มาวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย ของ OISHI กันดีกว่า
โพสต์แล้ว: พฤหัสฯ. มิ.ย. 28, 2007 12:10 pm
ข้อดี
1.เป็นผู้นำธุรกิจด้านตลาดชาเขียว และอาหารญี่ปุ่น
2.ผู้บริหารเป็นคนเก่ง มีความรู้ความสามารถ มีไอเดียสำหรับธุรกิจที่ยอดเยี่ยม
3.ราคาหุ้นมีความผันผวนน้อยกว่าพวก Big Cap หรือมีค่าเบต้าที่ต่ำ
4.ผู้บริหารมีการซื้อหุ้นแบบมีนัยสำคัญ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 09/02/2550 07/02/2550 17,000 21.60 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/02/2550 12/02/2550 21,000 20.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 13/03/2550 30,000 18.00 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 14/03/2550 30,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 15,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 25,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 20,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 30,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 20/03/2550 85,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 20/03/2550 6,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 21/03/2550 60,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 26/03/2550 22/03/2550 50,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 30/03/2550 27/03/2550 20,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 02/04/2550 29/03/2550 30,000 17.20 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 02/04/2550 29/03/2550 30,000 17.00 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 11/05/2550 11/05/2550 20,000 17.30 ซื้อ
5.คู่แข่งก็เริ่มลดลง ทำให้โออิชิมีส่วนแบ่งตลาดที่สูงขึ้นโดยมี เครื่องดื่มชาเขียวที่ระดับ 67% ได้ ขณะ Market Share ชารวมก็จะสามารถรักษาอยู่ที่ระดับ 56%
6.สามารถสร้างการเติบโตต่อธุรกิจได้โดยเพิ่มยอดขายและกำไรเกี่ยวกับธุรกิจร้านอาหารได้ด้วยการเร่งขยายสาขา โดยเฉพาะที่ต่างจังหวัด โดยสำหรับประเทศไทย Chain Store ส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็น KFC, Mc, MK, etc. ล้วนแล้วแต่มีสาขามากกว่า 200 สาขาทั้งนั้น ในขณะที่ร้านต่างๆในเครือโออิชิ มีรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 96 สาขาในปี 2007 เท่านั้น สังเกตว่าตอนนี้โออิชิยังไม่ได้ขยายร้านอาหารเข้าไปใน Modern Trade อาทิ Lotus , BigC , Carrefour , Robinson ตจว. (ส่วนใหญ่แล้วจะมีใน Central , The Mall , Major , MBK , ซีคอน , ฟิวเจอร์ ปาร์ค) หากขยายไปยัง Modern Trade เหล่านี้ได้เร็ว ก็เท่ากับสร้าง Value Add ให้กับธุรกิจชาเขียวและ Brand อื่นๆในตัวได้ด้วย
