40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 1
อันนี้ถามผู้ที่เชี่ยวชาญในการขอคืนภาษีโดนเฉพาะเลยว่า
เจอปันผลประเภท 40(8) โดยที่บริษัทซื้อหุ้นคืนในอัตราสมมติ 1 บาท ต่อหุ้น
โดยที่ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะ TSD ไม่มีอำนาจในการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับข้อนี้
ดังนั้นตอนปลายปีเมื่อยื่นภาษีต้องกรณีนี้ทำให้ต้องเอาไปรวมกับรายได้เงินเดือน เงินปันผล ดอกเบี้ยฯลฯ
แต่อย่างไงก็ดีมันก็ต้องมีเครดิตภาษีเกิดขึ้นใน 40(8) หรือเปล่าครับสำหรับ CASE นี้
ใครรู้ช่วยอธิบายให้เข้าใจหน่อย เพราะตอนนนี้โคตรงงเลย
เจอปันผลประเภท 40(8) โดยที่บริษัทซื้อหุ้นคืนในอัตราสมมติ 1 บาท ต่อหุ้น
โดยที่ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะ TSD ไม่มีอำนาจในการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับข้อนี้
ดังนั้นตอนปลายปีเมื่อยื่นภาษีต้องกรณีนี้ทำให้ต้องเอาไปรวมกับรายได้เงินเดือน เงินปันผล ดอกเบี้ยฯลฯ
แต่อย่างไงก็ดีมันก็ต้องมีเครดิตภาษีเกิดขึ้นใน 40(8) หรือเปล่าครับสำหรับ CASE นี้
ใครรู้ช่วยอธิบายให้เข้าใจหน่อย เพราะตอนนนี้โคตรงงเลย
-
- Verified User
- โพสต์: 455
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 2
ไม่ค่อยเข้าใจคำถาม ... เป็นกรณีเคสไหนครับ หมายถึงบริษัทซื้อหุ้นจากเราคืน หรืออย่างไรmiracle เขียน:อันนี้ถามผู้ที่เชี่ยวชาญในการขอคืนภาษีโดนเฉพาะเลยว่า
เจอปันผลประเภท 40(8) โดยที่บริษัทซื้อหุ้นคืนในอัตราสมมติ 1 บาท ต่อหุ้น
โดยที่ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะ TSD ไม่มีอำนาจในการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับข้อนี้
ดังนั้นตอนปลายปีเมื่อยื่นภาษีต้องกรณีนี้ทำให้ต้องเอาไปรวมกับรายได้เงินเดือน เงินปันผล ดอกเบี้ยฯลฯ
แต่อย่างไงก็ดีมันก็ต้องมีเครดิตภาษีเกิดขึ้นใน 40(8) หรือเปล่าครับสำหรับ CASE นี้
ใครรู้ช่วยอธิบายให้เข้าใจหน่อย เพราะตอนนนี้โคตรงงเลย
message ไปแล้ว ลองดูหน่อยครับ
เด็กฝึกงาน...
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 3
เป็น CASE ของ BTS ที่ปรับ PAR ของหุ้นจาก 0.64 บาทต่อหุ้นเป็น 4 บาทต่อหุ้น
ทำให้หุ้นมีบ้างส่วนที่ไม่สามารถปรับ PARได้ ดังนั้นบริษัทก็ดำเนินการซื้อคืนที่ราคา 0.80 บาทต่อหุ้น
จุดนี้แหละทำให้ เกิดการจ่ายค่าหุ้นคืนกลับให้ผู้ถือหุ้น
ตั้งแต่ผมเป็นนักลงทุนมา และที่ผมจำได้ว่า BTS เป็น CASE ที่สองที่ทำแบบนี้
ก่อนหน้านี้เป็นของ TKS ที่รวมพาร์ แต่ CASE ของ TKS รวม PARแบบ 10 ต่อ 1
เพราะไม่มีการเอาราคาพาร์ของหุ้นไปล้างขาดทุนสะสม แต่ CASE นี้มีตัวนี้เข้ามาเลยต้องถามว่า
เครดิตปันผลคิดอย่างไง ,TSD(ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ก็ไม่มีอำนาจหัก ณ ที่จ่าย 10%) ต้องเอาตัวนี้ไปคิดตอนปลายปีหรือไม่ ถ้าหากยื่นเครดิตภาษีทั้งหมด
อันนี้เป็น CASE ตัวอย่างที่น่าศึกษาไว้ เพราะในอนาคตอาจจะมีเกิดขึ้นอีก
เพราะปัจจุบันมันย้อนรอยอดีตเสมอ
ทำให้หุ้นมีบ้างส่วนที่ไม่สามารถปรับ PARได้ ดังนั้นบริษัทก็ดำเนินการซื้อคืนที่ราคา 0.80 บาทต่อหุ้น
