เมื่อพูดถึง Geico
โพสต์แล้ว: อาทิตย์ ม.ค. 26, 2014 9:07 am
คิดถึงบริษัทอะไรกันครับ มีข้อเหมือนและแตกต่างอย่างไร
อัญเชิญเซียนครับ
อัญเชิญเซียนครับ
....GEICO led the way, continuing to gobble up market share without sacrificing underwriting discipline.
Since 1995, when we obtained control, GEICO’s share of the personal-auto market has grown from 2.5% to
9.7%. Premium volume meanwhile increased from $2.8 billion to $16.7 billion. Much more growth lies
ahead.
“Point 1. Does the company have products or services with sufficient market potential to make possible a sizeable increase in sales for at least several years?”
As I have pointed out, Buffett’s 1951 article on Geico provides one of the clearest examples of an investment thesis that passes this test.
In his article on Geico, Buffett shows Geico’s track record of growth over the prior fifteen years: premiums written up 36% per year and policyholders up just under 30% per year, albeit from a small base. Then Buffett writes one of the most important sentences of the article and one that investors should focus on in their own analyses.
“Of course the investor of today does not profit from yesterday’s growth.”
It’s a simple sentence and a simple idea, but it encapsulates a great deal of wisdom. It’s the reason that investing can never be reduced to a spreadsheet or a database. It’s the reason why there is no substitute for thinking. As Buffett points out, it’s the reason that all librarians aren’t rich.
Buffett next lays out his case that Geico still had the potential for strong growth. He cites two areas of growth:
1) geographic expansion – prior to 1950 Geico operated in only 15 states,
and 2) increased market share in states where they already operated – they only had 3,000 policyholders in New York State.
Equally important, Buffett explains why Geico could expect to capture business in these markets. Geico had no agents or branch offices and could offer policies at discounts of up to 30% off competitors’ rates. These savings would be amplified in periods of recession and would be even more meaningful as Geico expanded in states where the cost of insurance was high, such as New York State.
You did not need an MBA or CFA to understand why the odds were stacked in Geico’s favor.
Geico also enjoyed excellent profit margins (Fisher’s Point 5 – “Does the company have a worthwhile profit margin?) and a formidable Chairman of the Board, Ben Graham, whom Buffett trusted completely (Fisher’s Point 15 – “Does the company have a management of unquestionable integrity?”).
GEICO is a very interesting model. It's another one of the 100 or so models you ought to have in your head. I've had many friends in the sick business fixup game over a long lifetime. And they practically all use the following formula—I call it the cancer surgery formula:
They look at this mess. And they figure out if there's anything sound left that can live on its own if they cut away everything else. And if they find anything sound, they just cut away everything else. Of course, if that doesn't work, they liquidate the business. But it frequently does work.
And GEICO had a perfectly magnificent business submerged in a mess, but still working. Misled by success, GEICO had done some foolish things. They got to thinking that, because they were making a lot of money, they knew everything. And they suffered huge losses.
All they had to do was to cut out all the folly and go back to the perfectly wonderful business that was lying there. And when you think about it, that's a very simple model. And it's repeated over and over again.
And, in GEICO's case, think about all the money we passively made.... It was a wonderful business combined with a bunch of foolishness that could easily be cut out. And people were coming in who were temperamentally and intellectually designed so they were going to cut it out. That is a model you want to look for.
And you may find one or two or three in a long lifetime that are very good. And you may find 20 or 30 that are good enough to be quite useful.
http://ycombinator.com/munger.html
อ่านได้หน้า เดียว อ่น ต่อต้องไปเป็น สมาชิกเขา..แฮ่ะๆ
sourceBy 2012, the growth at GEICO had been simply superlative under the Buffett-Nicely Murderer’s Row reign. Market share was up almost four-fold to 9.6%. Annual auto premiums had grown five-fold to $17 billion. Accumulated underwriting profit (pre-tax) clocked in at just over $10 billion. Gecko, GEICO’s reptilian ad man, plus the Caveman would make their debuts in 1999 and 2004, respectively. By 2012, these two pitchmen would happily spend approximately $1 billion each year hawking GEICO - or three times as much as the company’s three largest rivals combined. GEICO is on course to become the nation’s second largest auto insurer.