7.Net Profit Margin เฉพาะหมวดเครื่องดื่มดีขึ้น ปัจจุบัน Q1 ที่ ~15.84% เทียบกับทั้งปี 2549 ที่ ~6.54% หากรักษาส่วนนี้ได้ในปี 2550 จะช่วยเพิ่มอัตราการเพิ่มขึ้นของกำไรได้เป็นอย่างดี
8.Net Profit Margin รวม ณ Q1 = ~9.83% ดีขึ้นกว่าทั้งปีของปี 2549 ที่ ~5% หากรักษาส่วนนี้ได้ในปี 2550 จะช่วยเพิ่มอัตราการเพิ่มขึ้นของกำไรได้ โดยจะทำให้กำไรเติบโตขึ้นจากปีที่ตกต่ำในปี 2549 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นสูงขึ้นตามมา
9.มีการบริหารต้นทุนโดยรวมที่ดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ Q1 50-Q1 49 , Q1 50-Q4 49 หรือ Q1 50-Q 49 รวม
10.ขณะนี้ยังมี Promotion ส่งเสริมการขายอยู่มาก เช่น ร่วมกับ 7-Eleven ,ร่วมกับ Major Movie give me 5 (หมดเขต Q2 นี้) , ยังมีการจัดโปรโมชั่นชุด คอมโบ้ เซ็ท พิเศษ (หมดเขตุสิ้นปี 2550) ซึ่งเป็นการกระตุ้นยอดขายและสร้าง Brand โฆษณาผ่านโรงหนังในเครือ Major ที่มีอยู่หลายสาขา และ Promotion กินฟรีปูยักษ์อลาสก้าผัดจักรพรรดิ์เมื่อมารับประทานอาหาร 4 ท่าน ที่ โออิชิ ภัตตาคารบุฟเฟ่ต์ญี่ปุ่น และ โออิชิ เอ๊กซ์เพรส ทุกวันจันทร์ อังคาร พุธ (หมด Q2 นี้) และส่วนลดร้านอาหารเฉพาะวันพฤหัสบดี 15% และหมดเขต Q2 นี้เช่นกัน
11.การมีมุมมองขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ เช่น ส่งออกเครื่องดื่มที่ 10% ของยอดขายรวม และขยายช่องทางขายอาหารภายในประเทศ เช่น ขายอาหารผ่านสายการบิน โอเรียน ไทย และ Frozen Food ผ่าน 7-eleven ที่มีอยู่หลายสาขาทั่วประเทศ
12.การจัดทำ Re-Packaging ใหม่ เพื่อความสวยงามและกระตุ้นยอดขาย
13.ระบบ Distribution ที่แข็งแกร่งจาก เสริมสุข และดีทแฮม สังเกตจากร้านขายเครื่องดื่มข้างทาง จะพบแบรนด์โออิชิ มากกว่าเครื่องดื่มชาเขียวประเภทอื่นๆ
14.การคาดการณ์เกี่ยวกับร้านอาหารและเครื่องดื่มง่ายกว่าธุรกิจอื่นๆ เช่น พวก Commodity จึงง่ายกว่าในการคำนวณ DCF และประมาณการยอดขายและผลกำไร รวมทั้งกระแสเงินสด และสังเกตจำนวนผู้บริโภคได้ง่ายกว่าธุรกิจอื่น
15.ธุรกิจแทบจะต้องไม่ต้องลงทุนมากแล้ว ในแง่ของอุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ เพราะได้ผ่านช่วงนี้มาแล้วในปี 2549
16.หนี้น้อยมากๆ อีกทั้งภาระดอกเบี้ยจ่ายก็น้อยมากเมื่อเทียบกับกำไร และแนวโน้มการเบิก O/D ก็ลดลง
17.มีที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ อยู่ 64% ของสินทรัพย์รวม
18.สินทรัพย์หมุนเวียนสามารถรองรับหนี้สินได้เกือบทั้งหมด
19.จาก Q1 50 พบว่าลูกหนี้การค้าและสินค้าคงเหลือลดลง
20.ราคาที่คุณเจริญซื้อคือ 32.50 บาทต่อหุ้น หรือประมาณ 55% คิดเป็นจำนวน 103 ล้านหุ้น
21.หากขยายฐานไปยังต่างประเทศ โออิชิสามารถหาช่องทางการจำหน่ายผ่านบริษัทคุณเจริญได้
22.บริษัทไม่ได้ลงทุนมาก ดังนั้นโอกาสในการเพิ่มทุนจึงน้อย อีกทั้งจำนวนหุ้นของโออิชิก็ไม่มากนัก ดังนั้นสามารถเพิ่ม EPS ได้ดีกว่า
23.กระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นบวกตลอด และไม่เคยขาดทุน
