สรุปสัมมนาวิศวกรรุ่นใหม่ใส่ใจลงทุน@งานวิศวกรรมแห่งชาต16Nov13
โพสต์แล้ว: อาทิตย์ พ.ย. 17, 2013 4:00 am
สรุปสัมมนาวิศวกรรุ่นใหม่ใส่ใจลงทุน@งานวิศวกรรมแห่งชาต16Nov13
ขอบคุณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในการจัดงานนี้ขึ้น (แถมมีคูปองอาหารกลางวันให้ด้วย 100 บาท ^^)
ขอบคุณ คุณสโรชา ที่รับลงทะเบียน ขอบคุณ พิธิีกร และวิทยากรทุกท่านสำหรับการให้ความรู้
งานวันนี้มานั่งฟังสบายๆ ไม่ได้จดด้วยคอมพิวเตอร์ ก็ขอเล่าแบบสรุปนะครับ
และก็เข้าฟังไม่ได้ครบถ้วนนักครับ มีอะไรขาดๆเกินๆเสริมได้นะครับ
ช่วงที่ 1 ชีวิตกับการลงทุน คุณณัฐชาต คำศิริตระกูล (พี่Mario Kaan)
• ช่วงแรกในการทำงาน พยายามประหยัดอดอม ไม่ใช้ฟุ่มเฟือย เลือกพักใกล้ที่ทำงานจะได้มีเวลาหาความรู้มากๆ
• คิดเอาไว้ตั้งแต่แรกว่า หนี้ก้อนแรก คือ เงินหลังเกษียณ ไม่ใช่ผ่อนรถ หรือหนี้อย่างอื่นที่คนทั่วไปทำกัน
• เป้าหมายทางการเงิน
1) มีเงินใช้หลังเกษียณ - เป็นขั้นต่ำ
2) อิสรภาพทางการเงิน - 200 เท่าของค่าใช้จ่ายรายเดือน
3) มีความมั่งคั่ง
• แก้ว 3 ประการในการลงทุน
1) เงินลงทุนเริ่มต้น
2) ระยะเวลาลงทุน
3) ผลตอบแทนการลงทุน
• หลายคนมีแผนมีวิธีการแต่ทำไม่สำเร็จเพราะไม่เชื่อ,ไม่ศรัทธา,ทัศนคติไม่ถูกต้อง
- มีข้ออ้างเยอะ เงินไม่พอ แก่แล้ว ดวงไม่ดี
- ทัศนคติแตกต่าง คนชั้นกลางเอาสะดวกสบายก่อน คนรวยfocusที่ความมั่งคั่ง
- ไม่เรียนรู้จากความผิดพลาดคนอื่น ไม่ประมาทเรื่องไม่คาดคิดอาจเกิดกับเราได้ ex. ป่วย,ตกงาน, เป็นหม้าย
• การลงทุนเหมือนวิ่งมาราธอน ต้องอึดอดทน ใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 10 ปี
• ทางเลือกการลงทุนมีหลายอย่าง เงินฝาก/หุ้นกู้/กองทุนอสังหาฯ/กองทุนltf,rmf/
• ลงทุนหุ้นสามัญ
1) Active - มีหลายวิธี VI / TA (VI ก็เป็นการลงทุนแบบ active ในการศึกษาหาความรู้ ไม่ใช่ active ซื้อๆขายๆ)
2) Passive - index fund/ETF(TDEX) ใช้วิธีซ์้อเฉลี่ยทุกเดือน (DCA)
• แหล่งความรู้เพิ่มเติม
- หนังสือด้านการลงทุนดีๆเช่น ของ ดร.นิเวศน์ เล่มใหม่ ก้าวเล็กๆในตลาดหุ้น ก้าวที่ยิ่งใหญ่ในชีวิต
เป็นการรวมสุดยอดแนวคิดตั้งแต่ลงทุนมาหรือหนังสือของบัฟเฟตต์ มีที่คุณพรชัย(พี่web)แปลหลายเล่ม
- tsi thailand
- thaivi.org
- money talk@SET
• แผนที่ทางการเงิน - ประเมินรายได้ทั้งหมด การออม การเติบโตและคำนวณให้รู้ว่าอายุเท่าไรจะมีเงินเท่าไร จะได้ตามเป้าไหม
(คุณMario Kaan มีไฟล์ Excel ใครสนใจอีเมล์ไปขอได้ครับ)
• ชีวิตของเราไม่ได้มีแต่เรื่องเงินเพียงปัจจัยเดียว ยังมีเรื่องอื่นๆที่ต้องบริหารจัดการให้ดี
เช่น
- สุขภาพ : ยกคำกล่าว พระอ.ไพศาล วิสาโล "การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคภัย นับเป็นความสุขอย่างหนึ่งที่คนไม่ค่อยตระหนัก
เพราะใจไปจดจ่ออยู่กับอย่างอื่นที่ยังมาไม่ถึงหรือยังไม่มี เช่น ความมั่งคั่ง ชื่อเสียง อำนาจ สถานะ คู่ครอง
ต่อเมื่อล้มป่วย หรือทุพพลภาพ จึงมาได้คิดว่าครั้งหนึ่งความสุขเคยอยู่กับตัวแท้ ๆ แต่กลับมองข้ามไป"
- ครอบครัว : อย่าลืมดูแล ในวันที่สำเร็จแล้วเราก็อยากมีคนใกล้ตัวอยู่ร่วมยินดีกับเรา
- จิตใจ : เพิ่งไปบวชมา,ทำงานสมาคม thaivi ก็เป็นการทำด้านสังคม เงินที่สมาคมเก็บได้แต่ละปีถ้าเหลือก็บริจาคให้สังคม
ปีล่าสุดบริจาคให้มูลนิธิศิริราชพยาบาล 1 ล้านบาท
• อิสรภาพ เงิน เป็นเป้าหมายเบื้องต้น -> เวลา -> จิตใจ
Q&A
- ทำอย่างไรให้ไม่หลุดจากแผนที่วางไว้?