...GEICO vs. Progressive: Selected Ten Year Metrics
Published on June 20, 2009 at 5:46 pm
Since Berkshire acquired full control of GEICO in 1995, the company has advanced from seventh to third position among auto insurers according to Warren Buffett’s latest letter to shareholders. (As an aside, Warren Buffett’s account of Berkshire’s purchase of GEICO in his 1995 shareholder letter is well worth reviewing.)
GEICO’s main competitive advantage is derived from its low cost operations which are made possible by the direct sales model the company uses to sell insurance policies. By selling products over the phone and online, significant efficiencies can be captured compared to a traditional agency distribution model. Progressive also employs a direct channel (although they also have a sales channel through independent agents) and the company has a strong long term track record.
While this article is not in any way a complete review of Progressive, I thought it would be interesting to compare GEICO and Progressive over a ten year period in terms of overall volume of premiums earned, underwriting results, and operating efficiency.
Ten Year Records
The following exhibit shows selected underwriting results for GEICO and Progressive over the past ten years:
GEICO vs Progressive
Both Progressive and GEICO show strong results by nearly any measure during this timeframe. GEICO’s compounded annual growth rate in premiums earned over the ten year period was 10.1% while Progressive grew at a 9.1% rate. GEICO’s average underwriting loss ratio was 75.8% while Progressive’s average loss ratio was a bit better at 71.4%. GEICO had the distinct advantage when it came to underwriting expenses with a ten year average of 17.8% versus 20.9% for Progressive.
source:Buffett likes to say the Berkshire Hathaway unit can spend so aggressively because it keeps expenses low and can therefore advertise more to increase market share. The data showed, though, just how much more aggressive Geico is willing to be.
SNL found that Geico’s ad budget represented 6.5 percent of the premiums it wrote in 2011. Among the rest of the five largest auto insurers in the country, none spent more than 4.9 percent of premiums on ads. State Farm spent 1.7 percent of premiums on advertising.
For the whole industry, in fact, the average is just 2.4 percent.
[Allstate spent $745 million or 3.0 percent on advertising; Farmers spent $718 million or 4.9 percent and Progressive spent $536 million or 3.9 percent, according to SNL.]
Over the last 20 years, Geico’s share of the market has roughly quadrupled, for which the advertising program usually gets much of the credit.
http://board.thaivi.org/posting.php?mod ... &p=1616898imerlot เขียน:กลับมาวิเคราะห์
เรื่อง วารีเอเบิ้ล ตัวแปร simple few controlable variables
source:
http://www.insurancejournal.com/news/na ... 314530.htm
1. จะเห็นว่า direct incurred LOSS RATIO %ของอุตสาหกรรมindustry 3Q อยู่ที่ 62.47-65.71
แต่ของ Geico สูงกว่า คือ 63.70-71.02 ความสามารถที่ว่า Geico มีฐานลูกค้าที่มีความเสี่ยงน้อยกว่า
เช่นเป็นกลุ่มลูกค้า government employee นั้นจึงไม่ชัด หรืออาจจะไม่จริง
2. yoy Premium change% แต่ Geico โตได้ 9.65-11.14 สูงสุดของทั้งกลุ่ม
ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.01-4.6 เรียกว่า โตชัดเจน สูงกว่า peer 2 เท่า
{บ. ยอดเยี่ยมในอุตสาหกรรมยอดแย่}
3. จาก1-2 สรุปว่า โต ไม่ได้มาจาก LOSS RATIO แต่มาจาก บ.ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่ LOSS RATIO ประมาณ 30-40% ได้ดีกว่า
โดยสามารถจัดสรร เป็น งบโฆณษณา ถึง 6.5% {Geico’s ad budget represented 6.5 percent of the premiums it wrote in 2011}ในขณะที่ อุตสาหกรรมใช้งบแค่ 2.4%{For the whole industry, in fact, the average is just 2.4 percent.} ใช้งบ3เท่าคู่แข่ง
ถ้าไม่เทียบกับ Progress ซึ่ง model คล้ายกัน กับ Geico. บ.อื่นๆเวลาได้รับ Premium มา 100 อาจจะต้องจ่ายไป10-15% ค่าคอมให้เอเยนต์ ทำให้ต้นทุนสูงกว่า Geico ผู้บราหารเน้นในขาดตัดต้นทุนส่วยภายใน บ. เพราะ controlable varible ส่วน LOSS RATIO uncontrolable จากยอดขายที่โตต่อเนื่อง market share เพิ่มต่อเนื่อง สรุปได้ว่า model นี้ ยังประสบความสำเร็จอยู่จนกว่า คู่แข่งจะปรับโมเดลตาม เท่าที่มีตอนนี้คือ Progress
4. free float growth
แน่นอน Premium รับโต 9.65-11.14% ทำให้กองทุน free float โตในระดับเดียวกัน
รายได้จากเงินลงทุนย่อมโตไปด้วย และจะมีใครเชี่ยวชาญสุดในโลกในการลงทุนขนาดยักษ์และยาว เม่าลุงบัฟกับลุงชาร์ลี ตอนนี้
..................................................................................................imerlot เขียน:
ต.ย3
นักผ่าตัดโรคเมร็ง-ตัดเนื้อร้ายไม่ให้เหลือModel #3: The cancer surgery formula - a la GEICO.