24.หนี้สินต่อทุนต่ำมาก หรือแทบไม่มี และความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยสูงมากเมื่อเทียบกับผลกำไร
25.เข้าสูตร VI คือ ซื้อธุรกิจที่ดี และเป็นผู้นำในช่วงที่ราคาที่มีส่วนลด และรอการฟื้นตัว
26.ตัวที่สามารถเพิ่มยอดขายและผลกำไรได้เป็นอย่างดี คือ การจัด Promotion เช่น 1 ฝา 1 ล้าน , การขยายตลาด , การลดต้นทุน หรือตัดธุรกิจที่ไม่มีผลกำไรหรือขาดทุนออกไป จะสังเกตว่าโออิชิเริ่มจะทำบ้างแล้ว เช่น Re-branding ร้าน In&Out , การจัดอบรมการปั้นข้าวปั้น รวมทั้งเพิ่มยอดขายทั้งด้านอาหารผ่านร้านค้าปลีก และการส่งออกเครื่องดื่มไปยังต่างประเทศ รวมทั้งการจัด Promotion ส่งเสริมการขายอื่นๆที่มีออกมาเรื่อยๆ
27.จากการเป็นผู้นำตลาดจะพบว่าราคาเครื่องดื่มโออิชินั้นสูงกว่าเจ้าอื่น แต่ก็ยังสามารถรักษา Market Share ได้ และสามารถตีความได้ว่า Product นั้นๆ สามารถครองใจผู้บริโภคได้ดีมากๆ
28.จะสามารถดูความเป็นไปได้อย่างไรสำหรับการเติบโตของธุรกิจเครื่องดื่มชาเขียว จากสมมุติฐานให้ยอดขายของเครื่องดื่ม คือ 3,200 ลบ.ต่อปี , ราคาขายเฉลีย = 12 บาท/ขวด , ประชากร = 65 ล้านคน จะได้อัตราการดื่ม = 4.1 ขวดต่อคนต่อปี ซึ่งน้อยมากๆ หากคิดเป็นวันจะได้จำนวนขวดที่จะต้องขายให้ได้ = 732,000 ขวดต่อวัน และเมื่อเทียบกับประชากรแล้ว พบว่ามีแค่ 1.13% ของประชากรทั้งหมดเท่านั้นที่จะดื่มชาเขียวต่อวัน หากเพิ่มความนิยมและเคมเปญที่ดึงดูดผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศอะไรจะเกิดขึ้น?
29.เช่นเดียวกันหากมาดูด้านอาหารกันบ้าง โดยกำหนดยอดขาย = 1,800 ลบ. , ค่าใช้จ่ายต่อคนเฉลี่ย 350 บาท และ ประชากร = 65 ล้านคน หากคิดเป็นวันแล้วจะได้ 16,400 ต่อคนต่อวันต่อ 100 สาขา ซึ่งจะได้จำนวนคนหมุนเวียนต่อวันต่อสาขาโดยเฉลี่ย = 164 คน/สาขา/ต่อวัน และหากคิดเป็นชั่วโมงจาก 11.00-21.00 เป็นเวลา 10 ชม จะได้ อัตราการหมุนเวียน = 16.4 คนต่อชั่วโมงต่อสาขา ซึ่งจะพบว่าจำนวนคนบริโภคต่อชั่วโมงยังน้อยมากๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่ามูลค่ารวมของร้านอาหารนั้นมีขนาดใหญ่มาก และจะพบว่าต่อวันมีคนทานอาหารญี่ปุ่นเพียง 0.025% ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการจะเพิ่มรายได้ในส่วนนี้ได้ คือ ขยายสาขา เพิ่มการหมุนเวียนของลูกค้า และเพิ่มความนิยมด้านอาหารญี่ปุ่น ขณะนี้จะพบว่าการหมุนเวียนยังน้อยอยู่เนื่องจากเป็นร้านอาหาร Buffet
30.Brand ดังๆสำหรับอาหารญี่ปุ่นที่มีสาขา มีเพียง 3 Brand เท่านั้น ได้แก่ ZEN , FUJI และ OISHI ซึ่งขณะนี้ OISHI มีความได้เปรียบทางด้านสาขา และช่องทางการจำหน่ายที่หลากหลาย
31.ซื้อธุรกิจที่ดีขณะที่ผู้คนไม่ให้ความสนใจ สามารถให้ผลตอบแทนสูงกว่า (Out-of-flavor)
32.จะดีมากๆหากขยายร้านอาหารและขายเครื่องดื่มเสริมไปด้วย ซึ่งจะสร้างผลกำไรให้โออิชิอย่างมาก สังเกตได้จากตามห้างจะมีตู้เย็นวางขายเครื่องดื่มหน้าร้านโออิชิ
