MoneyTalk@SET21/4/62หุ้นเด่น&การเมืองกับหุ้นไทยปี62
โพสต์แล้ว: จันทร์ เม.ย. 22, 2019 12:54 am
Moneytalk@SET 21/4/62
ช่วงที่ 1 “หุ้นเด่นหลังสงกรานต์”
1. คุณ ประเสริฐ มริตตนะพร / กรรมการ บมจ. ช.การช่าง (CK)
2. คุณ ชาญวิทย์ อนัคกุล / ประธานคณะเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.พริมา มารีน (PRM)
3. คุณ สุวิทย์ ยอดจรัส / ประธานกรรมการบริหาร บมจ.สหการประมูล (AUCT)
อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ และ นพ.ศุภศักดิ์ หล่อธนวณิชย์ ดำเนินรายการ
ภาพรวมการดำเนินธุรกิจ
CK
ช.การช่าง ก่อตั้งมาเกือบ 50 ปี ตัว ช. รากฐานจากภาษาจีน คือ ความเชี่ยวชาญ ช่ำชอง
ธุรกิจเริ่มจากก่อสร้างงานทหารจนไปร่วมกับต่างประเทศ, ทำสะพานแขวน, สร้างทางด่วน
รถไฟฟ้าใต้ดิน, สร้างมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศ, สร้างโรงน้ำประปา ให้บริษัท TTW,
สร้างเขื่อน/ฝายน้ำล้นในลาว เช่น น้ำงึม 2, สร้างตึกอาคารหลายแห่ง
เช่น Energy complex ปตท.,การไฟฟ้านครหลวง
ปัจจุบันงานหลักคือ ไซยบุรีที่ลาว มูลค่างานเกือบ 1 แสนล้านบาท, รฟฟ.ใต้ดิน
สายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย ส่วนของสถานีสนามชัย,อิสรภาพ เป็นรถไฟฟ้าใต้ดิบอันแรกที่ทำอุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา
งานระบบการจัดหารถไฟฟ้า เป็นหน้าที่ BEM เดือน ทยอยเข้าทดสอบ
ตั้งแต่ เม.ย.62 ถึง มี.ค.63 จนครบ 35 ขบวน
โปรเจค 2 ล้านล้านคงทยอยเข้ามาเรื่อยๆ ที่คาดว่ากำลังจะประมูลเร็วๆนี้ เช่น
- ทางด่วนพระราม 3 มูลค่า 3-4 หมื่นล้าน มี 5 สัญญา กำลังจะประมูล 4 สัญญาเป็นงานโยธา เราจะเข้าร่วมประมูล
- รถไฟฟ้าสายม่วงใต้ เตาปูน-ราษฏร์บูรณะ 7.7 หมื่นล้านบาท อยู่ระหว่าง EIA รอประมูลเร็วๆนี้
- สายสีส้มใหม่ ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรม 9 หมื่นกว่าล้านบาท (ปัจจุบันทำงานสายสีส้ม ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี progress 20%)
- โครงการรถไฟทางคู่ 4-5 สัญญา เช่น จิระ-อุบล (ปัจจุบันทำ จิระ-ขอนแก่นอยู่)
คู่แข่งที่จะประมูลก็ต้องมียื่นคุณสมบัติ เช่น ประสบการณ์, งบการเงิน เป็นต้น
ถ้าเทียบต่างชาติเราก็มีประสบการณ์และเครื่องมือความพร้อมต่างๆอยู่แล้ว
มีบางโครงการใหญ่ก็ร่วมลงทุนกับเจ้าอื่น เช่น ลงทุนร่วมกับ CP, CK 5%, BEM 10%
ไซยบุรี ทดสอบแล้ว และขายไฟฟ้าบางส่วน เหลือแค่ติดตั้งเทอร์ไบน์ให้ครบ ในสิ้นเดือน ต.ค.62
และขายไฟฟ้า EGAT 95% ขายให้ลาว 5% 7.7 พันล้านหน่วย คิดเป็น รายได้ 1.5 หมื่นล้านบาทต่อปี
ไซยบุรีเป็นบ.ลูก CKP (CKP ถือ 37.5% ในไซยบุรี)
ปัจจุบันมี Backlog ราว 5 หมื่นล้านบาท ทยอยรับรู้ปีละ 2-3 หมื่นล้านบาท
ซึ่งก็ต้องประมูลรับโครงการใหม่เข้ามาเพิ่มเติม
มีกำลังพล และสถาบันการเงินพร้อมสนับสนุน
PRM
มี 4 ธุรกิจหลัก
1) ขนส่งน้ำมันดิบ/น้ำมันสำเร็จรูป ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เช่น จาก ระยอง ไป กทม./ภูเก็ต/สงขลา, น้ำมันสำเร็จรูป
เช่น high speed diesel, gasohol95, น้ำมันเครื่องบิน เป็นต้น
เดิมมีเรือ 13 ลำ รวมระวาง 4 หมื่นกว่าตัน
เรามีการปรับเปลี่ยนพอร์ตโฟลิโอ แล้วไป takeover บริษัท Big Sea บริษัทเรืออันดับ 2
ในการขนส่งในประเทศ และทำให้ net profit margin ปีที่ผ่านมาได้ใกล้เคียงกับปี 60
ปริมาณเรือจาก 13 ลำเป็น 26 ลำ ทำให้ขยายกำลังขนส่งทันที,
มีคนประจำเรือที่มีประสบการณ์ทันที(ทั่วไปใช้เวลา 2-5 ปี กัปตันเรือ 10 ปี)
รับรู้รายได้และได้กลุ่มลูกค้าจาก Big sea ทันที
เช่น เชลล์,เชฟรอน,บางจาก และ ปตท. บางส่วน
ทำให้ขยายปริมาณขนส่งจาก 37% เป็น 49%
การเข้าซื้อเป็นการทยอยซื้อโดยมี commit เงื่อนไขเรื่องกำไรที่Big sea จะทำได้
ปีแล้วซื้อ 70% ซึ่งทำได้ดีกว่าเป้า 5 ล้านบาท
ปีนี้แผนซื้อ ก.ค. 10% และปีถัดไปอีก 10% โดยมี commit ในเรื่องกำไรที่จะทำได้