Ans. 1) ต้องหา idol หรือคนต้นแบบเราที่จะทำให้เราเชื่อว่า
2) อย่าสนใจคนภายนอกมากนัก ที่จะให้เรารู้สึกอยากทำนอกจากแผน คบกัลยานมิตรที่คุยภาษาเดียวกัน
- เป้าเท่าไรถึงพอ?
Ans. 200 เท่าของค่าใช้จ่ายของแต่ละคนไม่เท่ากัน ทั่วไป 30 ล้านบาทก็น่าจะ OK
- เคยลงทุนอย่างอื่นไหม?
Ans. เคยช่วงแรกๆ แล้วก็พบว่าเราเป็นนักคิด มากกว่านักปฏิบัติ ชอบมองแนวโน้มมากกว่า
ช่วงที่ 2 ลงทุนอย่างมีความสุขผ่านกองทุนรวม ดร.สมจินต์ ศรไพศาล
• หลายคนให้ความสำคัญกับการเฟ้นหาหุ้นที่จะทำกำไรให้ดีๆ ซึ่งงานวิจัยเรื่องผลตอบแทนการลงทุน พบว่า Asset allocation(การกระจายสินทรัพย์ที่ลงทุน) ส่งผล 90% ของผลตอบแทนรวม ขณะที่ Security selection(การเลือกหุ้น เลือกพันธบัตร) ส่งผลแค่ 10%ของผลตอบแทนรวม ซึ่งคนที่ได้ผลตอบแทนที่ดี บางครั้งอาจเกิดจากอยู่ในตลาดหุ้นนานพอ และอยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะสม
• การกระจายความเสี่ยงใน bond, หุ้น, เงินสด อย่างเหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงจากตลาดตกต่ำ ในบางปีที่หุ้นแย่ bond ก็ยังทำผลตอบแทนได้ดี หรือบางปีที่ bond แย่ หุ้นก็จะทำผลตอบแทนได้ดี
• ระดับความมั่งคั่ง
1) Survival ratio = รายได้จากการทำงาน + รายได้จากสินทรัพย์ / รายจ่าย ถ้ามากกว่า 1 คืออยู่รอดได้ด้วยตนเอง
2) Wealth ratio = รายได้จากสินทรัพย์ / รายจ่าย ถ้ามากกว่า 1 คือมีอิสรภาพทางการเงิน
• แปลงหยาดเหงื่อให้เป็นสินทรัพย์
- รายได้ หัก รายจ่าย เงินที่เหลือก็นำไปลงทุนในสินทรัพย์ ได้เป็น ค่าเช่า เงินปันผล แต่ถ้าคนจนคนชั้นกลางก็ไปก่อหนี้สิน
- อยากให้ Focus ที่ earn income หรือเงินที่ได้จากการทำงาน ซึ่งทำให้เราได้ใช้ความสามารถของเราสร้างผลงาน
และพัฒนาคุณค่าในตัวเรา ไม่ต้องรีบไปเป็น full time investor
- วินัยในตัวเอง คือกุญแจความสำเร็จ ไม่ใช่ iq หรือ eq
• รายจ่ายเล็กน้อยที่เป็นประจำ อาจเปลี่ยนเป็นแหล่งเงินออมที่สำคัญ
- กาแฟวันละ 1 แก้ว 100 บาท x 7 วัน = 700 บาท
ถ้านำเงินนั้นไปลงทุนได้ผลตอบแทน 8% ต่อปี
10 ปี จะมีค่า 5.5 แสนบาท 20 ปี มีค่า 1.7 ล้านบาท 30 ปี มีค่า 4.3 ล้านบาท !!