Munger: GEICO is a very interesting model. It's another one of the 100 or so models you ought
to have in your head. I've had many friends in the sick-business-fix- game over a long lifetime.
And they practically all use the following formula - I call it the cancer surgery formula:
They look at this mess. And they figure out if there's anything sound left that can live on its own
if they cut away everything else. And if they find anything sound, they just cut away everything
else. Of course, if that doesn't work, they liquidate the business. But it frequently does work.
And GEICO had a perfectly magnificent business - submerged in a mess, but still working.
Misled by success, GEICO had done some foolish things. They got to thinking that, because they
were making a lot of money, they knew everything. And they suffered huge losses.
All they had to do was to cut out all the folly and go back to the perfectly wonderful business
that was lying there. And when you think about it, that's a very simple model. And it's repeated
over and over again.
chaitorn เขียน:สรุปความของ อ. IMERLOT ครับ![]()
สรุปถึงตอนนี้ทั้งหมด ซึ่งสะท้อนการลงทุนของ VI สาย บัฟเฟท ที่เน้นการลงทุนใน model ยุคของหุ้นที่เป็น Great Company โดยเริ่มมีการลงทุนที่ให้ความสำคัญในแนวทางดังกล่าวประมาณปี 1988 โดยมีการทดลอง Model ก่อนหน้าในการซื้อหุ้น Geico ในช่วงยุคแรกที่ใช้แนวคิดแบบ เกรแฮม ที่เน้นหนักเฉพาะหุ้นราคาถูกกว่ามูลค่าที่แท้จริง
โดยแนวคิดดังกล่าวมีประเด็นดังต่อไปนี้ที่เราได้คุยกันในหลายกระทู้
1. เราต้องมีความเชื่อก่อนว่า ผลของราคาหุ้นระยะยาว มาจากเหตุ และเหตุที่จะทำให้ราคาหุ้นในระยะยาวมีราคาสูงต่อเนื่อง และยั่งยืนได้ คือ พื้นฐานที่สำคัญที่สุดคือการทำกำไรที่สูงและต้องมีการเติบโตของกำไรอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่องในระยะยาวด้วย จึงจะทำให้มูลค่าหุ้นที่แท้จริงในระยะยาวเติบโตตามไปเรื่อย ๆ ตามศักยภาพของการทำกำไรในอนาคตระยะยาว และทำให้เราสามารถถือหุ้นที่คัดสรรเชิงคุณภาพดังกล่าวในระยะยาวได้ เพราะมูลค่าหุ้นในระยะยาวมันยังเพิ่มสูงขึ้นด้วยตามเวลาที่เราลงทุน ซึ่งหุ้นหรือบริษัทที่เราคัดสรรจะต้องมีเคล็ดลับที่สำคัญคือต้องเป็นบริษัทที่มี moat หรือคูเมืองที่เข้มแข็ม ยิ่งคูเมืองฝังลึกในระยะยาวเพียงใด ยิ่งกันข้าศึกได้สูงมากเพียงใด และยิ่งสะท้อนกำไรที่เติบโตสูงต่อเนื่องในระยะยาวมากเพียงใด ก็จะยิ่งทำให้การลงทุนของเราหุ้นนั้นมี runway ระยะยาวให้เราได้ลงทุนต่อเนื่องระยะยาวได้ตามนั้นอีกด้วยโดยไม่ต้องเปลี่ยนตัวหุ้นลงทุนเหมือนยุคแรก ๆ เพราะพื้นฐานหุ้นในระยะยาวของหุ้นที่เราลงทุนมันไม่เปลี่ยนได้โดยง่ายนั้นเอง