แม้เป็นเจ้าใหญ่ในตลาด แต่ก็ให้ความสำคัญให้มีการแข่งขันตามกลไกตลาด
ให้พนักงานทำงานมีประสิทธิภาพการทำงาน,มีความปลอดภัย
2) ธุรกิจเรือกักเก็บน้ำมัน(FSU) ทั้งน้ำมันดิบ และน้ำมันเตา มีไว้สำหรับกักเก็บน้ำมันเพื่อทำกำไรจากราคา
อย่างน้ำมันเตาปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนนโยบายจีนในการผลิตน้ำมันเตา
ทำให้ น้ำมันดิบเข้าไปใช้ในโรงกลั่นเลยโดยไม่ต้องกักเก็บ ทำให้ธุรกิจส่วนนี้ของเราตกต่ำลง
3) การให้บริการ offshore แท่นที่ผลิตต้องเก็บน้ำมันไว้ก่อน
4) เรือที่พักอาศัย ให้คนทำงานในทะเล ทำงาน 14 วัน อยู่อาศัย
รวมถึงธุรกิจบริหารจัดการเรือ ให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ดูแลรักษาอย่างดี มีความปลอดภัย
เรียงลำดับรายได้จากสูงสุดไปต่ำสุด เรือกักเก็บน้ำมัน,เรือขนส่ง,ให้บริการที่พักและบริหารจัดการ
เปรียบเทียบอัตรากำไร เรือกักเก็บน้ำมันลอยน้ำดีกว่าเรือขนส่ง
เรือใหญ่เวลาได้รายได้เยอะ เจ็บก็เจ็บเยอะ แต่เรือเล็กเหมือนหนูถีบจักร
ตัวที่เป็นเรือขนส่งในประเทศจะเสถียรกว่า เติบโต และทำกำไรได้ดี
อย่างปีที่แล้วเรือขนส่งในประเทศกำไรเติบโต 80% เกิดจากการบริหารจัดการ
1) มีการขนสินค้ากลับซึ่งทำกำไรได้ดี
2) เพิ่มเรือใหม่ เช่น ร่องน้ำเจ้าพระยา เรือที่ออกแบบใหม่ขนส่งเพิ่มได้จาก 2 เป็น 3 ล้านลิตร
มีการขายเรือเก่าทิ้ง ซึ่งมีการสั่งซื้อล่วงหน้า
เรือ floating storage เรารับจ้างเก็บ ไม่มีความเสี่ยงเรื่องราคาน้ำมัน
ธุรกิจเรือที่พัก – ถ้าหาก ปตท.ซื้อในส่วนของเชฟรอนทั้งหมดในอีก 2 ปีข้างหน้า
จะมีโอกาสสำหรับเรา ซึ่งได้ศึกษาและเตรียมการไว้แล้ว
AUCT
สหการประมูลดำเนินการมา 27 ปี เข้าตลาดหลักทรัพย์มาเป็นปีที่ 6
ธุรกิจเมื่อก่อนไม่มีคนรู้จัก ซึ่งเรายังไม่เคยมีปีไหนที่ขาดทุน
ปีที่เศรษฐกิจในประเทศมีปัญหา เรากลับได้อาณิสงค์บวก
หลังปี 40 มีวิกฤติเศรษฐกิจ เรามีเพิ่มประมูลอสังหา,บ้าน,ที่ดิน,คอนโด
ทำให้มีประสบการณ์ในการประมูลเพิ่มขึ้น
ตอนเข้าตลาดหลักทรัพย์เรานิยามตัวเองว่าเป็น
การซื้อขายประเภทหนึ่งที่จะสร้าง fair value
นอกจากนั้นเราได้เป็นผู้ดำเนินการประมูลคลื่น 4G ให้กับ กสทช.
ทำให้ได้ราคาที่ดี และ good governance
เราจึงวางตัวเป็นผู้ให้บริการกิจกรรมการประมูลทุกประเภท
สัดส่วนรายได้เมื่อก่อน 90% คือรถยนต์ ปัจจุบัน รถยนต์ 76% รถมอเตอร์ไซค์ 10%
ถัดมาเป็นค่าขนส่ง ซึ่งจ้างบริษัทอื่นดำเนินการ ปีหนึ่งขนส่งรถราว 1 แสนคัน
ช่วงที่ผ่านมาการค้าขายเป็นแบบ B2B
ขาเข้าเป็นรถที่เข้าสถาบันการเงินยึดเข้ามา และผู้มาประมูลพ่อค้าเต็นท์รถ
เราเห็นว่ามีรถใหม่ 1 ล้านคันต่อปี 10 ปีก็ 10 ล้านคัน
ดังนั้นรถหมุนเวียนมือสองใน 5 ปีคือ 5 ล้านคัน กำไรหลักร้อยล้าน
เรามองว่าตลาด B2C ลูกค้าที่จะซื้อขายรถมือสองใหญ่กว่าเป็น 10 เท่า
ซึ่งเราเตรียมความพร้อมมา 5 ปีแล้ว เราสร้าง application สื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
เราออกโปรแกรมประมูล online เป็นเวบไซต์ และสร้าง greenbook เป็นราคากลางรถ
เรามีการประมูลทุกสาขาทุกวัน เราจึงน่าจะเป็นคนที่สามารถทำ big data
และ share ราคารถมือสองให้กับผู้เกี่ยวข้องใน supply chain ได้ ซึ่งทำให้เราเชื่อมต่อกับผู้บริโภคโดยตรงได้
รถเมืองไทย ราคาแพงที่สุดในโลก เพราะมีภาษีบวกเข้าไปเยอะ
ถ้าหากขายรถเมืองไทยใช้แล้วไปต่างประเทศจะยากมาก
การซื้อรถมือสอง 90% ผ่าน finance การประมูลรถมือสองได้ ต้องทราบราคาล่วงหน้า
ถ้าหากดูในเวบไซต์ต่างๆ ราคาที่เห็นในเวบ กับราคาจริงต่างกันอย่างน้อย 30%
หากไปดูใน application ของเราจะเห็นราคาทุกวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
เอาไปคำนวณ และไปคุยกับ finance เพื่อขอยอดมาประมูลได้
เราต้องสร้างบริการรองรับให้ครบถ้วนคือความสะดวกสบาย
เราเชื่อว่า greenbook มีความแม่นยำที่สุดในประเทศไทย
