส่วนในหน้า185จ่ายดอกเบี้ย444มันคือยังไงครับทำไมไม่เท่ากันครับช่วยอธิบายหน่อยครับ
2.ในส่วนภาษีเงินได้กับการจ่ายภาษีเงินได้ก็เหมือนกันมันทำไมไม่เท่ากันครับมือใหม่งงมากครับอิอิ
3.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทเอาเงินจากไหนมาลงทุนให้สังเกตุตรงไหนของงบการเงินครับ
1.ดอกเบี้ยจ่ายในหน้า184เขียนไว้เป็น610พอส่วนในหน้า185จ่ายดอกเบี้ย444มันคือยังไงครับทำไมไม่เท่ากันครับช่วยอธิบายหน่อยครับ
2.ในส่วนภาษีเงินได้กับการจ่ายภาษีเงินได้ก็เหมือนกันมันทำไมไม่เท่ากันครับมือใหม่งงมากครับอิอิ
3.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทเอาเงินจากไหนมาลงทุนให้สังเกตุตรงไหนของงบการเงินครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 199
[quote="Zolaa"]มีข้อสงสัยอีกแล้วครับอาจารย์ในหนังสืออ่านงบการเงินให้เป็นหน้า184-185ในส่วนของงบกระแสเงินสด
1.ดอกเบี้ยจ่ายในหน้า184เขียนไว้เป็น610พอส่วนในหน้า185จ่ายดอกเบี้ย444มันคือยังไงครับทำไมไม่เท่ากันครับช่วยอธิบายหน่อยครับ
2.ในส่วนภาษีเงินได้กับการจ่ายภาษีเงินได้ก็เหมือนกันมันทำไมไม่เท่ากันครับมือใหม่งงมากครับอิอิ
3.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทเอาเงินจากไหนมาลงทุนให้สังเกตุตรงไหนของงบการเงินครับ[/quote]
1. ดอกเบี้ยจ่ายทั้งสองรายการปกติไม่เท่ากันค่ะ เพราะดอกเบี้ยจ่ายที่แสดงภายใต้กิจกรรมดำเนินงาน (เป็นรายการบวกกลับ) เป็นดอกเบี้ยจ่ายที่คำนวณตามเกณฑ์คงค้าง ปกติจะเป็นจำนวนเดียวกับดอกเบี้ยจ่ายที่แสดงในงบกำไรขาดทุน แต่ดอกเบี้ยจ่ายหรือจ่ายดอกเบียที่แสดงในกิจกรรมจัดหาเงิน เป็นดอกเบี้ยจ่ายที่คำนวณตามเกณฑ์เงินสด (ดอกเบี้ยที่ควักกระเป๋าจ่ายเงินสดออกไป) เหตุผลที่ดอกเบี้ยจ่ายเป็นบวกในกิจกรรมดำเนินงานก็เนื่องจากบริษัทต้องการนำจำนวนดังกล่าวมาจัดประเภทใหม่ภายใต้กิจกรรมจัดหาเงิน บริษัทจึงต้องบวกกลับรายการในกิจกรรมดำเนินงาน และนำมาลบให้ถูกที่ในกิจกรรมจัดหาเงินค่ะ
2. การแสดงภาษีเงินได้ใช้หลักการเดียวกับดอกเบี้ยจ่าย หากแต่การจัดประเภทรายการถูกต้องอยู่แล้วคือ ถือเป็นกิจกรรมดำเนินงาน ดังนัน เราจึงเห็นบริษัทบวกกลับรายการตามเกณฑ์คงค้างในกิจกรรมดำเนินงาน และนำมาลบออกจากกิจกรรมดำเนินงานเช่นกัน
3. ต้องสังเกตทุกกิจกรรม กิจกรรมใดเป็นบวก แสดงว่าเงินสดได้มาจากกิจกรรมนั้น (ถ้าดูรายละเอียดจะทราบว่ามาจากรายการอะไร) กิจกรรมใดที่เป็นลบแสดงว่าบริษัทจ่ายเงินไปเพื่อกิจกรรมนั้น (ดูรายละเอียดจะทราบ)
1.ดอกเบี้ยจ่ายในหน้า184เขียนไว้เป็น610พอส่วนในหน้า185จ่ายดอกเบี้ย444มันคือยังไงครับทำไมไม่เท่ากันครับช่วยอธิบายหน่อยครับ
2.ในส่วนภาษีเงินได้กับการจ่ายภาษีเงินได้ก็เหมือนกันมันทำไมไม่เท่ากันครับมือใหม่งงมากครับอิอิ
3.เราจะรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทเอาเงินจากไหนมาลงทุนให้สังเกตุตรงไหนของงบการเงินครับ[/quote]
1. ดอกเบี้ยจ่ายทั้งสองรายการปกติไม่เท่ากันค่ะ เพราะดอกเบี้ยจ่ายที่แสดงภายใต้กิจกรรมดำเนินงาน (เป็นรายการบวกกลับ) เป็นดอกเบี้ยจ่ายที่คำนวณตามเกณฑ์คงค้าง ปกติจะเป็นจำนวนเดียวกับดอกเบี้ยจ่ายที่แสดงในงบกำไรขาดทุน แต่ดอกเบี้ยจ่ายหรือจ่ายดอกเบียที่แสดงในกิจกรรมจัดหาเงิน เป็นดอกเบี้ยจ่ายที่คำนวณตามเกณฑ์เงินสด (ดอกเบี้ยที่ควักกระเป๋าจ่ายเงินสดออกไป) เหตุผลที่ดอกเบี้ยจ่ายเป็นบวกในกิจกรรมดำเนินงานก็เนื่องจากบริษัทต้องการนำจำนวนดังกล่าวมาจัดประเภทใหม่ภายใต้กิจกรรมจัดหาเงิน บริษัทจึงต้องบวกกลับรายการในกิจกรรมดำเนินงาน และนำมาลบให้ถูกที่ในกิจกรรมจัดหาเงินค่ะ