• หนังสือ Millionaire next door บอกว่าปัจจัยสำคัญที่คนประสบความสำเร็จ คือ การเลือกที่อยู่อาศัย ในคนระดับเดียวกัน ระหว่างที่เลือกที่อยู่ในหมู่บ้านของเศรษฐี กับ หมู่บ้านของชนชั้นกลาง แบบหลังจะมีความสุขมากกว่า เพราะไม่ต้องไปเปรียบเทียบกับบ้านอื่น ที่ออกรถใหม่ ไปเที่ยวต่างประเทศ ส่งลูกไปโปรแกรมดีๆ
• สำหรับคนทั่วไปจะมีทางเลือก 2 ทาง คือ
1) Pretend to be rich - พยายามทำตัวให้ตัวเองดูมีฐานะ
2) Becomes rich actually - มุ่งมั่นที่เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ร่ำรวยขึ้นมาจริงๆ
• เส้นทางเศรษฐี 3 วินัยทางการเงิน
1) พากเพียรในการทำงาน
2) พอเพียงในการจับจ่าย
3) เพลิดเพลินในการลงทุน
• มีงานวิจัยศึกษาตลาดย้อนหลัง 100 ปี พบว่าผตอบแทนจาก price return กับ dividend return ส่งผลไม่ต่างกันมาก ราวๆ 50 % กว่า กับ 40% กว่า เพราะบางปี price return ก็ติดลบ แต่ dividend เป็นบวก ซึ่งนักลงทุนระยะสั้นหลายคนมักทอดทิ้งผลตอบแทนตรงนี้
• การจัดทัพลงทุน เหมือนเล่นฟุตบอลมีกองหน้า ทำประตู กองกลาง ของสนับสนุน กองหลังคอยป้องกัน โดยต้องจัดทัพที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การลงทุน ซึ่งถ้าจัดทัพได้ดีก็จะลดความเสี่ยงได้อย่างมีนัยสำคัญ
• สะพาน ระหว่าง ความรู้ กับ ความมั่งคั่ง คือ วินัยทางการเงิน -> ออมก่อน แล้วจึงใช้จ่าย , dollar cost average ซื้ออย่างสม่ำเสมอ
• เส้นทางแห่งความสุข
สุขจากการทำงาน -> เพียร -> รายได้
สุขจากความพอ -> พอ -> รายจ่าย
สุขจากการลงทุน -> พอร์ท -> กำไร
และแบ่งปัน
• กฏแห่งความมั่งมี 3D of Good wealth
Law of desire, Law of Discipline, Law of Distribution -> ตั้งใจดี มีวินัย คืนให้สังคม
• ถ้าสนใจกองทุนรวมหรือโปรแกรมวางแผนลงทุนอัตโนมัติ(AIP) ติดต่อ TMBAM call center 1725
ช่วงที่ 3 เสวนากับเซียนหุ้นรุ่นใหม่ คุณอนุรักษ์ บุญแสวง และคุณวีระพงษ์ ธัม
• คุณอนุรักษ์ บุญแสวง
1) หุ้นคือ ธุรกิจ ประเมินค่าให้ได้ ซื้อให้ต่ำกว่าราคานั้นยิ่งดี
2) MOS คืออาวุธลับของ VI เป็นสิ่งที่ทำให้แตกต่างกับแนวอื่น และได้ผลตอบแทนมากกว่าปกติ
3) ต้องไม่ยอมจำนนต่อฝูงชน ไม่ทำตามคนอื่น ผลลัพธ์เป็นอย่างไร เราต้องพร้อมจะรับ
4) แนะนำนักลงทุนใหม่
- ให้สร้างความเชื่อ แรงจูงใจ แรงศรัทธา เป็นลำดับแรก ทลายได้ทุกอย่าง
- หาหนังสือมาอ่าน หนังสือไม่กี่เล่มก็เปลี่ยนชีวิตเราได้
- เป็นกระบวนการที่ทำน้อยแต่ได้มาก
- อ่านหนังสือพันเล่มก็ว่ายไม่เป็น เหมือนการลงทุน ต้องทำไปด้วย เรียนรู้ไปด้วย
5) ใช้เวลาทำอะไร?
- อ่านข่าว,หนังสือชี้ชวน, oppday
- ชีวิตคนเราไม่ได้มีบทบาทเดียว หาเงิน -> สร้างความมั่นคง เพิ่มคุณภาพชีวิตให้ครอบครัว สุขภาพ ไม่ทอดทิ้งสังคม
6) ไม่สนใจจังหวะตลาด ถ้าหุ้นมี margin of safety มากๆ ซื้อเลย ถ้าหุ้นมี margin of safety น้อย ก็ทยอยซื้อ
7) จะประสบความสำเร็จ ใจต้องมาก่อน -> วิธีการที่ถูกต้อง -> อดทน >EQ
8) Q&A แชร์แนวคิดตอนซื้อ hotpot ในอดีต
- ดู Replacement cost ตอนที่ซื้อ market cap 1000 กว่าล้าน มี 140 กว่าสาขา
ต้องลงทุน 6-8 ล้านต่อสาขา เราจะไปทำลงทุนทำเองก็ต้องลงทุนมากกว่านี้
- ยอดขายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจะเกิด eos สัดส่วนค่าใช้จ่ายบริหารควรลดลง ทำให้ margin เพิ่ม
- take over target
9) Q&A ตอนซื้อ VNG,RCL ช่วงลงทุนแรกยังไม่รู้ว่าเป็นวัฏจักร หลักๆเพราะ PE 2.5 กับ PE 1.5 เท่าถึงซื้อ
ถือเป็นการทดสอบความเชื่อเพราะถือเป็นปีราคาไม่ค่อยไปไหน แต่เมื่อถึงวันของมัน เป็นวันที่เราชนะเด็ดขาด
• คุณวีระพงษ์ ธัม
1) การลงทุนก็แนวคิดคล้ายวิศวกรรม margin of safety ก็คือ safety factor
2) เจงกิสข่าน ชนะทัพเปอร์เซียได้แม้ทหารน้อยกว่า 4 เท่าเพราะรู้จักใช้ความกลัวของคู่แข่ง
ซึ่งคู่แข่งในตลาดหุ้นคือ นายตลาด เมื่อนายตลาดกลัว เราก็ต้องบุก
3) Noise มาก สมัยนี้มี FB,Line IR, ผบห.ก็คอยสื่อสารรู้ว่านักลงทุนอยากฟังอะไร
4) แนะนำนักลงทุนใหม่
- ให้ลับขวานให้คมก่อนตัดไม้ แต่ก็ควรเริ่มลงทุนด้วยในปริมาณน้อย
- อ่านงบการเงินให้เข้าใจ อย่าข้าม ศึกษาให้ถ่องแท้
- ประเมินความแข็งแรง ความสามารถแข่งขันของธุรกิจได้
- สร้าง portfolio/จัดทัพ ที่ดี
5) ใช้เวลาทำอะไร?