อย่าง Super car เรามีประมูลปีละ 2 ครั้งให้กับกรมศุลากากร
พวกนี้ถ้าสมองกลหายไปขับไม่ได้ เป็นอะไรที่ละเอียดอ่อน
ถ้าประมูลที่กรมศุลากร ขับใครเบนซ์ได้ก็ขับเบนท์ลี่ได้
ซึ่งถ้าประมูลผ่านเราจะสบายใจว่าขับได้
เดิมมีลูกค้าเป็นเต็นท์รถ 7 พันราย ปัจจุบันทำมา 3 ปีที่เป็นลูกค้า end user
เพิ่มปีละ 1 หมื่นล้านสะสมไว้ก่อน ซึ่งที่มาประมูล online กับเรา จบประมูลได้ 10%
สิ่งที่ลูกค้าจะได้คือ ราคาที่ดี,บริการตรวจสภาพให้ ซึ่งมีคนกลางจะสบายใจกว่าผู้ขาย
ปัจจุบันมีเงินสดเยอะไม่มีหนี้ เอาไว้ไปขยายบริการตรวจสภาพ
ภาพข้อมูลทั่วไปจะเข้าใจว่ารถยึดจากธนาคารชะลอตัวลง
แต่สิ่งทีเกิดขึ้นมียอดยึดรถมากขึ้น และยอดประมูลสูงขึ้น
รายได้มาจากการประมูลต่อคัน ไม่ขึ้นกับประเภทของรถ
รถยนต์ 8,000 บาท, มอเตอร์ไซค์ 1,500 บาท ซึ่งเราไม่คิดจะปรับราคาเพิ่ม
ปัจจุบัน Market share เราได้เพิ่มเพราะคู่แข่งเพิ่มราคาประมูล
___________________________________________________________________
ผลดำเนินงานที่ผ่านมาและแนวโน้ม
CK
รายได้ก่อสร้าง 2.9 หมื่นล้านบาท รายได้รวม 3.1 หมื่นล้านบาท กำไร 2400 ล้านบาท
ก่อสร้างคงข้างคงที่ แต่มีกำไรขายเงินลงทุนบริษัทลูก
มี backlog 5 หมื่นล้านบาท และคิดว่าจะมีประมูลงานอีกหลายโครงการ
โดยตัวแม่น่าจะมีรายได้ 2-3 หมื่นล้านบาท ตัวลูกก็คาดว่ารายได้จะขยับขึ้น
BEM ปีก่อน 1.9 หมื่นล้านบาท(มีขายเงินลงทุน)
ทางด่วนเรามีผู้ใช้บริการ 1.2 ล้านเที่ยวต่อวัน
เรื่องข้อตกลงขยายอายุสัมปทาน ศาลตัดสินใจแล้ว
ข้อเสนออยู่ระหว่างการพิจารณาของการทางพิเศษฯ(กทพ.)
การตัดสินอาจจะขยายอายุสัมปทาน หรือจ่ายเงิน
ถ้าขยายอายุสัมปทาน เรื่องอัตรากำไรที่จะได้ต้องรอดูอีกที
แต่ปริมาณรถยนต์ในอนาคตคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ปัจจุบันคนใช้ easypass ยังน้อยอยู่
รถไฟฟ้าใต้ดินปริมาณผู้โดยสาร 3.2 แสนคนต่อวัน จาก 2 แสนกว่าเมื่อ 4-5 ปีก่อน
ต่อไปยิ่งขยายออกไปนอกเมืองก็จะมีคนเพิ่มขึ้น และทำให้สายวงกลมข้างในเพิ่มขึ้น
TTW รายได้ 6 พันล้านบาท
กำลังผลิตสูงสุด TTW เพิ่มจาก 3 เป็น 5.4 แสนคิวต่อวัน
ประปาปทุมฯ 1.8 เป็น 4.8 แสนคิวต่อวัน
มีการเพิ่มกำลังผลิต และปริมาณการใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
CKP รายได้ 8 พันล้านบาท
มีรายได้หลักจากเขื่อนน้ำงึมเป็นหลัก
กำลังผลิตราวจะเพิ่มจาก 1000 เป็น 2100 MW
การทดลองเดินเทอร์ไบน์เรียบร้อยดี คิดว่าจะสามารถเพิ่มกำลังผลิตได้ตามแผน
ภาพข้างหน้ายังมีโครงการในลาวที่น่าจะลงทุนได้อีกหลายแห่ง เป็นหมื่นMW
รวมถึงในพม่าก็น่าจะมีโครงการที่ลงทุนได้
และจะแผนเกี่ยวกับโซลาร์บางส่วน
CK มีพนักงานราว 2 พันคน เรื่องกฏหมายการตั้งสำรองเกษียณ
มีผลกระทบกับต้นทุนบ้าง แต่มีตั้งสำรองตั้งแต่ปี 61 แล้ว
งานก่อสร้างคำนึงถึงสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย
อย่าง PM 2.5 ช่วงที่ผ่านมา มีการหยุดทำงานบางวัน,พรมน้ำและเปิดพื้นที่ให้จราจรผ่านไปได้
ปีนี้บริษัทลูกดีขึ้นหมด ปีนี้ rating จากเดิม A- stable ปรับเป็น A stable
PRM
ปี 61 ปรับพอร์ตรายได้เน้นเรือขนส่งในประเทศหรือเรือที่เดินประเทศใกล้เคียง
ซึ่งอัตรากำไรโต 120% โดยหักบิ๊กซีไป ธุรกิจ prm เดิมโต 80%
เรือขนส่งขนาดใหญ่ที่วิ่งระหว่างประเทศปรับกลยุทธ์ให้เช่าเป็นเที่ยว / ให้เช่าตามระยะเวลา
ทำให้ผลกำไรเกือบ Breakeven แต่ก็ยังไม่มีกำไร
ซึ่งจะทำสัญญาระยะยาวไม่ได้ทำเป็นปี ทำเป็นช่วง
โดยคอยประเมินจากสถานการณ์ตลาดสำหรับเรือแสนตันในปีนี้และข้างหน้า
เรือกักเก็บน้ำมัน ปีที่ผ่านมาเป็นช่วงปรับตัว มองถึงปีถัดไปเรื่องน้ำมันกำมะถันต่ำ
เดิมวางไว้ว่าจะเห็นผลในไตรมาส 2 แต่ปลายปี 61 ก็มีลูกค้าเข้ามาจองเรือแล้ว
ลูกค้าเข้ามาจองเรือ 5 ลำเต็ม 100% ซึ่งลูกค้าต้องการเพิ่ม
ตอนนี้มีเรือ VLCC ที่เพิ่มมาใหม่จะเข้าเดือน เม.ย. และ พ.ค.
