หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 1
หลังจากศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน ไม่ให้บังคับ สามี ภรรยา ยื่นแบบรวมกันแล้ว
ตอนนี้ กรมสรรพากร ก็ได้ออกคำชี้แจงมา ว่าจะยื่นแบบยังไง ลดหย่อนยังไง
ดูแล้วก็เป็นข่าวดี ของคู่สมรส ได้หลายเด้งเลย
+ไม่ต้องยื่นเงินได้รวมกัน
+ได้ลดหย่อนบุตรเต็มทั้งคู่
+สำหรับนักลงทุนเรา รายได้ปันผล จะกลายเป็นคณะบุคคล แตกฐานออกไปอีก
ฯลฯ
ดูรายละเอียด ได้ตามนี้ครับ
http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/d ... 200955.pdf
ตอนนี้ กรมสรรพากร ก็ได้ออกคำชี้แจงมา ว่าจะยื่นแบบยังไง ลดหย่อนยังไง
ดูแล้วก็เป็นข่าวดี ของคู่สมรส ได้หลายเด้งเลย
+ไม่ต้องยื่นเงินได้รวมกัน
+ได้ลดหย่อนบุตรเต็มทั้งคู่
+สำหรับนักลงทุนเรา รายได้ปันผล จะกลายเป็นคณะบุคคล แตกฐานออกไปอีก
ฯลฯ
ดูรายละเอียด ได้ตามนี้ครับ
http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/d ... 200955.pdf
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 4
ทุกอย่างเลยครับ แยกจากกันเป็นอิสระlaemwade เขียน:แสดงว่าเงินปันผลของภรรยา ก็เป็นรายได้พึงประเมินของภรรยา ใช่หรือเปล่าครับ
เพราะของเดิมต้องรวมรายได้เป็นของสามี
ผมเข้าใจถูกไหม
ยกเว้นเงินได้ที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้ว่าเป็นของใคร
ก็ให้เป็นอีกหนึ่งหน่วยภาษีเลย ฐานก็ยิ่งต่ำลงไปอีก เช่น
สามี - มีเงินเดือน มีดอกเบี้ย
ภรรยา - มีเงินเดือน มีค่านายหน้า มีค่าวิชาชีพ
คณะบุคคล สามีภรรยา - มีเงินได้ ค่าเช่า เงินปันผล
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 272
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 7
คำชี้แจง ก็ยังไม่ครบถ้วน ยังไม่ได้พูดถึง ค่าเบี้ยประกันในส่วนที่เกิน 10,000 บาท
และ LTF, RMF ส่วนที่เกิน 10,000 บาท ก็ไม่ได้พูดถึง
และ LTF, RMF ส่วนที่เกิน 10,000 บาท ก็ไม่ได้พูดถึง
- t_winyoo
- Verified User
- โพสต์: 262
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 8
ทำไมปันผลต้องเป็นคณะบุคคลครับ ไม่เข้าใจอะครับ อ่านแล้วก็ยัง งง งงอยู่jinyong เขียน:
+สำหรับนักลงทุนเรา รายได้ปันผล จะกลายเป็นคณะบุคคล แตกฐานออกไปอีก
ฯลฯ
ดูรายละเอียด ได้ตามนี้ครับ
http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/d ... 200955.pdf
ถ้า port หุ้นเป็นชื่อเรา ปันผลก็ชื่อเรา
Stand by me - nobody knows
the way it's gonna be
the way it's gonna be
-
- Verified User
- โพสต์: 358
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 9
ขอบคุณที่แจ้งข่าวครับ ขอทำความเข้าใจซะหน่อย แต่ตอนนี้ต้องไปหาข้อมูลเรื่องการยื่นภาษีในนามคณะบุคคลว่าทำอย่างไร
-
- Verified User
- โพสต์: 222
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 10
ปกติดอกเบี้ยเงินกู้ลดหย่อนได้ 100,000 บาท.. ปกติเมื่อก่อนถ้าสมรสแล้ว ต้องแบ่งกันลดหย่อนคนละครึ่ง (ไม่ว่าจะกู้เป็นชื่อใครก็ตาม)กรณีสามีภริยามีเงินได้ทั้งสองฝ่าย และต่างฝ่ายต่างมีสิทธิหัก ลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมอยู่ก่อนแล้ว ต่อมาสมรสกัน ให้ต่างฝ่ายต่างยังคงหักลดหย่อนดอกเบี้ย เงินกู้ยืมส่วนของตนได้ตามจานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ทั้งนี้ ไม่ว่าความเป็นสามีภริยา
จะได้มีอยู่ตลอดปีภาษีหรือไม่ก็ตาม
แต่พออ่านประกาศสรรพากรย่อหน้านี้แล้วงงเลยครับ หมายถึงอะไรครับ? 10,000 แรกใครกู้ก็ลดหย่อนไป แล้วที่เหลือ (90,000) แบ่งครึ่งเหมือนเดิม?? หรือคนกู้สามารถลดหย่อนได้เต็ม 100,000 เลยครับ?