- ทบทวนตัวเอง กระบวนการคิด
- เพิ่มขอบเขต radar หุ้น ipo, oppday, ติดตามการเปลี่ยนแปลงของหุ้นเดิม
- เพิ่มความรู้การลงทุน เช่น แนวคิดใหม่ๆ model cap M
6) VI ไม่ต้องดูดัชนี ทำหน้าที่ของเราให้ดี หากิจการที่ดี ต่ำกว่ามูลค่า
7) ใจ - ทำให้เราคลิกนิ้วถูกต้อง ตาและสมอง - ตาสามารถมอง แต่จะเห็นหรือเข้าใจขึ้นกับความรู้
ช่วงที่ 4 เสวนาแชร์ประสบการณ์นักลงทุนเก๋าเกมส์ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร และรศ.ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา
• ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
1) สมัยก่อนที่เคยอยากได้ fast profit ก็ขาดทุนบ้าง หลังๆก็ไม่ได้ทำอีก ต่อให้เรารู้ว่ากำไรจะดี คนอื่นก็รู้
และก็ไม่กล้าซื้อเยอะ ซึ่งถ้าซื้อน้อยก็ไม่มีผลแตกต่างกับพอร์ต
2) คนที่เพิ่งตั้งตัวก็แนะนำให้หาบริษัทดีๆ มั่นคงในระยะยาว ที่เห็นได้กำไรไวไว มีน้อยคนมาก
5 ปีที่ผ่านมาเป็นปีทอง ต่อไปจากนี้ไม่ง่ายก็น่าจะมีคนทำได้น้อยลงไปอีก คนที่ตายไปก็มาก เราไม่เคยเห็นตัว
3) วิธีลงทุนช่วงหลังๆมากไม่ค่อยได้ทำอะไรกับพอร์ต 80-90% ถือเฉยๆมากว่า 5 ปีแล้ว
คิดว่าวันหนึ่งคงต้องไปลงทุนต่างประเทศ แต่ตอนนี้ยังไม่อยาก และมีข้อจำกัดเยอะ
4) ลงทุนให้สบายใจควรลงทุนในกิจการที่เรารู้สึกดี มีความรู้สึกเป็นเจ้าของด้วย
5) AEC คิดว่ายังไม่มีผลมาก แต่มีศักยภาพในระยะไกลๆ ต้องใช้เวลา สนใจลงทุนเวียดนามมีศํกยภาพมากกว่าพม่า,กัมพูชา
ประเทศไทยต่อไปคนสูงอายุก็จะเริ่มมาก เศรษฐกิจโตช้าลง
6) การกระจายความเสี่ยง ทำให้หุ้นอย่างเดียว แต่หลายตัว ในระยะยาวจะได้ return ดี และเสี่ยงน้อย
• รศ.ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา
1) ทำวิจัยวิชาการ เอาข้อมูลอัตราส่วนทางการเงินย้อนหลัง พบว่า วิเคราะห์โดยใช้ ratio ตัวเดียวก็ให้ผลตอบแทนสูงสุด
PE > PBV > ROE > Dividend ตอนนี้กำลังศึกษาอันใหม่ คือ PEG, PERG( เพิ่ม Risk เข้ามา
ซึ่งจะช่วงลดการแกว่งของพอร์ตได้อย่างมีนัยสำคัญ, Risk ใช้ Beta, SD ของผลตอบแทนมาคิด)
2) พอร์ตเล็กต้องให้ความสำคัญความเสี่ยงมากกว่าพอร์ตใหญ่ พอร์ตใหญ๋เงินจะหายไป 50% ก็ยังพอกินพอใช้สบายๆ
แต่จริงๆก็ต้องดูแลความเสี่ยงเหมือนกันทั้งพอร์ตเล็กใหญ่
3) การถือหุ้น 100% ตลอดเวลาทำได้แค่บางคน ถ้าทุกคนจะทำสำเร็จได้เหมือน idol เป็นไปไม่ได้
คนส่วนใหญ่ต้องอยู่ที่ค่าเฉลี่ย
4) ชอบแบบคุณ theenuch vi บ้านๆ ไปเรื่อยๆ แต่เก็บทุกเม็ด มั่งคงในหลักการ ไม่ถึง 10 ปีก็มีอิสรภาพทางการเงิน
5) ลงทุนหุ้น 50-60% พอร์ตแต่พอดีมันโตขึ้นมามากเลยกลายเป็น 80-90% พอร์ต สินทรัพย์อื่นไม่ค่อยโต
6) เกณฑ์ลงทุนคือใช้หลักสัมมาอาชีวะ ที่ค้าสัตว์ ค้าเหล้าก็จะไม่ลงทุน แต่ก็ขึ้นกับแต่ละคนตีความไม่เหมือนกัน
7) การกระจายความเสี่ยงขึ้นกับควาสบายใจ ไม่รุ่มร้อนเกินไป ไม่งั้นคือยังกระจายไม่พอ
ขอบคุณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในการจัดงานนี้ขึ้น (แถมมีคูปองอาหารกลางวันให้ด้วย 100 บาท ^^)