รวมเรือ 3 แสนตันจะเข้ามาเป็น 7 ลำ เป็น utilization ทั้งหมด
เห็นได้ชัดว่า FSU ดีขึ้นอย่างชัดเจนมาจาก
จากกฏข้อบังคับองค์กรการเรือระหว่างประเทศให้เรือทุกลำตั้งแต่ปี 2020
ต้องใช้น้ำมันที่มีซัลเฟอร์ต่ำ ซึ่งมีผลกระทบกับการเกิดฝนกรด
เรือขนส่งในประเทศ มีแผนรับเรือใหม่ทั้งหมด 6 ลำ
- เรือ 5 พันตัน 1 ลำ รับไปแล้วเดือนมี.ค. 62
- เรือ 3 พันตัน 5 ลำ ภายในมิ.ย.62 ตอนนี้รับมาแล้ว 2 ลำ
ไตรมาส 4 ปี 62 เรือ 5 หมื่นตัน อีก 1 ลำ สำหรับขนน้ำมันในประเทศ
รายได้เติบโตไม่ต่ำ 15-20% กำไรโตพอๆกัน
ซึ่งเราก็มีการจัดการความเสี่ยงในด้านต่างๆ
เทคนิค - เรือแบบไหน,ผสมน้ำมันแบบไหน
Compliance - ต้องได้ตามข้อบังคับสากลและกรมเจ้าท่า
Finance - ดูออกไปข้างหน้าไกล
ตลาด - ถ้ายังไม่มา อย่าทำธุรกิจ ให้ลูกค้า confirm กับเราก่อนจึงขยายเรือ
อย่าง VLCC ราคาเกือบ 1 พันล้าน/ลำ เรือ3พันตัน ต่อใหม่ 260 ล้านบาท/ลำ
มีโอกาสdisruption จากการที่เราผูกกับน้ำมันไหม เช่น เปลี่ยนมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า
มีการศึกษาธุรกิจต่อยอด อย่างไรก็ตามน้ำมันยังมีการเติบโต ยังมีการใช้งาน
เรื่องการท่อต่อผ่านทะเล มีการศึกษาเยอะ อย่างคอคอดกระก็ศึกษามานานแล้ว แต่ยังไม่เกิด
เงินสดและปันผล บริษัทมีการทำ cashflow ล่วงหน้าเป็น 10 ปี ปันผลปีนี้ 12 สตางค์ต่อหุ้น
คิดเป็นปันผล 90% กว่าของกำไร ตามนโยบายคือไม่น้อยกว่า 30%
AUCT
แนวโน้มการใช้รถในประเทศไทยเพิ่มขึ้น
การขนส่งมวลชนในไทยอย่างขาดอีกเยอะ
จึงยังต้องใช้งานรถในแนวราบ
การซื้อรถยนต์ปัจจุบันผ่าน finance 90% ขัดแย้งระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้
มีกฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค จึงทำให้ auct มีโอกาสเข้าไปดูแลกลุ่มนี้
ลูกค้าแบงค์เดิมเคยให้รถเรา 70% ตอนนี้กลายเป็นเกือบ 100%
ซึ่งเรามี good governance มีการบริหารความเสี่ยงต่างๆได้ดี
ปี 61 รายได้เพิ่ม 23% กำไรเพิ่ม 64% และกำไรต่อหุ้น 0.3 บาท , ปันผลเกือบหมด
เพราะมี cashflow เกินกำไรอยู่แล้ว ไม่ได้ขาดเงินสดในการขยาย นโยบายปันผลไม่น้อยกว่า 40%
จาก 3 เดือนแรกถ้าคิดไปถึงสิ้นปีเราน่าจะเกินเป้า
ยังไม่รวมกิจกรรมพิเศษเกี่ยวกับการตรวจสภาพ
เม.ย.-พ.ค. จะทำสถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ). ที่ทันสมัยที่สุดในไทย
โดยใช้เครื่องมือแบบตรวจสอบรถแข่ง วัดแรงม้า,วัดช่วงล่าง
คนที่มาซื้อรถจากเราจะรับรองให้ คิดค่าบริการ 400 บาท
ปกติ ตรอ.ทั่วไปคิด 200 บาท
ตอนนี้สัดส่วนรายได้ยังเกิดจาก B2B เป็นหลัก
ราคารถสภาพดี ปีต่ำ แทนที่จะได้ราคาไม่ดี จะได้ราคาที่ยุติธรรม
เชื่อว่าทุกคนจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็อยากได้
วางแผนงบประมาณ 62 จะมีค่าใช้จ่ายทำการตลาด B2C
พอ ม.ค. มาประเมินสถานการณ์การเมือง,สภาพแวดล้อมต่างๆ
จึงตัดลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ออกไป
วันนี้ใช้ค่าใช้จ่ายการตลาดทางอ้อมซึ่งได้ผลมากกว่า
วันที่แนวโน้มเศรษฐกิจชัดเจน
ดีกว่าเป้า แต่ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าเป้า
การตรวจสภาพถ้าไม่ทำเองวันนี้จะเสียลูกค้าไป
การประมูล 5G ถ้ามีคิดว่าเราจะเป็นทางเลือกหนึ่ง เพราะเรามีคุณสมบัติเคยทำ มีเทคโนโลยี
แต่วันนี้ทุกคนยังงงกันอยู่ มันมีหลายมิติ เช่น 4G ต้องเอาคลื่นคืนจาก TV digital ด้วย
มองโอกาสถ้า 5G มาถึงคนจะประมูลจากที่ไหนก็ได้
เช่น ดูทีวีจากที่บ้านเห็นภาพ3มิติที่ช่วยประมูลได้เลย
[To be continue Part 2 ]
ช่วงที่ 1 “หุ้นเด่นหลังสงกรานต์”
1. คุณ ประเสริฐ มริตตนะพร / กรรมการ บมจ. ช.การช่าง (CK)
2. คุณ ชาญวิทย์ อนัคกุล / ประธานคณะเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.พริมา มารีน (PRM)
