creative accouting
โพสต์แล้ว: พุธ พ.ค. 28, 2008 9:54 am
ต้นฉบับผมโพสไว้ 3 เดือนละที่นี้
http://www.templeboxing.com/index.php?topic=1021.0
อยากให้สมาชิกทุกท่าน
ช่วยเสริม หรือให้ความเห็นด้วย
1.ลูกเล่นกับค่าตัดจำหน่าย ธนาคาร t จ่ายค่า goodwill 20 ปีเนื่องจาก
take over ifct กับ ไทยทนุ แต่ strategic parter (น่าจะเรียกงี้นะ)
บอกว่าธนาคาร t ค่าความนิยมเนี้ย กรุณาตัดออกได้ไหมเพราะว่าพอแยก
กำไรของ 3 ธนาคารออกมา กับ ควบก็ไม่เห็นจะมีกำไรสูงขึ้นตรงไหน
(มันไม่เห็นจะมีอะไรดีขึ้นเลย) ก็เลยบอกให้ธนาคาร t ตัดค่าความนิยมให้เป็น
ค่าใช้จ่ายให้หมดเลย ทำให้หุ้นของ ธนาคาร t ตกหนัก แต่อยากตั้งข้อสังเกตุว่า
อาจจะน่าซื้อก็ได้เพราะว่า การที่ธนาคาร t ตัดค่าความนิยมให้เป็น
ค่าใช้จ่ายไม่ได้ทำให้เงินสดออกจาก และหลังจากนั้น ค่าใช้จ่ายก็จะลดลงทุกปี
สมมุติ ตัดจำหน่าย 10000 ล้าน 20 ปี ปีละ 500 ล้าน แสดงว่าหลังจากนี้ทุกปี
กำไรต้องเพิ่ม 500 ล้าน ถ้าอยากเป็น contrarian เข้าซื้อธนาคาร t ตอนหุ้นลงหลัง
จากมีข่าวนี้ (อาจจะติดดอยก็ได้นะ) ก็น่าจะเป็นกลยุทธ์ที่ไม่เลวนัก
ถ้าถามว่าเป็น creative accountin ตรงไหน ก็ตรงที่ ธนาคาร t จ่ายค่าความนิยม
เกินจริงทำให้สินทรัพย์สูงเกินจริง และใช้วิธีตัดอายุค่าความนิยมที่ยาวที่สุดคือ
20 ปี (ถ้า gaap ) ให้ตัด 200 ปี ก็คงตัด 200 ปี จะเห็นว่า ธนาคาร t บันทึกบัญชี
ด้วยวิธี aggressive (รับรู้รายได้เร็ว รับรู้รายจ่ายช้า)
มุขที่ 2 เป็นเหรียญตรงกันข้ามกับด้านที่1
หลักทรัพย์แห่งนึงตัวขึ้นต้นไม่ใช่ b-z มีการ take over อีกแห่งนึง
และจ่ายค่าความนิยมไปสูงมาก อยู่ๆแกก็บอกว่า เฮ้ บริษัทที่ take มา
ไม่น่าจะมีค่ามากในอนาคตเลย รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมดภายในงวดเดียวเลย
โอ้ (ก่อนจะ take ) ทำไมไม่คิดดีๆล่ะ ว่าไม่มีประโยชน์ หลังจากตัดเป็ฯค่าใช้จ่าย
ก็ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสะสมติดลบ หุ้นก็ ถูกเทกระจาด รายย่อยก็แห่ขาย
เพราะปันผล ผู้บริหารน่าจะทำการ.... ก่อน และอยู่ๆก็ประกาศว่า จะนำส่วนเกินมูลค่า
หุ้นมาล้างขาดทุนสะสม แล้วจ่ายปันผลได้อีกครั้ง ทำให้หุ้นกลับขึ้นไป
ช่วงที่ สวิง นี้ไม่แน่ใจว่ามีใครได้ผลประโยชน์จากราคาหุ้นบ้าง
มุขนี้จะใช้วิธีบันทึกค่าความนิยมแบบ conservative (รับรู้รายจ่ายเร็ว รับรู้รายได้ช้า)
ซึ้งตรงข้ามกับ ธนาคาร t ที่จะตัดความนิยมให้นานที่สุด