ขอบคุณ คุณสโรชา ที่รับลงทะเบียน ขอบคุณ พิธิีกร และวิทยากรทุกท่านสำหรับการให้ความรู้
งานวันนี้มานั่งฟังสบายๆ ไม่ได้จดด้วยคอมพิวเตอร์ ก็ขอเล่าแบบสรุปนะครับ
และก็เข้าฟังไม่ได้ครบถ้วนนักครับ มีอะไรขาดๆเกินๆเสริมได้นะครับ
ช่วงที่ 1 ชีวิตกับการลงทุน คุณณัฐชาต คำศิริตระกูล (พี่Mario Kaan)
• ช่วงแรกในการทำงาน พยายามประหยัดอดอม ไม่ใช้ฟุ่มเฟือย เลือกพักใกล้ที่ทำงานจะได้มีเวลาหาความรู้มากๆ
• คิดเอาไว้ตั้งแต่แรกว่า หนี้ก้อนแรก คือ เงินหลังเกษียณ ไม่ใช่ผ่อนรถ หรือหนี้อย่างอื่นที่คนทั่วไปทำกัน
• เป้าหมายทางการเงิน
1) มีเงินใช้หลังเกษียณ - เป็นขั้นต่ำ
2) อิสรภาพทางการเงิน - 200 เท่าของค่าใช้จ่ายรายเดือน
3) มีความมั่งคั่ง
• แก้ว 3 ประการในการลงทุน
1) เงินลงทุนเริ่มต้น
2) ระยะเวลาลงทุน
3) ผลตอบแทนการลงทุน
• หลายคนมีแผนมีวิธีการแต่ทำไม่สำเร็จเพราะไม่เชื่อ,ไม่ศรัทธา,ทัศนคติไม่ถูกต้อง
- มีข้ออ้างเยอะ เงินไม่พอ แก่แล้ว ดวงไม่ดี
- ทัศนคติแตกต่าง คนชั้นกลางเอาสะดวกสบายก่อน คนรวยfocusที่ความมั่งคั่ง
- ไม่เรียนรู้จากความผิดพลาดคนอื่น ไม่ประมาทเรื่องไม่คาดคิดอาจเกิดกับเราได้ ex. ป่วย,ตกงาน, เป็นหม้าย
• การลงทุนเหมือนวิ่งมาราธอน ต้องอึดอดทน ใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 10 ปี
• ทางเลือกการลงทุนมีหลายอย่าง เงินฝาก/หุ้นกู้/กองทุนอสังหาฯ/กองทุนltf,rmf/
• ลงทุนหุ้นสามัญ
1) Active - มีหลายวิธี VI / TA (VI ก็เป็นการลงทุนแบบ active ในการศึกษาหาความรู้ ไม่ใช่ active ซื้อๆขายๆ)
2) Passive - index fund/ETF(TDEX) ใช้วิธีซ์้อเฉลี่ยทุกเดือน (DCA)
• แหล่งความรู้เพิ่มเติม
- หนังสือด้านการลงทุนดีๆเช่น ของ ดร.นิเวศน์ เล่มใหม่ ก้าวเล็กๆในตลาดหุ้น ก้าวที่ยิ่งใหญ่ในชีวิต
เป็นการรวมสุดยอดแนวคิดตั้งแต่ลงทุนมาหรือหนังสือของบัฟเฟตต์ มีที่คุณพรชัย(พี่web)แปลหลายเล่ม
- tsi thailand
- thaivi.org
- money talk@SET
• แผนที่ทางการเงิน - ประเมินรายได้ทั้งหมด การออม การเติบโตและคำนวณให้รู้ว่าอายุเท่าไรจะมีเงินเท่าไร จะได้ตามเป้าไหม
(คุณMario Kaan มีไฟล์ Excel ใครสนใจอีเมล์ไปขอได้ครับ)
• ชีวิตของเราไม่ได้มีแต่เรื่องเงินเพียงปัจจัยเดียว ยังมีเรื่องอื่นๆที่ต้องบริหารจัดการให้ดี
เช่น
- สุขภาพ : ยกคำกล่าว พระอ.ไพศาล วิสาโล "การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคภัย นับเป็นความสุขอย่างหนึ่งที่คนไม่ค่อยตระหนัก
เพราะใจไปจดจ่ออยู่กับอย่างอื่นที่ยังมาไม่ถึงหรือยังไม่มี เช่น ความมั่งคั่ง ชื่อเสียง อำนาจ สถานะ คู่ครอง
ต่อเมื่อล้มป่วย หรือทุพพลภาพ จึงมาได้คิดว่าครั้งหนึ่งความสุขเคยอยู่กับตัวแท้ ๆ แต่กลับมองข้ามไป"
- ครอบครัว : อย่าลืมดูแล ในวันที่สำเร็จแล้วเราก็อยากมีคนใกล้ตัวอยู่ร่วมยินดีกับเรา
- จิตใจ : เพิ่งไปบวชมา,ทำงานสมาคม thaivi ก็เป็นการทำด้านสังคม เงินที่สมาคมเก็บได้แต่ละปีถ้าเหลือก็บริจาคให้สังคม
ปีล่าสุดบริจาคให้มูลนิธิศิริราชพยาบาล 1 ล้านบาท
• อิสรภาพ เงิน เป็นเป้าหมายเบื้องต้น -> เวลา -> จิตใจ
Q&A
- ทำอย่างไรให้ไม่หลุดจากแผนที่วางไว้?