33.การมีร้านอาหารเพิ่มมากขึ้นก็เหมือนกับการสร้างอาณาจักรและ Brand ของตัวเองให้แข็งแกร่งขึ้น
34.จากงบการเงินมาดูการคำนวณอัตราส่วนกัน แนวโน้ม CFO น่าจะได้ประมาณ 700 ล้านบาทซึ่งสูงกว่าปี 2549 ที่ได้เพียง 470 ล้านบาท
35.แนวโน้ม CFI น่าจะลดลงเนื่องจากผ่านการลงทุนหนักๆในปี 2549 มาแล้วที่อมตะ
36.แนวโน้ม CFF น่าจะลดลงเพราะไม่ต้องกู้ในการลงทุนเพิ่ม
37.PE=~14 และ < 15 และ PBV=1.75 ซึ่งเข้าสูตรของเกรแฮม
38.รายได้มากกว่า Market Cap หรือ P/S < 1 เข้าสูตรปีเตอร์ ลินซ์
39.P/CF = 6.38 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถือว่าดี
40.P/FCF = 14.8 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถือว่าดี
41.ROE หรือ ROI , ROA ในปีนี้มีแนวโน้มมากกว่า 15%,และ NPM จะดีขึ้น เนื่องจากปีนี้มีกำไรเพิ่มขึ้น
42.มาดูแนวโน้มทั้งด้านยอดขาย และกำไรต่อหุ้นกัน
Revenue
Periods2004 2005 2006
(Q1) 605 1,192 939
(Q2) 740 1,469 1,096
(Q3) 895 1,082 946
(Q4) 1,043 940 987
Totals 3,283 4,682 3,969
Note: Units in Millions of THB
Earnings Per Share
Periods 2004 2005 2006 2007
(Q1) 0.59 0.91 0.14 0.56
(Q2) 0.64 1.39 0.33
(Q3) 0.83 0.78 0.35
(Q4) 0.88 0.25 0.19
Totals 2.93 3.33 1.01
Note: Units in THB
จะพบว่าในรอบ 3 ปีที่ผ่านมาแนวโน้มไม่ว่าจะเป็นยอดขายหรือกำไรต่อหุ้นใน Q1 จะสูงกว่า Q2 ตลอดระยะ 3 ปีที่ผ่านมา ดังนั้นหาก Q2 เพิ่มมากกว่า Q1 จริงในปี 2550 เราจะได้ EPS ที่สูงกว่าปี 2549 ทันที เช่น ในปี 2549 EPS = 1.01 และ Q1 2550 EPS = 0.56 และ Q2 2550 EPS = 0.60 รวม 2 ไตรมาสหรือครึ่งปี EPS 2550 = 1.16 จะพบว่าเพียงครึ่งปีของปี 2550 ก็สามารถทำกำไรได้มากกว่าทั้งปีของปี 2549 แล้ว หากเป็นตามสมุติฐานนี้จริง ราคาหุ้นจะเป็นยังงัยครับ?
43.ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ที่ราคาทุน) ที่ 9.06 บาทต่อหุ้น และเงินสดทั้งปีที่คาดประมาณ 300 ล้านบาท = 1.6 บาทต่อหุ้น (Q1 มีเงินสด 164 ล้านบาท) ดังนั้นถ้ารวมทั้งหมดจะได้ 10.66 บาทต่อหุ้น ซึ่งราคาต่อหุ้นโดยรวมนั้นไม่ได้รวมยี่ห้อตราสินค้าที่แข็งแกร่งที่สร้างมาและครองใจผู้บริโภคมากว่า 8 ปี แต่ในขณะที่ราคาตลาดปัจจุบันที่ 18 บาทเท่านั้น หมายเหตุ : ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์นั้นโออิชิเป็นเจ้าของอยู่ คือ สุขุมวิท ย่านทองหล่อ (อย่างที่รู้ว่าที่ดินย่านนี้แพงมากๆและในอนาคตราคาที่ดินแห่งนี้ต้องเพิ่มขึ้นอีก) และนวนคร ปทุมธานี (เมื่อการขยายเมืองโตขึ้น พื้นที่รอบๆกทม.ย่อมได้รับประโยชน์ ราคาก็ต้องสูงขึ้น) ส่วนที่ดินที่อมตะ ชลบุรี เช่าเอาครับ
44.ช่วง IPO ใหญ่ ราคาเทรดกันที่ 19 บาทต่อหุ้น ขณะนี้ถูกว่าราคา IPO แต่สิ่งที่ได้มา คือ งบดุลที่แข็งแกร่งขึ้น หนี้สินลดลง กำไรสะสมเพิ่มขึ้นจาก 34 ล้านบาท ณ ปี 46 เป็นกว่า 800 ล้านบาทในปัจจุบัน และมีส่วนเกินมูลค่าหุ้น 609 ล้านบาทแถมมาด้วย สินค้าเป็นที่รู้จักมากขึ้น สาขาเพิ่มมากขึ้น ผ่านช่วงร้ายๆมาแล้ว ซึ่งทำให้ผู้บริหารรู้จักการปรับกลยุทธ์ และการเรียนรู้กับข้อผิดพลาดที่ผ่านมา