expect unexpected
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 11
t_winyoo เขียน:ทำไมปันผลต้องเป็นคณะบุคคลครับ ไม่เข้าใจอะครับ อ่านแล้วก็ยัง งง งงอยู่jinyong เขียน:
+สำหรับนักลงทุนเรา รายได้ปันผล จะกลายเป็นคณะบุคคล แตกฐานออกไปอีก
ฯลฯ
ดูรายละเอียด ได้ตามนี้ครับ
http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/d ... 200955.pdf
ถ้า port หุ้นเป็นชื่อเรา ปันผลก็ชื่อเรา
ถ้าชัดเจนว่าเป็นของใคร ก็เป็นของคนนั้นครับ
....
ถ้าไม่ชัดเจน หรือเจตนาจะรวมกันเอง ก็จะถือเป็นคณะบุคคล เป็นอีกหนึ่งหน่วยภาษี
ซึ่งโดยปกติแล้ว เงินที่ซื้อหุ้น หรือ ฝากกินดอกเบี้ย ก็มักจะเป็นเงินเก็บของครอบครัว เพราะฉะนั้น มันก็จะแยกไม่ออกว่าเป็นของสามีหรือภรรยา
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 12
investor9000 เขียน:คำชี้แจง ก็ยังไม่ครบถ้วน ยังไม่ได้พูดถึง ค่าเบี้ยประกันในส่วนที่เกิน 10,000 บาท
และ LTF, RMF ส่วนที่เกิน 10,000 บาท ก็ไม่ได้พูดถึง
ค่าเบี้ยประกันในส่วนที่ไม่เกิน 10,000 ให้ซื้อให้กันได้ครับ เช่นสามีซื้อให้ภรรยา หรือภรรยาใช้เงินเก็บซื้อ 50,000 แต่ภรรยาไม่มีเงินได้ในปีนั้น สามีก็เอาส่วนของภรรยามาหักได้ 10,000
แต่ส่วนที่เกิน 10,000 จนถึงแสน นั้น ซึ่งถ้าคนทำประกันไม่มีเงินได้
ก็จะไม่มีเงินได้ให้ยกเว้นตามสภาพอยู่แล้ว
ส่วน ltf rmf นั้นได้เฉพาะผู้มีเงินได้ ซึ่งก็เหมือนเดิมอยู่แล้ว ไม่ได้เปลี่ยนแปลงก็คงไม่ต้องพูดถึงมั้งครับ
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 272
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 13
LTF RMF นั้นหักได้ไม่เกิน 15% ของรายได้ แต่ไม่เกิน 300,000
เมื่อก่อน เงินได้ภรรยาต้องรวมกับของสามี ซึ่งถ้ามีการซื้อ LTF หรือ RMF รวมแล้วเกิน 300,000 ก็จะหักได้แค่ 300,000
วันนี้ ถ้าแยกกันยื่น แต่ละคนสามารถยื่นของตัวเองได้ ไม่เกิน 300,000 หรือ รวมกันไม่เกิน 300,000
เมื่อก่อน เงินได้ภรรยาต้องรวมกับของสามี ซึ่งถ้ามีการซื้อ LTF หรือ RMF รวมแล้วเกิน 300,000 ก็จะหักได้แค่ 300,000
วันนี้ ถ้าแยกกันยื่น แต่ละคนสามารถยื่นของตัวเองได้ ไม่เกิน 300,000 หรือ รวมกันไม่เกิน 300,000
-
- Verified User
- โพสต์: 670
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 15
ยังงงๆ เรื่องเงินปันผลอยู่ครับ ผมว่าประกาศยังไม่ค่อยชัดในเรื่องนี้ เพราะเรื่องคณะบุคคล ผมอ่านดูแล้วเข้าใจว่า เป็นรายได้ที่สองคนทำร่วมกันและไม่สามารถแยกได้ชัดเจนว่าเป็นของใคร
แต่เงินปันผลระบุชื่อชัดเจนครับ
หรือผมตกหล่นอะไรไป
แต่เงินปันผลระบุชื่อชัดเจนครับ
หรือผมตกหล่นอะไรไป