Ans. 1) ต้องหา idol หรือคนต้นแบบเราที่จะทำให้เราเชื่อว่า
2) อย่าสนใจคนภายนอกมากนัก ที่จะให้เรารู้สึกอยากทำนอกจากแผน คบกัลยานมิตรที่คุยภาษาเดียวกัน
- เป้าเท่าไรถึงพอ?
Ans. 200 เท่าของค่าใช้จ่ายของแต่ละคนไม่เท่ากัน ทั่วไป 30 ล้านบาทก็น่าจะ OK
- เคยลงทุนอย่างอื่นไหม?
Ans. เคยช่วงแรกๆ แล้วก็พบว่าเราเป็นนักคิด มากกว่านักปฏิบัติ ชอบมองแนวโน้มมากกว่า
ช่วงที่ 2 ลงทุนอย่างมีความสุขผ่านกองทุนรวม ดร.สมจินต์ ศรไพศาล
• หลายคนให้ความสำคัญกับการเฟ้นหาหุ้นที่จะทำกำไรให้ดีๆ ซึ่งงานวิจัยเรื่องผลตอบแทนการลงทุน พบว่า Asset allocation(การกระจายสินทรัพย์ที่ลงทุน) ส่งผล 90% ของผลตอบแทนรวม ขณะที่ Security selection(การเลือกหุ้น เลือกพันธบัตร) ส่งผลแค่ 10%ของผลตอบแทนรวม ซึ่งคนที่ได้ผลตอบแทนที่ดี บางครั้งอาจเกิดจากอยู่ในตลาดหุ้นนานพอ และอยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะสม
• การกระจายความเสี่ยงใน bond, หุ้น, เงินสด อย่างเหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงจากตลาดตกต่ำ ในบางปีที่หุ้นแย่ bond ก็ยังทำผลตอบแทนได้ดี หรือบางปีที่ bond แย่ หุ้นก็จะทำผลตอบแทนได้ดี
• ระดับความมั่งคั่ง
1) Survival ratio = รายได้จากการทำงาน + รายได้จากสินทรัพย์ / รายจ่าย ถ้ามากกว่า 1 คืออยู่รอดได้ด้วยตนเอง
2) Wealth ratio = รายได้จากสินทรัพย์ / รายจ่าย ถ้ามากกว่า 1 คือมีอิสรภาพทางการเงิน
• แปลงหยาดเหงื่อให้เป็นสินทรัพย์
- รายได้ หัก รายจ่าย เงินที่เหลือก็นำไปลงทุนในสินทรัพย์ ได้เป็น ค่าเช่า เงินปันผล แต่ถ้าคนจนคนชั้นกลางก็ไปก่อหนี้สิน
- อยากให้ Focus ที่ earn income หรือเงินที่ได้จากการทำงาน ซึ่งทำให้เราได้ใช้ความสามารถของเราสร้างผลงาน
และพัฒนาคุณค่าในตัวเรา ไม่ต้องรีบไปเป็น full time investor
- วินัยในตัวเอง คือกุญแจความสำเร็จ ไม่ใช่ iq หรือ eq
• รายจ่ายเล็กน้อยที่เป็นประจำ อาจเปลี่ยนเป็นแหล่งเงินออมที่สำคัญ
- กาแฟวันละ 1 แก้ว 100 บาท x 7 วัน = 700 บาท
ถ้านำเงินนั้นไปลงทุนได้ผลตอบแทน 8% ต่อปี
10 ปี จะมีค่า 5.5 แสนบาท 20 ปี มีค่า 1.7 ล้านบาท 30 ปี มีค่า 4.3 ล้านบาท !!