จุดนี้แหละทำให้ เกิดการจ่ายค่าหุ้นคืนกลับให้ผู้ถือหุ้น
ตั้งแต่ผมเป็นนักลงทุนมา และที่ผมจำได้ว่า BTS เป็น CASE ที่สองที่ทำแบบนี้
ก่อนหน้านี้เป็นของ TKS ที่รวมพาร์ แต่ CASE ของ TKS รวม PARแบบ 10 ต่อ 1
เพราะไม่มีการเอาราคาพาร์ของหุ้นไปล้างขาดทุนสะสม แต่ CASE นี้มีตัวนี้เข้ามาเลยต้องถามว่า
เครดิตปันผลคิดอย่างไง ,TSD(ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ก็ไม่มีอำนาจหัก ณ ที่จ่าย 10%) ต้องเอาตัวนี้ไปคิดตอนปลายปีหรือไม่ ถ้าหากยื่นเครดิตภาษีทั้งหมด
อันนี้เป็น CASE ตัวอย่างที่น่าศึกษาไว้ เพราะในอนาคตอาจจะมีเกิดขึ้นอีก
เพราะปัจจุบันมันย้อนรอยอดีตเสมอ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1256
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 4
ผมก็ไม่เคยเจอเคสนี้มาก่อนครับ แต่กรณีนี้ไม่น่าจะเกี่ยวกับเครดิตภาษีเงินปันผลเลยนะครับ เพราะบริษัทเพียงแต่ซื้อเศษหุ้นส่วนที่ไม่ได้ปรับพาร์คืนจากผู้ถือหุ้นเท่านั้น ส่วนตัวเห็นว่าไม่น่าจะถือเป็นเงินได้ คล้ายๆการTender Offer ที่ผู้ขายก็ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ แม้ไม่ได้ขายผ่านตลาด
ส่วนการจ่ายเงินปันผล TSDก็ทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลางในกาารออกเอกสารหักณที่จ่าย ส่งเช็ค/โอนเงินให้ผู้ถือหุ้นเท่านั้น ส่วนบริษัทที่จ่ายเงินปันผลเป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเงินปันผลเพื่อนำส่งให้กับกรมสรรพากรครับ
ส่วนการจ่ายเงินปันผล TSDก็ทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลางในกาารออกเอกสารหักณที่จ่าย ส่งเช็ค/โอนเงินให้ผู้ถือหุ้นเท่านั้น ส่วนบริษัทที่จ่ายเงินปันผลเป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเงินปันผลเพื่อนำส่งให้กับกรมสรรพากรครับ
"Price is what you pay. Value is what you get."
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 5
CASE นี้อาจจะเป็นกรณีศึกษาในการจ่ายปันผลได้
มันเป็น CASE ที่เป็นบรรทัดฐานในการจ่ายต่อไปในอนาคตอันใกล้นี้
ตอนนี้ผมก็ยังงงอยู่ว่า ยื่น 40(8) แต่ยื่นไปแล้ว เอาเครดิตคืนได้หรือไม่
เพราะอ่านใบแนบก็เห็นแต่สูตรในการคำนวณเท่านั้น ไม่มีตัวอย่างให้ดูว่าคิดอย่างด้วย
อีกที่อ่านแล้วเจอคือ คำชี้แจงของ TSD ในเรื่องการหักภาษี 10% ณ ที่จ่าย ว่าไม่สามารถหักได้
เนื่องจากเงินจ่ายเป็นประเภท 40(8) นั้นเอง
เรื่องนี้ต้องให้ผู้เชียวชาญมาคำอธิบาย เพื่อเก็บไว้เป็น กรณีศึกษาในอนาคตต่อไป
หากมี CASE แบบนี้เกิดขึ้น
มันเป็น CASE ที่เป็นบรรทัดฐานในการจ่ายต่อไปในอนาคตอันใกล้นี้
ตอนนี้ผมก็ยังงงอยู่ว่า ยื่น 40(8) แต่ยื่นไปแล้ว เอาเครดิตคืนได้หรือไม่
เพราะอ่านใบแนบก็เห็นแต่สูตรในการคำนวณเท่านั้น ไม่มีตัวอย่างให้ดูว่าคิดอย่างด้วย
อีกที่อ่านแล้วเจอคือ คำชี้แจงของ TSD ในเรื่องการหักภาษี 10% ณ ที่จ่าย ว่าไม่สามารถหักได้
เนื่องจากเงินจ่ายเป็นประเภท 40(8) นั้นเอง
เรื่องนี้ต้องให้ผู้เชียวชาญมาคำอธิบาย เพื่อเก็บไว้เป็น กรณีศึกษาในอนาคตต่อไป
หากมี CASE แบบนี้เกิดขึ้น
-