3. คุณ สุวิทย์ ยอดจรัส / ประธานกรรมการบริหาร บมจ.สหการประมูล (AUCT)
อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ และ นพ.ศุภศักดิ์ หล่อธนวณิชย์ ดำเนินรายการ
ภาพรวมการดำเนินธุรกิจ
CK
ช.การช่าง ก่อตั้งมาเกือบ 50 ปี ตัว ช. รากฐานจากภาษาจีน คือ ความเชี่ยวชาญ ช่ำชอง
ธุรกิจเริ่มจากก่อสร้างงานทหารจนไปร่วมกับต่างประเทศ, ทำสะพานแขวน, สร้างทางด่วน
รถไฟฟ้าใต้ดิน, สร้างมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศ, สร้างโรงน้ำประปา ให้บริษัท TTW,
สร้างเขื่อน/ฝายน้ำล้นในลาว เช่น น้ำงึม 2, สร้างตึกอาคารหลายแห่ง
เช่น Energy complex ปตท.,การไฟฟ้านครหลวง
ปัจจุบันงานหลักคือ ไซยบุรีที่ลาว มูลค่างานเกือบ 1 แสนล้านบาท, รฟฟ.ใต้ดิน
สายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย ส่วนของสถานีสนามชัย,อิสรภาพ เป็นรถไฟฟ้าใต้ดิบอันแรกที่ทำอุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา
งานระบบการจัดหารถไฟฟ้า เป็นหน้าที่ BEM เดือน ทยอยเข้าทดสอบ
ตั้งแต่ เม.ย.62 ถึง มี.ค.63 จนครบ 35 ขบวน
โปรเจค 2 ล้านล้านคงทยอยเข้ามาเรื่อยๆ ที่คาดว่ากำลังจะประมูลเร็วๆนี้ เช่น
- ทางด่วนพระราม 3 มูลค่า 3-4 หมื่นล้าน มี 5 สัญญา กำลังจะประมูล 4 สัญญาเป็นงานโยธา เราจะเข้าร่วมประมูล
- รถไฟฟ้าสายม่วงใต้ เตาปูน-ราษฏร์บูรณะ 7.7 หมื่นล้านบาท อยู่ระหว่าง EIA รอประมูลเร็วๆนี้
- สายสีส้มใหม่ ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรม 9 หมื่นกว่าล้านบาท (ปัจจุบันทำงานสายสีส้ม ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี progress 20%)
- โครงการรถไฟทางคู่ 4-5 สัญญา เช่น จิระ-อุบล (ปัจจุบันทำ จิระ-ขอนแก่นอยู่)
คู่แข่งที่จะประมูลก็ต้องมียื่นคุณสมบัติ เช่น ประสบการณ์, งบการเงิน เป็นต้น
ถ้าเทียบต่างชาติเราก็มีประสบการณ์และเครื่องมือความพร้อมต่างๆอยู่แล้ว
มีบางโครงการใหญ่ก็ร่วมลงทุนกับเจ้าอื่น เช่น ลงทุนร่วมกับ CP, CK 5%, BEM 10%
ไซยบุรี ทดสอบแล้ว และขายไฟฟ้าบางส่วน เหลือแค่ติดตั้งเทอร์ไบน์ให้ครบ ในสิ้นเดือน ต.ค.62
และขายไฟฟ้า EGAT 95% ขายให้ลาว 5% 7.7 พันล้านหน่วย คิดเป็น รายได้ 1.5 หมื่นล้านบาทต่อปี
ไซยบุรีเป็นบ.ลูก CKP (CKP ถือ 37.5% ในไซยบุรี)
ปัจจุบันมี Backlog ราว 5 หมื่นล้านบาท ทยอยรับรู้ปีละ 2-3 หมื่นล้านบาท
ซึ่งก็ต้องประมูลรับโครงการใหม่เข้ามาเพิ่มเติม
มีกำลังพล และสถาบันการเงินพร้อมสนับสนุน
PRM
มี 4 ธุรกิจหลัก
1) ขนส่งน้ำมันดิบ/น้ำมันสำเร็จรูป ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เช่น จาก ระยอง ไป กทม./ภูเก็ต/สงขลา, น้ำมันสำเร็จรูป
เช่น high speed diesel, gasohol95, น้ำมันเครื่องบิน เป็นต้น
เดิมมีเรือ 13 ลำ รวมระวาง 4 หมื่นกว่าตัน
เรามีการปรับเปลี่ยนพอร์ตโฟลิโอ แล้วไป takeover บริษัท Big Sea บริษัทเรืออันดับ 2
ในการขนส่งในประเทศ และทำให้ net profit margin ปีที่ผ่านมาได้ใกล้เคียงกับปี 60
ปริมาณเรือจาก 13 ลำเป็น 26 ลำ ทำให้ขยายกำลังขนส่งทันที,
มีคนประจำเรือที่มีประสบการณ์ทันที(ทั่วไปใช้เวลา 2-5 ปี กัปตันเรือ 10 ปี)
รับรู้รายได้และได้กลุ่มลูกค้าจาก Big sea ทันที
เช่น เชลล์,เชฟรอน,บางจาก และ ปตท. บางส่วน
ทำให้ขยายปริมาณขนส่งจาก 37% เป็น 49%
การเข้าซื้อเป็นการทยอยซื้อโดยมี commit เงื่อนไขเรื่องกำไรที่Big sea จะทำได้
ปีแล้วซื้อ 70% ซึ่งทำได้ดีกว่าเป้า 5 ล้านบาท
ปีนี้แผนซื้อ ก.ค. 10% และปีถัดไปอีก 10% โดยมี commit ในเรื่องกำไรที่จะทำได้
แม้เป็นเจ้าใหญ่ในตลาด แต่ก็ให้ความสำคัญให้มีการแข่งขันตามกลไกตลาด
ให้พนักงานทำงานมีประสิทธิภาพการทำงาน,มีความปลอดภัย
2) ธุรกิจเรือกักเก็บน้ำมัน(FSU) ทั้งน้ำมันดิบ และน้ำมันเตา มีไว้สำหรับกักเก็บน้ำมันเพื่อทำกำไรจากราคา