45.ในระยะยาวบริษัทไม่เจ๊ง เพราะว่าแทบไม่มีหนี้เลย
46.Net Profit Margin เทียบกับ SSC , S&P, TIPCO , Malee รวมๆแล้วก้อดูดีกว่า
47.ในปีนี้ประมาณสิงหาคม OISHI จะฉลองวันเกิด 8 ปี เห็นบอกว่าจะเป็น talk of the town น่าจะมีมัดเด็ดๆจากคุณตัน
48. มี product line ออกใหม่ คือ น้ำทับทิม กับชา ตอนนี้หาซื้อได้ที่ 7-eleven
49. มีการไปดูงานที่ไต้หวัน เห็นว่าจะมีผลิตภัณท์ใหม่ออกมาเรื่อยๆ แสดงว่าบริษัทสนใจใน R&D ซึ่งฟิชเชอร์ชอบมากๆ
50.เริ่มมีการเจาะตลาดไปยังสวนอาหารและภัตตาคารบ้างแล้วโดยบริษัทได้จ้างสาวเชียร์ชามาให้แนะนำผลิตภัณท์และเชียร์ให้ลูกค้ากินชาเขียวในสวนอาหารบ้างแล้ว โดยตั้งเป้าทีละ 10 ร้าน จากนั้นจะเริ่มย้ายไปยังที่ใหม่ๆ
51.พบว่าในโรงเรียนบางโรงเรียนไม่อนุญาติให้ขายน้ำอัดลม แต่ชาเขียวยังขายได้ตามปกติ
52.จากการสอบถามยี่ปั้วตามที่ต่างๆ เช่น JJ พบว่า OISHI ขายดีกว่ายี่ห้ออื่น รวมทั้งให้กำไรต่อขวดดีกว่ายี่ห้ออื่นด้วย
53.จากการไปสังเกตที่ห้าง modern trade พบว่า โซนเครื่องดื่มชาเขียวของ OISHI นั้นบุ๋มลงไปเยอะกว่ายี่ห้ออื่นๆมาก แสดงว่าลูกค้าซื้อกันเยอะกว่ายี่ห้ออื่น
มาลองคำนวณมูลค่าหุ้นกันเถอะ
วิธีที่ 1
กำหนดยอดขาย = 4200 ลบ. , จำนวนหุ้น = 188 ล้านหุ้น , PE = 15
NPM = 8% ได้ราคาหุ้น = 26.85 บาทต่อหุ้น (Q1-NPM=9.8% แต่ทั้งปีให้สัก 8% )
วิธีที่ 2
จากวิธีที่ 1 เรารู้ EPS ที่ประมาณการ = 1.79
หากใช้ PE ค่าเฉลี่ยจาก Tipco,S&P,SSC จะได้ PE = 13 ดังนั้นราคาที่ได้ = 23.23 บาทต่อหุ้น
หรือจาก PE รวมของหมวดอาหารและเครื่องดื่ม = 15 ดังนั้นราคาที่ได้ = 26.85 บาทต่อหุ้น
วิธีที่ 3
โดยเรารู้ BV ของ OISHI อยู่แล้ว = 10.22 บาทต่อหุ้น หากใช้วิธี PBV โดยดูจาก PBV เฉลี่ยของ Tipco,Malee,S&P,SSC จะได้ PBV = 1.8
ดังนั้นราคาที่ได้จะ = 18.38 บาทต่อหุ้น
หรือจาก PBV รวมของหมวดอาหารและเครื่องดื่ม = 1.91 ดังนั้นราคาที่ได้ = 19.52 บาทต่อหุ้น
วิธีที่ 4
ใช้ DCF โดยคำนวณ FCF = 450 ล้านบาท โดยFCF ที่เพิ่มขึ้นมาจากค่าเสื่อมที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนที่อมตะในปีที่แล้ว และในปีนี้ Capex จะลดลง เพราะผ่านการลงทุนหนักๆในปีที่ผ่านๆมา และกำหนด Discount rate = 10% (Conservative สุดๆ เนื่องจากบริษัทมีหนี้น้อยเลยให้ Discount Rate ที่สูง) (อันที่จริง Discount Rate จะต้องน้อยกว่านี้ เนื่องจากดอกเบี้ยลดและค่าเบต้าของโออิชิน้อยกว่า 1 ตาม Model CAPM Cost of Equities) และ Growth ของ FCF ในปีถัดๆไปกำหนดให้โตแค่ = 1% จะได้ราคาหุ้น = 28.06 บาทต่อหุ้น
ขณะนี้เริ่มมี reseach มาปรับราคาเป้าหมายกันแล้ว Target โดย ASP ให้ประมาณ 22.3 , KIMENG ให้ 27.5 และ TISCO ให้ 28 บาท โดยจะได้ Upside Gain อีกพอควร ไม่นับรวมปันผลอีก 4% (ดูการคำนวณข้างล่าง)