2. พื้นฐานของหุ้นขึ้นกับ Business model ซึ่งไม่เหมือนกันแต่ขึ้นกับอุตสาหกรรมของหุ้นหรือกิจการที่เราลงทุนนั้นๆ สิ่งสำคัญที่เป็นตัวจำแนก หรือ ตัวกำหนดความแตกต่าง และเราต้องหาให้เจอ นั้นคือ Key Variable ที่เป็น Key success ของความสำเร็จขององค์กรนั้น ๆ ประกอบด้วย
2.1 ความสำเร็จของผู้นำธุรกิจในด้านต้นทุนที่ต่ำสุด ซึ่ง เราได้เห็น บริษัท commodity business เช่น บริษัทประกันภัยGeico มี model ธุรกิจแบบหมอผ่าตัดมะเร็งร้าย กล่าวคือ เป็นธุรกิจที่ตัด Logistics cost ที่ไม่จำเป็นออกไปให้มากสุด เช่น ไม่มีค่าcom ให้กับนายหน้าประกันภัยแบบการขายดั้งเดิมที่ผ่านตัวแทน ทำให้สามารถกำหนดราคาเบี้ยประกันภัยแบบลดสุด ๆ จนยากที่คู่แข่งจะแข่งขันได้ แม้ว่าบริษัทจะมีการโฆษณาสูงกว่าคู่แข่งขันหลายเท่าก็ตาม ซึ่ง Model แบบนี้ได้รับการพิสูจน์ให้เห็นถึงการเติบโตของธุรกิจที่ยาวนานได้ จนเป็นผู้นำในธุรกิจอันดับ 2-3 ในอุตสาหกรรมประกันภัย ตลอดจนเราได้เห็น Model ของ ธุรกิจปั้มน้ำมัน 2 แห่งที่ติดกัน ซึ่งจะพบว่าแม้จะเป็นปั้มน้ำมันแห่งหนึ่งที่วางกลยุทธ์ที่ดีมากจนลูกค้ามาใช้บริการมากขึ้น แต่คู่แข่งก็กลับไม่ตอบโต้ยอมให้ปั้มที่ติดกันขายได้ดีต่อเนื่องต่อไป
2.2 เราได้เห็น Business model แม้จะเป็น บริษัท commodity business ได้แก่ bnsf railway ซึ่งใช้โมเดล toll bridge สะพานเก็บค่าผ่านทาง ซึ่ง โมเดลนี้ ไม่ใช่ จะสำเร็จได้ง่าย ต้องเข้าปัจจัยสนับสนุนหลายอย่างที่เหมาะสม
2.3 เราได้เห็น Business model ซึ่งถือเป็น Superstock ที่เป็นบริษัทที่มี BRAND ระดับโลกที่เข้มแข็ง แบบ Coke ว่า ธุรกิจเขามี Runway ยาวขนาดไหน Key Variable ที่สำคัญของธุรกิจนี้อยู่ที่ ปริมาณการดื่มต่อคนต่อวัน ของประชากรโลก และการเป็นสินค้าที่สามารถขายไปทั่วโลกได้ โดยอาศัย Brand และ รสชาดที่อยู่ในใจของ คนหลายเชื้อชาติ หลายประเทศ จำนวนหลายพันล้านคน โดยการสำรวจพบว่า Brand ของ Coke มีมูลค่าสูงติดอันดับ 1-3 ในรอบ 2003-2013 และยังสามารรถขยายการจำหน่ายไปยังประเทศที่มีพลเมืองสูง ที่สะท้อนความสำเร็จของ coke ในประเทศจีน แม้ประเทศจีนจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่ copy ผลิตภัณฑ์ได้ทุกอย่าง และเป็นสมรภูมิการแข่งขันที่รุนแรงมากของหลายธุรกิจ ซึ่งแม้แต่บริษัทธุรกิจของอเมริกาที่เข้าไปจำหน่ายในประเทศจีนก็ประสบความล้มเหลวมาแล้วจำนวนมากก็ตาม