• หนังสือ Millionaire next door บอกว่าปัจจัยสำคัญที่คนประสบความสำเร็จ คือ การเลือกที่อยู่อาศัย ในคนระดับเดียวกัน ระหว่างที่เลือกที่อยู่ในหมู่บ้านของเศรษฐี กับ หมู่บ้านของชนชั้นกลาง แบบหลังจะมีความสุขมากกว่า เพราะไม่ต้องไปเปรียบเทียบกับบ้านอื่น ที่ออกรถใหม่ ไปเที่ยวต่างประเทศ ส่งลูกไปโปรแกรมดีๆ
• สำหรับคนทั่วไปจะมีทางเลือก 2 ทาง คือ
1) Pretend to be rich - พยายามทำตัวให้ตัวเองดูมีฐานะ
2) Becomes rich actually - มุ่งมั่นที่เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ร่ำรวยขึ้นมาจริงๆ
• เส้นทางเศรษฐี 3 วินัยทางการเงิน
1) พากเพียรในการทำงาน
2) พอเพียงในการจับจ่าย
3) เพลิดเพลินในการลงทุน
• มีงานวิจัยศึกษาตลาดย้อนหลัง 100 ปี พบว่าผตอบแทนจาก price return กับ dividend return ส่งผลไม่ต่างกันมาก ราวๆ 50 % กว่า กับ 40% กว่า เพราะบางปี price return ก็ติดลบ แต่ dividend เป็นบวก ซึ่งนักลงทุนระยะสั้นหลายคนมักทอดทิ้งผลตอบแทนตรงนี้
• การจัดทัพลงทุน เหมือนเล่นฟุตบอลมีกองหน้า ทำประตู กองกลาง ของสนับสนุน กองหลังคอยป้องกัน โดยต้องจัดทัพที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การลงทุน ซึ่งถ้าจัดทัพได้ดีก็จะลดความเสี่ยงได้อย่างมีนัยสำคัญ
• สะพาน ระหว่าง ความรู้ กับ ความมั่งคั่ง คือ วินัยทางการเงิน -> ออมก่อน แล้วจึงใช้จ่าย , dollar cost average ซื้ออย่างสม่ำเสมอ
• เส้นทางแห่งความสุข
สุขจากการทำงาน -> เพียร -> รายได้
สุขจากความพอ -> พอ -> รายจ่าย
สุขจากการลงทุน -> พอร์ท -> กำไร
และแบ่งปัน
• กฏแห่งความมั่งมี 3D of Good wealth
Law of desire, Law of Discipline, Law of Distribution -> ตั้งใจดี มีวินัย คืนให้สังคม
• ถ้าสนใจกองทุนรวมหรือโปรแกรมวางแผนลงทุนอัตโนมัติ(AIP) ติดต่อ TMBAM call center 1725
ช่วงที่ 3 เสวนากับเซียนหุ้นรุ่นใหม่ คุณอนุรักษ์ บุญแสวง และคุณวีระพงษ์ ธัม
• คุณอนุรักษ์ บุญแสวง
1) หุ้นคือ ธุรกิจ ประเมินค่าให้ได้ ซื้อให้ต่ำกว่าราคานั้นยิ่งดี
2) MOS คืออาวุธลับของ VI เป็นสิ่งที่ทำให้แตกต่างกับแนวอื่น และได้ผลตอบแทนมากกว่าปกติ
3) ต้องไม่ยอมจำนนต่อฝูงชน ไม่ทำตามคนอื่น ผลลัพธ์เป็นอย่างไร เราต้องพร้อมจะรับ
4) แนะนำนักลงทุนใหม่
- ให้สร้างความเชื่อ แรงจูงใจ แรงศรัทธา เป็นลำดับแรก ทลายได้ทุกอย่าง
- หาหนังสือมาอ่าน หนังสือไม่กี่เล่มก็เปลี่ยนชีวิตเราได้
- เป็นกระบวนการที่ทำน้อยแต่ได้มาก
- อ่านหนังสือพันเล่มก็ว่ายไม่เป็น เหมือนการลงทุน ต้องทำไปด้วย เรียนรู้ไปด้วย
5) ใช้เวลาทำอะไร?
- อ่านข่าว,หนังสือชี้ชวน, oppday
- ชีวิตคนเราไม่ได้มีบทบาทเดียว หาเงิน -> สร้างความมั่นคง เพิ่มคุณภาพชีวิตให้ครอบครัว สุขภาพ ไม่ทอดทิ้งสังคม
6) ไม่สนใจจังหวะตลาด ถ้าหุ้นมี margin of safety มากๆ ซื้อเลย ถ้าหุ้นมี margin of safety น้อย ก็ทยอยซื้อ
7) จะประสบความสำเร็จ ใจต้องมาก่อน -> วิธีการที่ถูกต้อง -> อดทน >EQ
8) Q&A แชร์แนวคิดตอนซื้อ hotpot ในอดีต
- ดู Replacement cost ตอนที่ซื้อ market cap 1000 กว่าล้าน มี 140 กว่าสาขา
ต้องลงทุน 6-8 ล้านต่อสาขา เราจะไปทำลงทุนทำเองก็ต้องลงทุนมากกว่านี้
- ยอดขายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจะเกิด eos สัดส่วนค่าใช้จ่ายบริหารควรลดลง ทำให้ margin เพิ่ม
- take over target
9) Q&A ตอนซื้อ VNG,RCL ช่วงลงทุนแรกยังไม่รู้ว่าเป็นวัฏจักร หลักๆเพราะ PE 2.5 กับ PE 1.5 เท่าถึงซื้อ
ถือเป็นการทดสอบความเชื่อเพราะถือเป็นปีราคาไม่ค่อยไปไหน แต่เมื่อถึงวันของมัน เป็นวันที่เราชนะเด็ดขาด
• คุณวีระพงษ์ ธัม
1) การลงทุนก็แนวคิดคล้ายวิศวกรรม margin of safety ก็คือ safety factor
2) เจงกิสข่าน ชนะทัพเปอร์เซียได้แม้ทหารน้อยกว่า 4 เท่าเพราะรู้จักใช้ความกลัวของคู่แข่ง
ซึ่งคู่แข่งในตลาดหุ้นคือ นายตลาด เมื่อนายตลาดกลัว เราก็ต้องบุก
3) Noise มาก สมัยนี้มี FB,Line IR, ผบห.ก็คอยสื่อสารรู้ว่านักลงทุนอยากฟังอะไร
4) แนะนำนักลงทุนใหม่
- ให้ลับขวานให้คมก่อนตัดไม้ แต่ก็ควรเริ่มลงทุนด้วยในปริมาณน้อย
- อ่านงบการเงินให้เข้าใจ อย่าข้าม ศึกษาให้ถ่องแท้
- ประเมินความแข็งแรง ความสามารถแข่งขันของธุรกิจได้
- สร้าง portfolio/จัดทัพ ที่ดี
5) ใช้เวลาทำอะไร?