อย่างน้ำมันเตาปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนนโยบายจีนในการผลิตน้ำมันเตา
ทำให้ น้ำมันดิบเข้าไปใช้ในโรงกลั่นเลยโดยไม่ต้องกักเก็บ ทำให้ธุรกิจส่วนนี้ของเราตกต่ำลง
3) การให้บริการ offshore แท่นที่ผลิตต้องเก็บน้ำมันไว้ก่อน
4) เรือที่พักอาศัย ให้คนทำงานในทะเล ทำงาน 14 วัน อยู่อาศัย
รวมถึงธุรกิจบริหารจัดการเรือ ให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ดูแลรักษาอย่างดี มีความปลอดภัย
เรียงลำดับรายได้จากสูงสุดไปต่ำสุด เรือกักเก็บน้ำมัน,เรือขนส่ง,ให้บริการที่พักและบริหารจัดการ
เปรียบเทียบอัตรากำไร เรือกักเก็บน้ำมันลอยน้ำดีกว่าเรือขนส่ง
เรือใหญ่เวลาได้รายได้เยอะ เจ็บก็เจ็บเยอะ แต่เรือเล็กเหมือนหนูถีบจักร
ตัวที่เป็นเรือขนส่งในประเทศจะเสถียรกว่า เติบโต และทำกำไรได้ดี
อย่างปีที่แล้วเรือขนส่งในประเทศกำไรเติบโต 80% เกิดจากการบริหารจัดการ
1) มีการขนสินค้ากลับซึ่งทำกำไรได้ดี
2) เพิ่มเรือใหม่ เช่น ร่องน้ำเจ้าพระยา เรือที่ออกแบบใหม่ขนส่งเพิ่มได้จาก 2 เป็น 3 ล้านลิตร
มีการขายเรือเก่าทิ้ง ซึ่งมีการสั่งซื้อล่วงหน้า
เรือ floating storage เรารับจ้างเก็บ ไม่มีความเสี่ยงเรื่องราคาน้ำมัน
ธุรกิจเรือที่พัก – ถ้าหาก ปตท.ซื้อในส่วนของเชฟรอนทั้งหมดในอีก 2 ปีข้างหน้า
จะมีโอกาสสำหรับเรา ซึ่งได้ศึกษาและเตรียมการไว้แล้ว
AUCT
สหการประมูลดำเนินการมา 27 ปี เข้าตลาดหลักทรัพย์มาเป็นปีที่ 6
ธุรกิจเมื่อก่อนไม่มีคนรู้จัก ซึ่งเรายังไม่เคยมีปีไหนที่ขาดทุน
ปีที่เศรษฐกิจในประเทศมีปัญหา เรากลับได้อาณิสงค์บวก
หลังปี 40 มีวิกฤติเศรษฐกิจ เรามีเพิ่มประมูลอสังหา,บ้าน,ที่ดิน,คอนโด
ทำให้มีประสบการณ์ในการประมูลเพิ่มขึ้น
ตอนเข้าตลาดหลักทรัพย์เรานิยามตัวเองว่าเป็น
การซื้อขายประเภทหนึ่งที่จะสร้าง fair value
นอกจากนั้นเราได้เป็นผู้ดำเนินการประมูลคลื่น 4G ให้กับ กสทช.
ทำให้ได้ราคาที่ดี และ good governance
เราจึงวางตัวเป็นผู้ให้บริการกิจกรรมการประมูลทุกประเภท
สัดส่วนรายได้เมื่อก่อน 90% คือรถยนต์ ปัจจุบัน รถยนต์ 76% รถมอเตอร์ไซค์ 10%
ถัดมาเป็นค่าขนส่ง ซึ่งจ้างบริษัทอื่นดำเนินการ ปีหนึ่งขนส่งรถราว 1 แสนคัน
ช่วงที่ผ่านมาการค้าขายเป็นแบบ B2B
ขาเข้าเป็นรถที่เข้าสถาบันการเงินยึดเข้ามา และผู้มาประมูลพ่อค้าเต็นท์รถ
เราเห็นว่ามีรถใหม่ 1 ล้านคันต่อปี 10 ปีก็ 10 ล้านคัน
ดังนั้นรถหมุนเวียนมือสองใน 5 ปีคือ 5 ล้านคัน กำไรหลักร้อยล้าน
เรามองว่าตลาด B2C ลูกค้าที่จะซื้อขายรถมือสองใหญ่กว่าเป็น 10 เท่า
ซึ่งเราเตรียมความพร้อมมา 5 ปีแล้ว เราสร้าง application สื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
เราออกโปรแกรมประมูล online เป็นเวบไซต์ และสร้าง greenbook เป็นราคากลางรถ
เรามีการประมูลทุกสาขาทุกวัน เราจึงน่าจะเป็นคนที่สามารถทำ big data
และ share ราคารถมือสองให้กับผู้เกี่ยวข้องใน supply chain ได้ ซึ่งทำให้เราเชื่อมต่อกับผู้บริโภคโดยตรงได้
รถเมืองไทย ราคาแพงที่สุดในโลก เพราะมีภาษีบวกเข้าไปเยอะ
ถ้าหากขายรถเมืองไทยใช้แล้วไปต่างประเทศจะยากมาก
การซื้อรถมือสอง 90% ผ่าน finance การประมูลรถมือสองได้ ต้องทราบราคาล่วงหน้า
ถ้าหากดูในเวบไซต์ต่างๆ ราคาที่เห็นในเวบ กับราคาจริงต่างกันอย่างน้อย 30%
หากไปดูใน application ของเราจะเห็นราคาทุกวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
เอาไปคำนวณ และไปคุยกับ finance เพื่อขอยอดมาประมูลได้
เราต้องสร้างบริการรองรับให้ครบถ้วนคือความสะดวกสบาย
เราเชื่อว่า greenbook มีความแม่นยำที่สุดในประเทศไทย
อย่าง Super car เรามีประมูลปีละ 2 ครั้งให้กับกรมศุลากากร
พวกนี้ถ้าสมองกลหายไปขับไม่ได้ เป็นอะไรที่ละเอียดอ่อน