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 17
wpong เขียน:คุณ jinyong ครับ
ต้องไปจดทะเบียนเป็นคณะบุคคลถึงจะยื่นเป็นคณะบุคคลได้ หรือใช้แค่ทะเบียนสมรสก็ถือว่าเป็นคณะบุคคลได้แล้วครับ
ขอบคุณมากครับ กระทู้นี้มีประโยชน์สำหรับผมมากครับ
...... คณะบุคคล มันเป็นโดยผลของการมีเงินได้ร่วมกันอยู่แล้ว ไม่ต้องจดทะเบียนอะไร
ก็แค่ไปขอเลขผู้เสียภาษีเท่านั้นเอง
ซึ่งก่อนหน้านี้ กรมสรรพากร ไม่ค่อยยอมออกเลขให้สำหรับคณะบุคคล แต่คราวนี้ก็คงต้องยอมมั้งครับ
ส่วนที่ว่า จะแจ้งโบรคให้ทำเป็นชื่อ 2 คนร่วมกัน เพื่อจะได้หัก ณ ที่จ่ายในชื่อร่วมกัน ได้ยังไง ผมก็ไม่เคยทำ ก็ไม่รู้รายละเอียดการปฏิบัติเหมือนกัน
ส่วนตัวผมฐานไม่สูง ก็ใช้ชื่อตัวเองต่อไป ขี้เกียจไปแจ้ง ครับ
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 3
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 21
จากการตีความ เงินปันผล ดอกเบี้ยเงินฝาก น่าจะของใครของมันค่ะ เพราะชื่อมันเขียนชัดเจนอยู่แล้วว่าเป็นเงินได้ของใคร ยกเว้นบัญชีที่เปิดเป็นชื่อร่วมสามีภรรยา ถึงจะเข้าคณะบุคคลสามีภรรยาได้
ส่วนคณะบุคคลสามีภรรยา น่าจะหมายถึง กิจการในครอบครัว เช่นเปิดร้านค้าขายร่วมกันมากกว่า
ที่ผ่านมา คณะบุคคลต้องไปแจ้งเรื่องกับสรรพากรก่อนด้วย เพื่อรับเลขประจำตัวผู้เสียภาษี คาดว่ากรณีนี้ก็เช่นกัน
ซึ่งมีทั้งข้อดีข้อเสีย คือได้แตกฐานภาษีเพิ่ม ส่วนข้อมูลรายได้ก็จะเข้าไปในระบบสรรพากรมากขึ้น
รายการหักลดหย่อนต่างๆ เห็นได้ชัดว่าลดลงอย่างชัดเจน ตีความแล้ว น่าจะได้แค่ ประกันฝ่ายละ 10,000 ดอกเบี้ยกู้บ้านถ้าชื่อกู้ร่วม หักได้สองคนรวมกัน10,000(คนละ5,000) ถ้าต่างคนต่างกู้ได้คนละ10,000
แต่ของพ่อแม่ให้เต็มที่ รวม4คน(พ่อ2 แม่2)ได้120,000
ลูก คนละ17,000นี่ได้กำไร เพราะหักได้ทั้งพ่อและแม่ สงสัยรัฐเริ่มสนับสนุนการมีลูกจากโครงสร้างประชากรไม่สมดุล
ปกส.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นี่ชัดเจน ของใครของมัน
RMF LTF เงินบริจาค ไม่พูดถึงเลย หวังว่าจะเหมือนเดิม
ในนี้ไม่ได้พูดถึงขั้นบันไดของภาษีเลย
ส่วนคณะบุคคลสามีภรรยา น่าจะหมายถึง กิจการในครอบครัว เช่นเปิดร้านค้าขายร่วมกันมากกว่า
ที่ผ่านมา คณะบุคคลต้องไปแจ้งเรื่องกับสรรพากรก่อนด้วย เพื่อรับเลขประจำตัวผู้เสียภาษี คาดว่ากรณีนี้ก็เช่นกัน
ซึ่งมีทั้งข้อดีข้อเสีย คือได้แตกฐานภาษีเพิ่ม ส่วนข้อมูลรายได้ก็จะเข้าไปในระบบสรรพากรมากขึ้น
รายการหักลดหย่อนต่างๆ เห็นได้ชัดว่าลดลงอย่างชัดเจน ตีความแล้ว น่าจะได้แค่ ประกันฝ่ายละ 10,000 ดอกเบี้ยกู้บ้านถ้าชื่อกู้ร่วม หักได้สองคนรวมกัน10,000(คนละ5,000) ถ้าต่างคนต่างกู้ได้คนละ10,000