2. การแสดงภาษีเงินได้ใช้หลักการเดียวกับดอกเบี้ยจ่าย หากแต่การจัดประเภทรายการถูกต้องอยู่แล้วคือ ถือเป็นกิจกรรมดำเนินงาน ดังนัน เราจึงเห็นบริษัทบวกกลับรายการตามเกณฑ์คงค้างในกิจกรรมดำเนินงาน และนำมาลบออกจากกิจกรรมดำเนินงานเช่นกัน
3. ต้องสังเกตทุกกิจกรรม กิจกรรมใดเป็นบวก แสดงว่าเงินสดได้มาจากกิจกรรมนั้น (ถ้าดูรายละเอียดจะทราบว่ามาจากรายการอะไร) กิจกรรมใดที่เป็นลบแสดงว่าบริษัทจ่ายเงินไปเพื่อกิจกรรมนั้น (ดูรายละเอียดจะทราบ)
-
- Verified User
- โพสต์: 172
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 201
ถามต่อครับภาษีหรือดอกเบี้ยที่คำนวณตามเกณฑ์คงค้างนี่แสดงว่าเป็นจำนวนเงินที่ต้องจ่ายจริงใช่ไหมครับเวลาเราจะดูว่าบริษัทต้องจ่ายภาษีหรือจ่ายดอกเบี้ยก็ให้ดูค่านี้ใช่ไหมครับถึงแม้ว่าที่แสดงในกระแสเงินสดจะดูน้อยกว่า(จากหน้า184ที่ตัวอย่าง610แล้วในหน้า185เป็น444)ผมเข้าใจว่าในที่สุดบริษัทก็ต้องจ่าย610แม้ว่างวดนี้จะจ่ายเงินไปจริง444ไม่รู้ผมเข้าใจถูกไหมครับ
ปล.อย่าเพิ่งรำคาญนะคร๊าบเจอลูกศิษย์โง่ก็แบบนี้ละครับ0.0
ปล.อย่าเพิ่งรำคาญนะคร๊าบเจอลูกศิษย์โง่ก็แบบนี้ละครับ0.0
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 202
[quote="Zolaa"]ถามต่อครับภาษีหรือดอกเบี้ยที่คำนวณตามเกณฑ์คงค้างนี่แสดงว่าเป็นจำนวนเงินที่ต้องจ่ายจริงใช่ไหมครับเวลาเราจะดูว่าบริษัทต้องจ่ายภาษีหรือจ่ายดอกเบี้ยก็ให้ดูค่านี้ใช่ไหมครับถึงแม้ว่าที่แสดงในกระแสเงินสดจะดูน้อยกว่า(จากหน้า184ที่ตัวอย่าง610แล้วในหน้า185เป็น444)ผมเข้าใจว่าในที่สุดบริษัทก็ต้องจ่าย610แม้ว่างวดนี้จะจ่ายเงินไปจริง444ไม่รู้ผมเข้าใจถูกไหมครับ
ปล.อย่าเพิ่งรำคาญนะคร๊าบเจอลูกศิษย์โง่ก็แบบนี้ละครับ0.0[/quote]
ถูกต้องค่ะ
(ถูกต้องที่ความเข้าใจนะคะ ไม่ใช่ถูกต้องที่คุณเป็นลูกศิษย์โง่ อธิบายครั้งเดียวเข้าใจ... ฉลาดออก :) )
ปล.อย่าเพิ่งรำคาญนะคร๊าบเจอลูกศิษย์โง่ก็แบบนี้ละครับ0.0[/quote]
ถูกต้องค่ะ
(ถูกต้องที่ความเข้าใจนะคะ ไม่ใช่ถูกต้องที่คุณเป็นลูกศิษย์โง่ อธิบายครั้งเดียวเข้าใจ... ฉลาดออก :) )
-
- Verified User
- โพสต์: 95
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 205
พอทราบไหมครับว่า "รายได้ทางการเงินรอรับรู้" ในหมายเหตุประกอบงบ คืออะไร
อันนี้เป็นงบของบริษัท Leasing ครับ
อันนี้เป็นงบของบริษัท Leasing ครับ
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
-
- Verified User
- โพสต์: 95
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 206
ถามหน่อยครับ
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 207
[quote="deerfreedom"]พอทราบไหมครับว่า "รายได้ทางการเงินรอรับรู้" ในหมายเหตุประกอบงบ คืออะไร
อันนี้เป็นงบของบริษัท Leasing ครับ[/quote]
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสัญญาเช่าระยะยาว leases มันยุ่งๆ เอาง่ายๆ แล้วกัน
ตามปกติ รายได้รอรับรู้คือหนี้สินรายการหนึ่ง บริษัทมักรับเงินเข้ามาก่อนทั้งๆ ที่ยังไม่สามารถรับรู้รายได้ในงบกำไรขาดทุน บริษัทจึงบันทึกพักเงินที่รับมาก่อนนี้เป็นหนี้สิน (เดบิตเงินสด เครดิตรายได้รอรับรู้) ขณะที่รอเวลาให้เงื่อนไขการรับรู้รายได้เกิดขึ้นครบถ้วน แล้วจึงบันทึกลดหนี้สินและเพิ่มรายได้