ถ้าประมูลที่กรมศุลากร ขับใครเบนซ์ได้ก็ขับเบนท์ลี่ได้
ซึ่งถ้าประมูลผ่านเราจะสบายใจว่าขับได้
เดิมมีลูกค้าเป็นเต็นท์รถ 7 พันราย ปัจจุบันทำมา 3 ปีที่เป็นลูกค้า end user
เพิ่มปีละ 1 หมื่นล้านสะสมไว้ก่อน ซึ่งที่มาประมูล online กับเรา จบประมูลได้ 10%
สิ่งที่ลูกค้าจะได้คือ ราคาที่ดี,บริการตรวจสภาพให้ ซึ่งมีคนกลางจะสบายใจกว่าผู้ขาย
ปัจจุบันมีเงินสดเยอะไม่มีหนี้ เอาไว้ไปขยายบริการตรวจสภาพ
ภาพข้อมูลทั่วไปจะเข้าใจว่ารถยึดจากธนาคารชะลอตัวลง
แต่สิ่งทีเกิดขึ้นมียอดยึดรถมากขึ้น และยอดประมูลสูงขึ้น
รายได้มาจากการประมูลต่อคัน ไม่ขึ้นกับประเภทของรถ
รถยนต์ 8,000 บาท, มอเตอร์ไซค์ 1,500 บาท ซึ่งเราไม่คิดจะปรับราคาเพิ่ม
ปัจจุบัน Market share เราได้เพิ่มเพราะคู่แข่งเพิ่มราคาประมูล
___________________________________________________________________
ผลดำเนินงานที่ผ่านมาและแนวโน้ม
CK
รายได้ก่อสร้าง 2.9 หมื่นล้านบาท รายได้รวม 3.1 หมื่นล้านบาท กำไร 2400 ล้านบาท
ก่อสร้างคงข้างคงที่ แต่มีกำไรขายเงินลงทุนบริษัทลูก
มี backlog 5 หมื่นล้านบาท และคิดว่าจะมีประมูลงานอีกหลายโครงการ
โดยตัวแม่น่าจะมีรายได้ 2-3 หมื่นล้านบาท ตัวลูกก็คาดว่ารายได้จะขยับขึ้น
BEM ปีก่อน 1.9 หมื่นล้านบาท(มีขายเงินลงทุน)
ทางด่วนเรามีผู้ใช้บริการ 1.2 ล้านเที่ยวต่อวัน
เรื่องข้อตกลงขยายอายุสัมปทาน ศาลตัดสินใจแล้ว
ข้อเสนออยู่ระหว่างการพิจารณาของการทางพิเศษฯ(กทพ.)
การตัดสินอาจจะขยายอายุสัมปทาน หรือจ่ายเงิน
ถ้าขยายอายุสัมปทาน เรื่องอัตรากำไรที่จะได้ต้องรอดูอีกที
แต่ปริมาณรถยนต์ในอนาคตคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ปัจจุบันคนใช้ easypass ยังน้อยอยู่
รถไฟฟ้าใต้ดินปริมาณผู้โดยสาร 3.2 แสนคนต่อวัน จาก 2 แสนกว่าเมื่อ 4-5 ปีก่อน
ต่อไปยิ่งขยายออกไปนอกเมืองก็จะมีคนเพิ่มขึ้น และทำให้สายวงกลมข้างในเพิ่มขึ้น
TTW รายได้ 6 พันล้านบาท
กำลังผลิตสูงสุด TTW เพิ่มจาก 3 เป็น 5.4 แสนคิวต่อวัน
ประปาปทุมฯ 1.8 เป็น 4.8 แสนคิวต่อวัน
มีการเพิ่มกำลังผลิต และปริมาณการใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
CKP รายได้ 8 พันล้านบาท
มีรายได้หลักจากเขื่อนน้ำงึมเป็นหลัก
กำลังผลิตราวจะเพิ่มจาก 1000 เป็น 2100 MW
การทดลองเดินเทอร์ไบน์เรียบร้อยดี คิดว่าจะสามารถเพิ่มกำลังผลิตได้ตามแผน
ภาพข้างหน้ายังมีโครงการในลาวที่น่าจะลงทุนได้อีกหลายแห่ง เป็นหมื่นMW
รวมถึงในพม่าก็น่าจะมีโครงการที่ลงทุนได้
และจะแผนเกี่ยวกับโซลาร์บางส่วน
CK มีพนักงานราว 2 พันคน เรื่องกฏหมายการตั้งสำรองเกษียณ
มีผลกระทบกับต้นทุนบ้าง แต่มีตั้งสำรองตั้งแต่ปี 61 แล้ว
งานก่อสร้างคำนึงถึงสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย
อย่าง PM 2.5 ช่วงที่ผ่านมา มีการหยุดทำงานบางวัน,พรมน้ำและเปิดพื้นที่ให้จราจรผ่านไปได้
ปีนี้บริษัทลูกดีขึ้นหมด ปีนี้ rating จากเดิม A- stable ปรับเป็น A stable
PRM
ปี 61 ปรับพอร์ตรายได้เน้นเรือขนส่งในประเทศหรือเรือที่เดินประเทศใกล้เคียง
ซึ่งอัตรากำไรโต 120% โดยหักบิ๊กซีไป ธุรกิจ prm เดิมโต 80%
เรือขนส่งขนาดใหญ่ที่วิ่งระหว่างประเทศปรับกลยุทธ์ให้เช่าเป็นเที่ยว / ให้เช่าตามระยะเวลา
ทำให้ผลกำไรเกือบ Breakeven แต่ก็ยังไม่มีกำไร
ซึ่งจะทำสัญญาระยะยาวไม่ได้ทำเป็นปี ทำเป็นช่วง
โดยคอยประเมินจากสถานการณ์ตลาดสำหรับเรือแสนตันในปีนี้และข้างหน้า
เรือกักเก็บน้ำมัน ปีที่ผ่านมาเป็นช่วงปรับตัว มองถึงปีถัดไปเรื่องน้ำมันกำมะถันต่ำ
เดิมวางไว้ว่าจะเห็นผลในไตรมาส 2 แต่ปลายปี 61 ก็มีลูกค้าเข้ามาจองเรือแล้ว
ลูกค้าเข้ามาจองเรือ 5 ลำเต็ม 100% ซึ่งลูกค้าต้องการเพิ่ม
ตอนนี้มีเรือ VLCC ที่เพิ่มมาใหม่จะเข้าเดือน เม.ย. และ พ.ค.