2.4 เราได้เห็น Business model ของบัตรเครดิต คือ Model Closed Loop ซึ่งช่วยสร้างกำไรมากมายให้กับAMEX ที่ คุณ chaitorn ได้เปรียบเทียบแนวทางการดำเนินธุรกิจได้ชัดเจนว่า เหมือน IOS ของ apple นั้นเอง
แต่ยังมีจุดอ่อนของ AMEX ที่ต้องปรับปรุงโดยเฉพาะ Brand ซึ่งผลการสำรวจตกอันดับลงมามาก แต่ก็ยังอยู่เป็น top 20s Brand ชั้นนำอยู่
2.5 เราได้เห็น Business model ของ Well Fargo หุ้นธนาคารชั้นนำในอเมริกา ซึ่งอายุยาวนานกว่า 100 ปี แล้ว แต่ก็ยังสามารถพัฒนาจนใกล้เคียงกับธนาคารสมัยใหม่ ที่มี รายได้ non-interest income มากกว่า 40% และยังมีแนวโน้มการเติบโตของรายได้ส่วนนี้ เป็นเลข 2 หลัก หรือ double digit และ มีมูลค่า Port ของธนาคารที่สร้างรายได้จากการลงทุนกว่า 2แสนล้านเหรียญ ซึ่งมากกว่าบริษัท Berkshire Hathaway Inc ของ บัฟเฟทด้วย
3. เราได้ชี้ให้เห็นว่า พื้นฐานของธุรกิจที่สำคัญนั้น เราต้องดูปัจจัยสำคัญคือการเปลี่ยนแปลงของ พฤติกรรมผู้บริโภคให้ออก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ชี้เป็นชี้ตายถึงความอยู่อยู่รอดของธุรกิจ ด้วยการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญง่าย ๆ ดังนี้
3.1 เราอาจจะตั้งคำถาม และวิเคราะห์ให้ได้ว่าธุริกจนี้ในอนาคตจะมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอะไรที่จะทำให้ runway ของธุรกิจยาวขึ้น หรือ สั้นลง เช่น กล้องฟิลม์ มีความเสี่ยงจากกล้อง Digital จนทำให้ Runway ของ ธุรกิจไม่ยืนยาว แต่ธุรกิจงานศพ กลับมี Runway ที่ยาวนาน ไม่เปลี่ยนแปลง มันมีเหตุผลอะไรที่ทำให้เป็นเช่นนั้น นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ บัฟเฟท ไม่สนใจในหุ้นเทคโนโลยีหรือไม่ เพราะไม่เข้าใจความเสี่ยงในเรื่อง Runway ของธุรกิจนั้นเอง
4. ผู้ที่สนใจในธุรกิจธนาคารเก่าแก่ Well Fargo มีข้อแนะนำให้หาตัวอย่างการวิเคราะห์ ในหนังสือชื่อ Security Analysis ของปู่เบน เกรแฮมเจ้าพ่อ Value investor ท่านหนึ่ง ซึ่งในบทความของหนังสือนี้มีหลายเรื่องที่มีการวิเคราะห์มุมมองของธนาคารต่าง ๆ ในมิติต่าง ๆ ที่หลายคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน จะทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
5. ในการซื้อหุ้นอย่างไรไม่ให้ขาดทุน เราควรรู้ว่า เส้นทางที่จะไปสู่การขาดทุนนั้น เป็นอย่างไรจะได้เข้าใจความเสี่ยงของธุรกิจที่เราจะคัดเลือก หรือลงทุนไปแล้วจะได้รู้ว่าจุดตายของธุรกิจอยู่ตรงไหน เมื่อรู้แล้วเราจะได้หลีกเลี่ยงเส้นทางนั้นเสีย ซึ่งเราควรจะศึกษา metal model ของลุงชาลีซึ่งมีหลายบทความที่พูดถึงการวิเคราะห์เรื่องดังกล่าวที่น่าสนใจไว้
...