แต่ในเรื่องของสัญญาเช่าระยะยาว รายได้รอรับรู้เป็นรายการที่บริษัทยังไม่ได้เงินเข้ามาจริง (เป็นการบันทึกเตือนความจำตามระบบบัญชีมากกว่ารายการจริง) ดังนั้น เมื่อแสดงในงบดุล บริษัทจึงต้องนำรายได้รอรับรู้มาหักจากลูกหนี้ แทนที่จะแสดงเป็นหนี้สิน
อันนี้เป็นงบของบริษัท Leasing ครับ[/quote]
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสัญญาเช่าระยะยาว leases มันยุ่งๆ เอาง่ายๆ แล้วกัน
ตามปกติ รายได้รอรับรู้คือหนี้สินรายการหนึ่ง บริษัทมักรับเงินเข้ามาก่อนทั้งๆ ที่ยังไม่สามารถรับรู้รายได้ในงบกำไรขาดทุน บริษัทจึงบันทึกพักเงินที่รับมาก่อนนี้เป็นหนี้สิน (เดบิตเงินสด เครดิตรายได้รอรับรู้) ขณะที่รอเวลาให้เงื่อนไขการรับรู้รายได้เกิดขึ้นครบถ้วน แล้วจึงบันทึกลดหนี้สินและเพิ่มรายได้
แต่ในเรื่องของสัญญาเช่าระยะยาว รายได้รอรับรู้เป็นรายการที่บริษัทยังไม่ได้เงินเข้ามาจริง (เป็นการบันทึกเตือนความจำตามระบบบัญชีมากกว่ารายการจริง) ดังนั้น เมื่อแสดงในงบดุล บริษัทจึงต้องนำรายได้รอรับรู้มาหักจากลูกหนี้ แทนที่จะแสดงเป็นหนี้สิน
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 208
[quote="deerfreedom"]ถามหน่อยครับ
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???[/quote]
ต้นทุนโครงการพัฒนาน่าจะถือเป็นสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าที่จะถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่อาจมีต้นทุนโครงการพัฒนาบางรายการที่บริษัทเห็นว่ามีประโยชน์ระยะยาวจึงจัดไว้เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และเมื่อถึงเวลาที่ใกล้จะมีประโยชน์ในระยะใกล้จึงจัดประเภทใหม่กลายมาเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่น่าจะปกติเท่าไร การจัดเป็นสินค้าคงเหลือน่าจะปกติกว่า
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???[/quote]
ต้นทุนโครงการพัฒนาน่าจะถือเป็นสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าที่จะถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่อาจมีต้นทุนโครงการพัฒนาบางรายการที่บริษัทเห็นว่ามีประโยชน์ระยะยาวจึงจัดไว้เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และเมื่อถึงเวลาที่ใกล้จะมีประโยชน์ในระยะใกล้จึงจัดประเภทใหม่กลายมาเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่น่าจะปกติเท่าไร การจัดเป็นสินค้าคงเหลือน่าจะปกติกว่า
-
- Verified User
- โพสต์: 95
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 209
[quote="parporn"]แต่ในเรื่องของสัญญาเช่าระยะยาว รายได้รอรับรู้เป็นรายการที่บริษัทยังไม่ได้เงินเข้ามาจริง (เป็นการบันทึกเตือนความจำตามระบบบัญชีมากกว่ารายการจริง) ดังนั้น เมื่อแสดงในงบดุล บริษัทจึงต้องนำรายได้รอรับรู้มาหักจากลูกหนี้ แทนที่จะแสดงเป็นหนี้สิน[/quote]
1. ผมยังไม่เข้าใจประเด็นนี้นะครับ "การบันทึกเตือนความจำตามระบบบัญชี" รบกวนช่วยอธิบายเพิ่มเติมได้ไหมครับ
2. "แต่ในเรื่องของสัญญาเช่าระยะยาว รายได้รอรับรู้เป็นรายการที่บริษัทยังไม่ได้เงินเข้ามาจริง" ดังนั้น กรณีนี้ก็จะไม่ไปโผล่ใน งบกระแสเงินสดจากการดำเนินงานใช่ไหมครับ แต่จะส่งผลให้ยอดสินเชื่อรวมในงบดุลลดลง ใช่ไหมครับ
1. ผมยังไม่เข้าใจประเด็นนี้นะครับ "การบันทึกเตือนความจำตามระบบบัญชี" รบกวนช่วยอธิบายเพิ่มเติมได้ไหมครับ