รวมเรือ 3 แสนตันจะเข้ามาเป็น 7 ลำ เป็น utilization ทั้งหมด
เห็นได้ชัดว่า FSU ดีขึ้นอย่างชัดเจนมาจาก
จากกฏข้อบังคับองค์กรการเรือระหว่างประเทศให้เรือทุกลำตั้งแต่ปี 2020
ต้องใช้น้ำมันที่มีซัลเฟอร์ต่ำ ซึ่งมีผลกระทบกับการเกิดฝนกรด
เรือขนส่งในประเทศ มีแผนรับเรือใหม่ทั้งหมด 6 ลำ
- เรือ 5 พันตัน 1 ลำ รับไปแล้วเดือนมี.ค. 62
- เรือ 3 พันตัน 5 ลำ ภายในมิ.ย.62 ตอนนี้รับมาแล้ว 2 ลำ
ไตรมาส 4 ปี 62 เรือ 5 หมื่นตัน อีก 1 ลำ สำหรับขนน้ำมันในประเทศ
รายได้เติบโตไม่ต่ำ 15-20% กำไรโตพอๆกัน
ซึ่งเราก็มีการจัดการความเสี่ยงในด้านต่างๆ
เทคนิค - เรือแบบไหน,ผสมน้ำมันแบบไหน
Compliance - ต้องได้ตามข้อบังคับสากลและกรมเจ้าท่า
Finance - ดูออกไปข้างหน้าไกล
ตลาด - ถ้ายังไม่มา อย่าทำธุรกิจ ให้ลูกค้า confirm กับเราก่อนจึงขยายเรือ
อย่าง VLCC ราคาเกือบ 1 พันล้าน/ลำ เรือ3พันตัน ต่อใหม่ 260 ล้านบาท/ลำ
มีโอกาสdisruption จากการที่เราผูกกับน้ำมันไหม เช่น เปลี่ยนมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า
มีการศึกษาธุรกิจต่อยอด อย่างไรก็ตามน้ำมันยังมีการเติบโต ยังมีการใช้งาน
เรื่องการท่อต่อผ่านทะเล มีการศึกษาเยอะ อย่างคอคอดกระก็ศึกษามานานแล้ว แต่ยังไม่เกิด
เงินสดและปันผล บริษัทมีการทำ cashflow ล่วงหน้าเป็น 10 ปี ปันผลปีนี้ 12 สตางค์ต่อหุ้น
คิดเป็นปันผล 90% กว่าของกำไร ตามนโยบายคือไม่น้อยกว่า 30%
AUCT
แนวโน้มการใช้รถในประเทศไทยเพิ่มขึ้น
การขนส่งมวลชนในไทยอย่างขาดอีกเยอะ
จึงยังต้องใช้งานรถในแนวราบ
การซื้อรถยนต์ปัจจุบันผ่าน finance 90% ขัดแย้งระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้
มีกฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค จึงทำให้ auct มีโอกาสเข้าไปดูแลกลุ่มนี้
ลูกค้าแบงค์เดิมเคยให้รถเรา 70% ตอนนี้กลายเป็นเกือบ 100%
ซึ่งเรามี good governance มีการบริหารความเสี่ยงต่างๆได้ดี
ปี 61 รายได้เพิ่ม 23% กำไรเพิ่ม 64% และกำไรต่อหุ้น 0.3 บาท , ปันผลเกือบหมด
เพราะมี cashflow เกินกำไรอยู่แล้ว ไม่ได้ขาดเงินสดในการขยาย นโยบายปันผลไม่น้อยกว่า 40%
จาก 3 เดือนแรกถ้าคิดไปถึงสิ้นปีเราน่าจะเกินเป้า
ยังไม่รวมกิจกรรมพิเศษเกี่ยวกับการตรวจสภาพ
เม.ย.-พ.ค. จะทำสถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ). ที่ทันสมัยที่สุดในไทย
โดยใช้เครื่องมือแบบตรวจสอบรถแข่ง วัดแรงม้า,วัดช่วงล่าง
คนที่มาซื้อรถจากเราจะรับรองให้ คิดค่าบริการ 400 บาท
ปกติ ตรอ.ทั่วไปคิด 200 บาท
ตอนนี้สัดส่วนรายได้ยังเกิดจาก B2B เป็นหลัก
ราคารถสภาพดี ปีต่ำ แทนที่จะได้ราคาไม่ดี จะได้ราคาที่ยุติธรรม
เชื่อว่าทุกคนจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็อยากได้
วางแผนงบประมาณ 62 จะมีค่าใช้จ่ายทำการตลาด B2C
พอ ม.ค. มาประเมินสถานการณ์การเมือง,สภาพแวดล้อมต่างๆ
จึงตัดลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ออกไป
วันนี้ใช้ค่าใช้จ่ายการตลาดทางอ้อมซึ่งได้ผลมากกว่า
วันที่แนวโน้มเศรษฐกิจชัดเจน
ดีกว่าเป้า แต่ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าเป้า
การตรวจสภาพถ้าไม่ทำเองวันนี้จะเสียลูกค้าไป
การประมูล 5G ถ้ามีคิดว่าเราจะเป็นทางเลือกหนึ่ง เพราะเรามีคุณสมบัติเคยทำ มีเทคโนโลยี
แต่วันนี้ทุกคนยังงงกันอยู่ มันมีหลายมิติ เช่น 4G ต้องเอาคลื่นคืนจาก TV digital ด้วย
มองโอกาสถ้า 5G มาถึงคนจะประมูลจากที่ไหนก็ได้
เช่น ดูทีวีจากที่บ้านเห็นภาพ3มิติที่ช่วยประมูลได้เลย
[To be continue Part 2 ]