ตกหล่นหรือผิดตรงไหน
..
มาแก้อีกทีแล้วกันครับ
http://board.thaivi.org/posting.php?mod ... &p=1616624imerlot เขียน:คุณ Mohnish บอกว่า
ลุงบัฟตอบว่า GEICO เพราะ runways is so long
นาที 1:05:39
moat is keeping wider n wider deeper n deeper
competiotor can not come up w any response
10% market share now
in a lifetime GEICO may be 1/3 of auto business
....
โอ้ว นึกว่า บ ประกัน ธรรมดาๆ
...
สงกะสัย Well Fargo คงมีอะไร stable แบบนี้ เหมือนกัน ถึงซื้อ เอาๆ
...
imerlot เขียน: ...
ไม่เป็นไร วันนี้ จะอังกฤษ อินเดีย มาฟังกัน แบบเป็น นักเรียน columbia school เขาฟังเลย
https://cbs360.gsb.columbia.edu:8443/es ... 26360f1369
ผมยอมรับว่าฟัง echo360ไปสองรอบ แล้ว ก็ฟังไม่จบซักที
ถึงแค่ 1:08:53
...
เอาเรื่องสำคัญคัญสุดก่อน (แปลแบบลัดสั้น-แบบที่เข้าใจเอง เช่นเคย)
ใน Q&A session ประมาณ นาที 40ขึ้นไป ฟังไปเรื่อยๆจนถึง ประมาณ1:05:47
คุณ Mohnish Pabrai
บอกว่า ตอนเขาทานข้าว $650,100 กับลุงบัฟ
เขาถามลุงบัฟว่า "of all the business that you own which one is the most STABLE business?"
ภายใน 5 วิ
ลุงบัฟ บอกว่า GAICO
(ผมแอบนึกว่าเป็น coke อยู่ตั้งนาน)
.............
แต่จะกลับมาสนใจว่า
key word
STABLE business มันสำคัญไง?
~~~~~~~~~~~~~~~~~~
...
related linked
http://basehitinvesting.com/mohnish-pab ... -my-notes/
http://board.thaivi.org/posting.php?mod ... &p=1616903imerlot เขียน:คนนี้ทำสรุปไว้คล้ายกัน
more reading at
http://www.gurufocus.com/news/144627/gr ... -investingThe key cost and metric for evaluating GEICO can now be described as its advertising efficiency. Exactly the same is true for its arch rival Progressive. The moat has receded and the cost of defending its moat has increased as well.
....imerlot เขียน:ต.ย.
ลองมาดูสัดส่วนของงบ ของ ALL
อันดับ 2-3 กัน
ว่า
1. loss-ratio กี่%
2. investment income กี่%
3. underwriting commision จ่าย กี่%
1.
..
2.
![]()
imerlot เขียน:ปี 2013 ALL
a.
1. รายได้รวม 34.19B เอาเป็นฐาน 100%
2. ซึ่ง มาจาก ค่า Prepium Earned 29.97B หรือ 87.65%
3. ซึ่ง มาจาก Total Investment Income=3.4B หรือ 9.94%
b.
4. เอา ค่า Prepium Earned 29.97B ตั้งเป็น ฐาน 100%
5. เอา Losses, Claims & Reserves 21.11B หารตัวฐานในข้อ4=70.43% LOSS RATIO{โดยประมาณเพราะอันนี้รวม reservesไว้ด้วย}
c.
6. เอา ค่า Prepium Earned 29.97B ตั้งเป็น ฐาน 100%
7. เอา Underwriting & Commissions 4B หารตัวฐานในข้อ6=13.34%
แปลว่าจ่าค่าคอมมิชั่นให้เอเย่นต์ ประมาณ 13.34%
d.
8. รายได้รวม 34.19B เอาเป็นฐาน 100%
9. Selling, General & Admin. Expenses & Other 8.4B หารตัวฐานในข้อ8 จะได้ 24.56%
ซึ่งในนี้ได้ รวม 4B ค่าคอมมิชั่นไว้แล้ว
..