การตัดค่าความนิยมแบบ conser นี้เกิดกับธุรกิจโรงภาพยนต์อีกแห่งที่ ตัวขึ้นต้นอยู่หลัง l แต่อยู่หน้า n ด้วยนะครับ
หึหึ มามุขที่ 3 กันเลยดีกว่า
3.ร้านอาหารแห่งนึง ตัวย่อ... ได้รับเงินสนับสนุนทางการค้า
กับน้ำอัดลมญี่ห่อนึงจำนวณ 30 ล้าน แล้วมีสัญญาว่าจะต้องไม่ขาย
น้ำอัดลมอีกญี่ห่อนึงในร้านเป็นเวลา 5 ปี
ตามหลักของ gaap บอกว่า เงินสนับสนุนการค้าจะต้องทยอยเกลี่ยรับรู้รายได้
ตามความเข้าใจก็คือ 30 ล้าน/5/12 เป็นรายได้รับต่อเดือน รับรายได้เป็นวิธีเส้นตรง
แต่บริษัททอดๆย่างๆ แห่งนี้ดันบันทึกโดย รับรู้รายได้เงินสนับสนุนเข้างบกำไร
ขาดทุนทันที 30 ล้าน
ก็เลยโดนสั่งแก้งบการเงินทันที งบประมาณปี 46 ขนาดบันทึกรายการนี้แล้วยังเหลือ
กำไรแค่ 1 ล้านบาท แสดงว่าต้องขาดทุนปกติ ประมาณคร่าวๆ 29 ล้าน
รูปแบบนี้เรียกว่าง่ายๆว่า record revenue to soonมุขที่4 เรียกว่า recording refunds from suppliers as revenue
หุ้นเกี่ยวกับเครื่องบินแห่งนึง ซื้อเครื่องบินราคา 100 บาท ได้ส่วนลด 5 บาท
ตามหลัก gaap ต้องบันทึกว่า ต้นทุน 95 แต่พี่แกดันไปบันทึกว่าต้นทุน 100
และรับรู้รายได้จากส่วนลด 5 บาท ทำให้ได้กำไรเกินจริง
แต่ก็ต้องตัดค่าเสื่อมสูงเกินจริงเหมือนกัน
ลองคิดดูดีๆ แบบนี้ก็กำไรสูงกว่าปกติมากนะ ไม่เชื่อ
ลองกดเครื่องคิดเลขดูซิว่า ปกติพี่แก margin สักเท่าไหร่มุขที่ 5 เรียกว่า burying losses under non-continuing opertion
คือการแอบซุกขาดทุนหรือค่าใช้จ่ายไปยังธุรกิจที่ถูก take over หรือ
เลิกกิจการ
บริษัทแห่งนึง ทำนมสด กับ ไอศครีม ถ้าขายส่วนที่เป็น ไอศรึมให้คนอื่นไป
ก็ต้องทำการล้าง asset ทั้งหมด ให้คนที่มา take over และโอนส่วนนั้นให้
ไปด้วย ซึ้งจะสามารถทำลูกเล่นได้ดังนี้ ถ้าแต่เดิมทั้งสองบริษัทใช้น้ำไฟ ร่วมกัน
ใช้อุปกรณ์การผลิตร่วมกันมาตลอด แต่เวลาแยก ผู้บริหารก็โยนค่าใช้จ่าย ไปทาง
ส่วนไอศรีมเยอะๆ (เพราะค่าใช้จ่ายในส่วนนมสดที่ตัวเองเหลืออยู่จะได้น้อยผิดปกติ)
และก็โยนว่าค่าน้ำค่าไฟ ส่วนใหญ่เนี้ย เกิดจากส่วน ไอศครีมทั้งนั้นเลย ทำได้เพราะ
เป็นดุลยพินิจของผู้บริหาร
ก็จะทำให้กำไรสูงเกินจริงเพราะว่า ค่าใช้จ่ายงวดนั้นจะหายไปเยอะ margin จะดูดี
แต่จริงๆแล้ว ไม่มีอะไรในกอไผ่
ให้ระวังเวลาอ่านข่าวเจอว่า บริษัทไหน ขายบางส่วนให้กับบริษัทอื่นแล้วอยู่ๆ
ค่าใช้จ่ายลดผิดปกติ