- Verified User
- โพสต์: 43
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 6
ขอออกตัวหน่อยนะคะ ที่เข้ามาตอบนี่ไม่ได้หมายความว่าตัวเองเป็นผู้เชี่ยวชาญนะคะ เพียงแต่พอมีความรู้อยู่บ้างเท่านั้นค่ะ
อ่านคำถามตอนแรกก็งงอ่ะค่ะ เลยต้องไปหาข่าวมาอ่านว่าเรื่องเป็นไง ไม่เห็นหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายด้วย แต่ก็พอเข้าใจได้ว่า เป็นการลดจำนวนหุ้นลงเท่านั้น ส่วนมูลค่าหุ้นยังคงเดิม
กรณีนี้เกิดจากการที่ บริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้นและมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทฯ กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ทำให้มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทฯ เปลี่ยนจากเดิมหุ้นละ 0.64 บาท เป็น หุ้นละ 4 บาท และจำนวนหุ้นของบริษัทฯ ลดลงจากเดิม74,815,275,150 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.64 บาท) เป็นจำนวน 11,970,444,024 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ4 บาท) ทั้งนี้ ในการรวมหุ้น (ในอัตรา 6.25 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่) และเปลี่ยนพาร์ดังกล่าว กรณีมีเศษหุ้นเดิมเหลือจากการคำนวณ ซึ่งไม่เพียงพอที่จะแปลงเป็นหุ้นใหม่ บริษัทฯ ได้ตัดเศษหุ้นเดิมของผู้ถือหุ้นดังกล่าวทิ้ง โดยจะ จ่ายเงินชดเชยค่าเศษหุ้นเดิมที่ถูกตัดทิ้งในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท ตามสัดส่วนเศษหุ้นเดิมที่ถูกตัดทิ้ง
ฉะนั้นเศษหุ้นที่ตัดทิ้งและจ่ายเป็นเงินสดไม่น่าเกิน 6.24 หุ้นต่อราย โดยบริษัทจ่ายเงินสดชดเชยให้ในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท จำนวนเงินจ่ายสูงสุดไม่น่าเกิน 4.99 บาทต่อราย ( เห็นตัวเลขน้อย ๆ แบบนี้แต่ถ้ามากรายก็เป็นเงินเยอะเหมือนกันนะคะ)
ในส่วนที่บริษัทคำนวณจ่ายให้หุ้นละ 0.80 บาท ถ้าให้เดาบริษัทน่าจะรวมภาษีที่ผู้ถือหุ้นต้องไปจ่ายเพิ่มตอนยื่นภงด 90,91ไว้แล้วในอัตราประมาณ 30% (ราคาพาร์ 0.64 + ภาษี (0.64 x 30%) = 0.83 บาท)
เงินที่ได้รับนี้ไม่ใช่เงินปันผลนะคะ จะไปเครดิตเงินปันผลไม่ได้ เมื่อตีประเด็นเป็นมาตรา 40(8) ตามหนังสือรับรอง (ปกติการจ่ายเงินถ้าไม่เข้าประเด็นมาตรา 40(1) – 40(7) ก็จะเป็น 40(8) หมดค่ะ) กรณีนี้ตามมาตรา 50 ไม่ได้ระบุให้ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายค่ะ
ณ วันสิ้นปี ผู้ถือหุ้นที่เป็นบุคคลธรรมดาต้องนำเงินได้ที่ได้รับตามมาตรา 40(8) นี้ไปรวมคำนวณเป็นเงินได้ด้วยค่ะ
(ถ้ายอดเงินในหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ใช่ตามที่เข้าใจ PM แจ้งให้ทราบได้ไหมคะ)
อ่านคำถามตอนแรกก็งงอ่ะค่ะ เลยต้องไปหาข่าวมาอ่านว่าเรื่องเป็นไง ไม่เห็นหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายด้วย แต่ก็พอเข้าใจได้ว่า เป็นการลดจำนวนหุ้นลงเท่านั้น ส่วนมูลค่าหุ้นยังคงเดิม