แต่ของพ่อแม่ให้เต็มที่ รวม4คน(พ่อ2 แม่2)ได้120,000
ลูก คนละ17,000นี่ได้กำไร เพราะหักได้ทั้งพ่อและแม่ สงสัยรัฐเริ่มสนับสนุนการมีลูกจากโครงสร้างประชากรไม่สมดุล
ปกส.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นี่ชัดเจน ของใครของมัน
RMF LTF เงินบริจาค ไม่พูดถึงเลย หวังว่าจะเหมือนเดิม
ในนี้ไม่ได้พูดถึงขั้นบันไดของภาษีเลย
-
- Verified User
- โพสต์: 3
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หลักเกณฑ์การแยกเงินได้ สามี ภรรยา
โพสต์ที่ 22
จากการตีความ เงินปันผล ดอกเบี้ยเงินฝาก น่าจะของใครของมันค่ะ เพราะชื่อมันเขียนชัดเจนอยู่แล้วว่าเป็นเงินได้ของใคร ยกเว้นบัญชีที่เปิดเป็นชื่อร่วมสามีภรรยา ถึงจะเข้าคณะบุคคลสามีภรรยาได้
ส่วนคณะบุคคลสามีภรรยา น่าจะหมายถึง กิจการในครอบครัว เช่นเปิดร้านค้าขายร่วมกันมากกว่า
ที่ผ่านมา คณะบุคคลต้องไปแจ้งเรื่องกับสรรพากรก่อนด้วย เพื่อรับเลขประจำตัวผู้เสียภาษี คาดว่ากรณีนี้ก็เช่นกัน
ซึ่งมีทั้งข้อดีข้อเสีย คือได้แตกฐานภาษีเพิ่ม ส่วนข้อมูลรายได้ก็จะเข้าไปในระบบสรรพากรมากขึ้น
รายการหักลดหย่อนต่างๆ เห็นได้ชัดว่าลดลงอย่างชัดเจน ตีความแล้ว น่าจะได้แค่ ประกันฝ่ายละ 10,000 ดอกเบี้ยกู้บ้านถ้าชื่อกู้ร่วม หักได้สองคนรวมกัน10,000(คนละ5,000) ถ้าต่างคนต่างกู้ได้คนละ10,000
แต่ของพ่อแม่ให้เต็มที่ รวม4คน(พ่อ2 แม่2)ได้120,000
ลูก คนละ17,000นี่ได้กำไร เพราะหักได้ทั้งพ่อและแม่ สงสัยรัฐเริ่มสนับสนุนการมีลูกจากโครงสร้างประชากรไม่สมดุล
ปกส.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นี่ชัดเจน ของใครของมัน
RMF LTF เงินบริจาค ไม่พูดถึงเลย หวังว่าจะเหมือนเดิม
ในนี้ไม่ได้พูดถึงขั้นบันไดของภาษีเลย
ส่วนคณะบุคคลสามีภรรยา น่าจะหมายถึง กิจการในครอบครัว เช่นเปิดร้านค้าขายร่วมกันมากกว่า
ที่ผ่านมา คณะบุคคลต้องไปแจ้งเรื่องกับสรรพากรก่อนด้วย เพื่อรับเลขประจำตัวผู้เสียภาษี คาดว่ากรณีนี้ก็เช่นกัน
ซึ่งมีทั้งข้อดีข้อเสีย คือได้แตกฐานภาษีเพิ่ม ส่วนข้อมูลรายได้ก็จะเข้าไปในระบบสรรพากรมากขึ้น
รายการหักลดหย่อนต่างๆ เห็นได้ชัดว่าลดลงอย่างชัดเจน ตีความแล้ว น่าจะได้แค่ ประกันฝ่ายละ 10,000 ดอกเบี้ยกู้บ้านถ้าชื่อกู้ร่วม หักได้สองคนรวมกัน10,000(คนละ5,000) ถ้าต่างคนต่างกู้ได้คนละ10,000
แต่ของพ่อแม่ให้เต็มที่ รวม4คน(พ่อ2 แม่2)ได้120,000
ลูก คนละ17,000นี่ได้กำไร เพราะหักได้ทั้งพ่อและแม่ สงสัยรัฐเริ่มสนับสนุนการมีลูกจากโครงสร้างประชากรไม่สมดุล
ปกส.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นี่ชัดเจน ของใครของมัน
RMF LTF เงินบริจาค ไม่พูดถึงเลย หวังว่าจะเหมือนเดิม
ในนี้ไม่ได้พูดถึงขั้นบันไดของภาษีเลย