ผมไม่แน่ใจว่าจะเกิดกับหุ้นบางตัวที่เพิ่งยกเลิกหรือว่าขายส่วนที่เป็นจอแบนไปหรือป่าว
http://www.templeboxing.com/index.php?topic=1021.0
อยากให้สมาชิกทุกท่าน
ช่วยเสริม หรือให้ความเห็นด้วย
1.ลูกเล่นกับค่าตัดจำหน่าย ธนาคาร t จ่ายค่า goodwill 20 ปีเนื่องจาก
take over ifct กับ ไทยทนุ แต่ strategic parter (น่าจะเรียกงี้นะ)
บอกว่าธนาคาร t ค่าความนิยมเนี้ย กรุณาตัดออกได้ไหมเพราะว่าพอแยก
กำไรของ 3 ธนาคารออกมา กับ ควบก็ไม่เห็นจะมีกำไรสูงขึ้นตรงไหน
(มันไม่เห็นจะมีอะไรดีขึ้นเลย) ก็เลยบอกให้ธนาคาร t ตัดค่าความนิยมให้เป็น
ค่าใช้จ่ายให้หมดเลย ทำให้หุ้นของ ธนาคาร t ตกหนัก แต่อยากตั้งข้อสังเกตุว่า
อาจจะน่าซื้อก็ได้เพราะว่า การที่ธนาคาร t ตัดค่าความนิยมให้เป็น
ค่าใช้จ่ายไม่ได้ทำให้เงินสดออกจาก และหลังจากนั้น ค่าใช้จ่ายก็จะลดลงทุกปี
สมมุติ ตัดจำหน่าย 10000 ล้าน 20 ปี ปีละ 500 ล้าน แสดงว่าหลังจากนี้ทุกปี
กำไรต้องเพิ่ม 500 ล้าน ถ้าอยากเป็น contrarian เข้าซื้อธนาคาร t ตอนหุ้นลงหลัง
จากมีข่าวนี้ (อาจจะติดดอยก็ได้นะ) ก็น่าจะเป็นกลยุทธ์ที่ไม่เลวนัก
ถ้าถามว่าเป็น creative accountin ตรงไหน ก็ตรงที่ ธนาคาร t จ่ายค่าความนิยม
เกินจริงทำให้สินทรัพย์สูงเกินจริง และใช้วิธีตัดอายุค่าความนิยมที่ยาวที่สุดคือ
20 ปี (ถ้า gaap ) ให้ตัด 200 ปี ก็คงตัด 200 ปี จะเห็นว่า ธนาคาร t บันทึกบัญชี
ด้วยวิธี aggressive (รับรู้รายได้เร็ว รับรู้รายจ่ายช้า)
มุขที่ 2 เป็นเหรียญตรงกันข้ามกับด้านที่1
หลักทรัพย์แห่งนึงตัวขึ้นต้นไม่ใช่ b-z มีการ take over อีกแห่งนึง
และจ่ายค่าความนิยมไปสูงมาก อยู่ๆแกก็บอกว่า เฮ้ บริษัทที่ take มา
ไม่น่าจะมีค่ามากในอนาคตเลย รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมดภายในงวดเดียวเลย
โอ้ (ก่อนจะ take ) ทำไมไม่คิดดีๆล่ะ ว่าไม่มีประโยชน์ หลังจากตัดเป็ฯค่าใช้จ่าย
ก็ทำให้ส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสะสมติดลบ หุ้นก็ ถูกเทกระจาด รายย่อยก็แห่ขาย
เพราะปันผล ผู้บริหารน่าจะทำการ.... ก่อน และอยู่ๆก็ประกาศว่า จะนำส่วนเกินมูลค่า
หุ้นมาล้างขาดทุนสะสม แล้วจ่ายปันผลได้อีกครั้ง ทำให้หุ้นกลับขึ้นไป
ช่วงที่ สวิง นี้ไม่แน่ใจว่ามีใครได้ผลประโยชน์จากราคาหุ้นบ้าง
มุขนี้จะใช้วิธีบันทึกค่าความนิยมแบบ conservative (รับรู้รายจ่ายเร็ว รับรู้รายได้ช้า)
ซึ้งตรงข้ามกับ ธนาคาร t ที่จะตัดความนิยมให้นานที่สุด