กรณีนี้เกิดจากการที่ บริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้นและมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทฯ กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ทำให้มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทฯ เปลี่ยนจากเดิมหุ้นละ 0.64 บาท เป็น หุ้นละ 4 บาท และจำนวนหุ้นของบริษัทฯ ลดลงจากเดิม74,815,275,150 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.64 บาท) เป็นจำนวน 11,970,444,024 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ4 บาท) ทั้งนี้ ในการรวมหุ้น (ในอัตรา 6.25 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่) และเปลี่ยนพาร์ดังกล่าว กรณีมีเศษหุ้นเดิมเหลือจากการคำนวณ ซึ่งไม่เพียงพอที่จะแปลงเป็นหุ้นใหม่ บริษัทฯ ได้ตัดเศษหุ้นเดิมของผู้ถือหุ้นดังกล่าวทิ้ง โดยจะ จ่ายเงินชดเชยค่าเศษหุ้นเดิมที่ถูกตัดทิ้งในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท ตามสัดส่วนเศษหุ้นเดิมที่ถูกตัดทิ้ง
ฉะนั้นเศษหุ้นที่ตัดทิ้งและจ่ายเป็นเงินสดไม่น่าเกิน 6.24 หุ้นต่อราย โดยบริษัทจ่ายเงินสดชดเชยให้ในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท จำนวนเงินจ่ายสูงสุดไม่น่าเกิน 4.99 บาทต่อราย ( เห็นตัวเลขน้อย ๆ แบบนี้แต่ถ้ามากรายก็เป็นเงินเยอะเหมือนกันนะคะ)
ในส่วนที่บริษัทคำนวณจ่ายให้หุ้นละ 0.80 บาท ถ้าให้เดาบริษัทน่าจะรวมภาษีที่ผู้ถือหุ้นต้องไปจ่ายเพิ่มตอนยื่นภงด 90,91ไว้แล้วในอัตราประมาณ 30% (ราคาพาร์ 0.64 + ภาษี (0.64 x 30%) = 0.83 บาท)
เงินที่ได้รับนี้ไม่ใช่เงินปันผลนะคะ จะไปเครดิตเงินปันผลไม่ได้ เมื่อตีประเด็นเป็นมาตรา 40(8) ตามหนังสือรับรอง (ปกติการจ่ายเงินถ้าไม่เข้าประเด็นมาตรา 40(1) – 40(7) ก็จะเป็น 40(8) หมดค่ะ) กรณีนี้ตามมาตรา 50 ไม่ได้ระบุให้ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายค่ะ
ณ วันสิ้นปี ผู้ถือหุ้นที่เป็นบุคคลธรรมดาต้องนำเงินได้ที่ได้รับตามมาตรา 40(8) นี้ไปรวมคำนวณเป็นเงินได้ด้วยค่ะ
(ถ้ายอดเงินในหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ใช่ตามที่เข้าใจ PM แจ้งให้ทราบได้ไหมคะ)
- todsapon
- Verified User
- โพสต์: 1137
- ผู้ติดตาม: 0
Re: 40(8) จากการจ่ายค่าหุ้นหลังปรับพาร์
โพสต์ที่ 8
เงินที่คุณได้มาคือรายได้ที่คุณได้รับ เสียภาษีไปเท่าไรนั่นคือเสียภาษี ณ ที่จ่ายครับ ไปขอคืนได้ตอนสิ้นปีmiracle เขียน:อันนี้ถามผู้ที่เชี่ยวชาญในการขอคืนภาษีโดนเฉพาะเลยว่า
เจอปันผลประเภท 40(8) โดยที่บริษัทซื้อหุ้นคืนในอัตราสมมติ 1 บาท ต่อหุ้น
โดยที่ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะ TSD ไม่มีอำนาจในการหัก ณ ที่จ่ายสำหรับข้อนี้
ดังนั้นตอนปลายปีเมื่อยื่นภาษีต้องกรณีนี้ทำให้ต้องเอาไปรวมกับรายได้เงินเดือน เงินปันผล ดอกเบี้ยฯลฯ
แต่อย่างไงก็ดีมันก็ต้องมีเครดิตภาษีเกิดขึ้นใน 40(8) หรือเปล่าครับสำหรับ CASE นี้
ใครรู้ช่วยอธิบายให้เข้าใจหน่อย เพราะตอนนนี้โคตรงงเลย
ผลตอบแทน 15% ต่อปีก็พอ
กำไรเมื่อซื้อ มิใช่กำไรเมื่อขาย
การได้ทำอะไรที่ตนเองชอบและมีปัจจัยสี่พร้อมเพียงคือสุดยอดแห่งความสุข
ขอยืมเงินหน่อยครับ
กำไรเมื่อซื้อ มิใช่กำไรเมื่อขาย
การได้ทำอะไรที่ตนเองชอบและมีปัจจัยสี่พร้อมเพียงคือสุดยอดแห่งความสุข
ขอยืมเงินหน่อยครับ