2. "แต่ในเรื่องของสัญญาเช่าระยะยาว รายได้รอรับรู้เป็นรายการที่บริษัทยังไม่ได้เงินเข้ามาจริง" ดังนั้น กรณีนี้ก็จะไม่ไปโผล่ใน งบกระแสเงินสดจากการดำเนินงานใช่ไหมครับ แต่จะส่งผลให้ยอดสินเชื่อรวมในงบดุลลดลง ใช่ไหมครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 95
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 210
[quote="parporn"][quote="deerfreedom"]ถามหน่อยครับ
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???[/quote]
ต้นทุนโครงการพัฒนาน่าจะถือเป็นสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าที่จะถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่อาจมีต้นทุนโครงการพัฒนาบางรายการที่บริษัทเห็นว่ามีประโยชน์ระยะยาวจึงจัดไว้เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และเมื่อถึงเวลาที่ใกล้จะมีประโยชน์ในระยะใกล้จึงจัดประเภทใหม่กลายมาเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่น่าจะปกติเท่าไร การจัดเป็นสินค้าคงเหลือน่าจะปกติกว่า[/quote]
กรณีนี้เป็นไปได้ไหมครับ ที่ว่าต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์นี้แต่เดิมเป็น Asset ของบริษัทที่ได้ประโยชน์จากการให้เช่ามายาวนาน โดยไม่มีแนวคิดจะขายออก เช่น ศูนย์ประชุม เป็นต้น จึงจัดให้ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
แต่ต่อมาทางบริษัทมีนโยบายจะขาย Asset ตัวนี้ เข้ากองทุนอสังหาริมทรัพย์ หรือเข้าระดมทุนขายผ่านตลาดหลักทรัพย์ จึงได้ย้ายต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์นี้มาอยู่ในสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แทน
ไม่ทราบว่าผมเข้าใจถูกไหมครับ
ขอบคุณอาจารย์ล่วงหน้านะครับ ^^
ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในงบดุลปกติอยู่ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่ปีนี้มันย้ายมาอยู่ในสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน
แสดงว่า โครงการอสังหาดังกล่าว เตรียมจะดอนหรือขายในปีนี้ใช่ไหม ???[/quote]
ต้นทุนโครงการพัฒนาน่าจะถือเป็นสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าที่จะถือเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แต่อาจมีต้นทุนโครงการพัฒนาบางรายการที่บริษัทเห็นว่ามีประโยชน์ระยะยาวจึงจัดไว้เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และเมื่อถึงเวลาที่ใกล้จะมีประโยชน์ในระยะใกล้จึงจัดประเภทใหม่กลายมาเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แต่ไม่ใช่เหตุการณ์ที่น่าจะปกติเท่าไร การจัดเป็นสินค้าคงเหลือน่าจะปกติกว่า[/quote]
กรณีนี้เป็นไปได้ไหมครับ ที่ว่าต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์นี้แต่เดิมเป็น Asset ของบริษัทที่ได้ประโยชน์จากการให้เช่ามายาวนาน โดยไม่มีแนวคิดจะขายออก เช่น ศูนย์ประชุม เป็นต้น จึงจัดให้ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
แต่ต่อมาทางบริษัทมีนโยบายจะขาย Asset ตัวนี้ เข้ากองทุนอสังหาริมทรัพย์ หรือเข้าระดมทุนขายผ่านตลาดหลักทรัพย์ จึงได้ย้ายต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์นี้มาอยู่ในสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แทน
ไม่ทราบว่าผมเข้าใจถูกไหมครับ
ขอบคุณอาจารย์ล่วงหน้านะครับ ^^