การตัดค่าความนิยมแบบ conser นี้เกิดกับธุรกิจโรงภาพยนต์อีกแห่งที่ ตัวขึ้นต้นอยู่หลัง l แต่อยู่หน้า n ด้วยนะครับ
หึหึ มามุขที่ 3 กันเลยดีกว่า
3.ร้านอาหารแห่งนึง ตัวย่อ... ได้รับเงินสนับสนุนทางการค้า
กับน้ำอัดลมญี่ห่อนึงจำนวณ 30 ล้าน แล้วมีสัญญาว่าจะต้องไม่ขาย
น้ำอัดลมอีกญี่ห่อนึงในร้านเป็นเวลา 5 ปี
ตามหลักของ gaap บอกว่า เงินสนับสนุนการค้าจะต้องทยอยเกลี่ยรับรู้รายได้
ตามความเข้าใจก็คือ 30 ล้าน/5/12 เป็นรายได้รับต่อเดือน รับรายได้เป็นวิธีเส้นตรง
แต่บริษัททอดๆย่างๆ แห่งนี้ดันบันทึกโดย รับรู้รายได้เงินสนับสนุนเข้างบกำไร
ขาดทุนทันที 30 ล้าน
ก็เลยโดนสั่งแก้งบการเงินทันที งบประมาณปี 46 ขนาดบันทึกรายการนี้แล้วยังเหลือ
กำไรแค่ 1 ล้านบาท แสดงว่าต้องขาดทุนปกติ ประมาณคร่าวๆ 29 ล้าน
รูปแบบนี้เรียกว่าง่ายๆว่า record revenue to soonมุขที่4 เรียกว่า recording refunds from suppliers as revenue
หุ้นเกี่ยวกับเครื่องบินแห่งนึง ซื้อเครื่องบินราคา 100 บาท ได้ส่วนลด 5 บาท
ตามหลัก gaap ต้องบันทึกว่า ต้นทุน 95 แต่พี่แกดันไปบันทึกว่าต้นทุน 100
และรับรู้รายได้จากส่วนลด 5 บาท ทำให้ได้กำไรเกินจริง
แต่ก็ต้องตัดค่าเสื่อมสูงเกินจริงเหมือนกัน
ลองคิดดูดีๆ แบบนี้ก็กำไรสูงกว่าปกติมากนะ ไม่เชื่อ
ลองกดเครื่องคิดเลขดูซิว่า ปกติพี่แก margin สักเท่าไหร่มุขที่ 5 เรียกว่า burying losses under non-continuing opertion
คือการแอบซุกขาดทุนหรือค่าใช้จ่ายไปยังธุรกิจที่ถูก take over หรือ
เลิกกิจการ
บริษัทแห่งนึง ทำนมสด กับ ไอศครีม ถ้าขายส่วนที่เป็น ไอศรึมให้คนอื่นไป
ก็ต้องทำการล้าง asset ทั้งหมด ให้คนที่มา take over และโอนส่วนนั้นให้
ไปด้วย ซึ้งจะสามารถทำลูกเล่นได้ดังนี้ ถ้าแต่เดิมทั้งสองบริษัทใช้น้ำไฟ ร่วมกัน
ใช้อุปกรณ์การผลิตร่วมกันมาตลอด แต่เวลาแยก ผู้บริหารก็โยนค่าใช้จ่าย ไปทาง
ส่วนไอศรีมเยอะๆ (เพราะค่าใช้จ่ายในส่วนนมสดที่ตัวเองเหลืออยู่จะได้น้อยผิดปกติ)
และก็โยนว่าค่าน้ำค่าไฟ ส่วนใหญ่เนี้ย เกิดจากส่วน ไอศครีมทั้งนั้นเลย ทำได้เพราะ
เป็นดุลยพินิจของผู้บริหาร
ก็จะทำให้กำไรสูงเกินจริงเพราะว่า ค่าใช้จ่ายงวดนั้นจะหายไปเยอะ margin จะดูดี
แต่จริงๆแล้ว ไม่มีอะไรในกอไผ่
ให้ระวังเวลาอ่านข่าวเจอว่า บริษัทไหน ขายบางส่วนให้กับบริษัทอื่นแล้วอยู่ๆ
ค่าใช้จ่ายลดผิดปกติ
ผมไม่แน่ใจว่าจะเกิดกับหุ้นบางตัวที่เพิ่งยกเลิกหรือว่าขายส่วนที่เป็นจอแบนไปหรือป่าว