- ทบทวนตัวเอง กระบวนการคิด
- เพิ่มขอบเขต radar หุ้น ipo, oppday, ติดตามการเปลี่ยนแปลงของหุ้นเดิม
- เพิ่มความรู้การลงทุน เช่น แนวคิดใหม่ๆ model cap M
6) VI ไม่ต้องดูดัชนี ทำหน้าที่ของเราให้ดี หากิจการที่ดี ต่ำกว่ามูลค่า
7) ใจ - ทำให้เราคลิกนิ้วถูกต้อง ตาและสมอง - ตาสามารถมอง แต่จะเห็นหรือเข้าใจขึ้นกับความรู้
ช่วงที่ 4 เสวนาแชร์ประสบการณ์นักลงทุนเก๋าเกมส์ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร และรศ.ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา
• ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
1) สมัยก่อนที่เคยอยากได้ fast profit ก็ขาดทุนบ้าง หลังๆก็ไม่ได้ทำอีก ต่อให้เรารู้ว่ากำไรจะดี คนอื่นก็รู้
และก็ไม่กล้าซื้อเยอะ ซึ่งถ้าซื้อน้อยก็ไม่มีผลแตกต่างกับพอร์ต
2) คนที่เพิ่งตั้งตัวก็แนะนำให้หาบริษัทดีๆ มั่นคงในระยะยาว ที่เห็นได้กำไรไวไว มีน้อยคนมาก
5 ปีที่ผ่านมาเป็นปีทอง ต่อไปจากนี้ไม่ง่ายก็น่าจะมีคนทำได้น้อยลงไปอีก คนที่ตายไปก็มาก เราไม่เคยเห็นตัว
3) วิธีลงทุนช่วงหลังๆมากไม่ค่อยได้ทำอะไรกับพอร์ต 80-90% ถือเฉยๆมากว่า 5 ปีแล้ว
คิดว่าวันหนึ่งคงต้องไปลงทุนต่างประเทศ แต่ตอนนี้ยังไม่อยาก และมีข้อจำกัดเยอะ
4) ลงทุนให้สบายใจควรลงทุนในกิจการที่เรารู้สึกดี มีความรู้สึกเป็นเจ้าของด้วย
5) AEC คิดว่ายังไม่มีผลมาก แต่มีศักยภาพในระยะไกลๆ ต้องใช้เวลา สนใจลงทุนเวียดนามมีศํกยภาพมากกว่าพม่า,กัมพูชา
ประเทศไทยต่อไปคนสูงอายุก็จะเริ่มมาก เศรษฐกิจโตช้าลง
6) การกระจายความเสี่ยง ทำให้หุ้นอย่างเดียว แต่หลายตัว ในระยะยาวจะได้ return ดี และเสี่ยงน้อย
• รศ.ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา
1) ทำวิจัยวิชาการ เอาข้อมูลอัตราส่วนทางการเงินย้อนหลัง พบว่า วิเคราะห์โดยใช้ ratio ตัวเดียวก็ให้ผลตอบแทนสูงสุด
PE > PBV > ROE > Dividend ตอนนี้กำลังศึกษาอันใหม่ คือ PEG, PERG( เพิ่ม Risk เข้ามา
ซึ่งจะช่วงลดการแกว่งของพอร์ตได้อย่างมีนัยสำคัญ, Risk ใช้ Beta, SD ของผลตอบแทนมาคิด)
2) พอร์ตเล็กต้องให้ความสำคัญความเสี่ยงมากกว่าพอร์ตใหญ่ พอร์ตใหญ๋เงินจะหายไป 50% ก็ยังพอกินพอใช้สบายๆ
แต่จริงๆก็ต้องดูแลความเสี่ยงเหมือนกันทั้งพอร์ตเล็กใหญ่
3) การถือหุ้น 100% ตลอดเวลาทำได้แค่บางคน ถ้าทุกคนจะทำสำเร็จได้เหมือน idol เป็นไปไม่ได้
คนส่วนใหญ่ต้องอยู่ที่ค่าเฉลี่ย
4) ชอบแบบคุณ theenuch vi บ้านๆ ไปเรื่อยๆ แต่เก็บทุกเม็ด มั่งคงในหลักการ ไม่ถึง 10 ปีก็มีอิสรภาพทางการเงิน
5) ลงทุนหุ้น 50-60% พอร์ตแต่พอดีมันโตขึ้นมามากเลยกลายเป็น 80-90% พอร์ต สินทรัพย์อื่นไม่ค่อยโต
6) เกณฑ์ลงทุนคือใช้หลักสัมมาอาชีวะ ที่ค้าสัตว์ ค้าเหล้าก็จะไม่ลงทุน แต่ก็ขึ้นกับแต่ละคนตีความไม่เหมือนกัน
7) การกระจายความเสี่ยงขึ้นกับควาสบายใจ ไม่รุ่มร้อนเกินไป ไม่งั้นคือยังกระจายไม่พอ