การคำนวณเงินปันผล จากการคำนวณข้างบน หากบริษัทมีนโยบายจ่ายปันผลเท่าเดิม คือ 40% จะได้ปันผลต่อหุ้น = 0.72 บาทเป็นของแถม หรือ = ~4% โดยไม่รวม Capital Gain ที่ได้ข้างบน
หมายเหตุ : ตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขที่คาดการณ์ครับ ซึ่งจะอิงตามข้อมูลที่หามาได้ ยังมีอีกหลายวิธีในการคำนวณครับ เช่น EV/EBITDA , EV/OCF เป็นต้น ส่วนข้อมูลต่างๆสามารถหาได้ใน SET , นสพ , efinance การคำนวณข้างบนเป็นการคำนวนเชิงปริมาณครับ แต่สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพต้องไปลองสังเกตและดูเองครับ
ข้อเสีย...
1.เป็นผู้นำธุรกิจด้านตลาดชาเขียว และอาหารญี่ปุ่น
2.ผู้บริหารเป็นคนเก่ง มีความรู้ความสามารถ มีไอเดียสำหรับธุรกิจที่ยอดเยี่ยม
3.ราคาหุ้นมีความผันผวนน้อยกว่าพวก Big Cap หรือมีค่าเบต้าที่ต่ำ
4.ผู้บริหารมีการซื้อหุ้นแบบมีนัยสำคัญ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 09/02/2550 07/02/2550 17,000 21.60 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/02/2550 12/02/2550 21,000 20.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 13/03/2550 30,000 18.00 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 14/03/2550 30,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 15,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 25,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 20,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 15/03/2550 15/03/2550 30,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 20/03/2550 85,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 20/03/2550 6,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 22/03/2550 21/03/2550 60,000 17.50 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 26/03/2550 22/03/2550 50,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 30/03/2550 27/03/2550 20,000 17.40 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 02/04/2550 29/03/2550 30,000 17.20 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 02/04/2550 29/03/2550 30,000 17.00 ซื้อ
โช เอวี่ย จิ้ว ผู้จัดทำ หุ้นสามัญ 11/05/2550 11/05/2550 20,000 17.30 ซื้อ
5.คู่แข่งก็เริ่มลดลง ทำให้โออิชิมีส่วนแบ่งตลาดที่สูงขึ้นโดยมี เครื่องดื่มชาเขียวที่ระดับ 67% ได้ ขณะ Market Share ชารวมก็จะสามารถรักษาอยู่ที่ระดับ 56%
6.สามารถสร้างการเติบโตต่อธุรกิจได้โดยเพิ่มยอดขายและกำไรเกี่ยวกับธุรกิจร้านอาหารได้ด้วยการเร่งขยายสาขา โดยเฉพาะที่ต่างจังหวัด โดยสำหรับประเทศไทย Chain Store ส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็น KFC, Mc, MK, etc. ล้วนแล้วแต่มีสาขามากกว่า 200 สาขาทั้งนั้น ในขณะที่ร้านต่างๆในเครือโออิชิ มีรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 96 สาขาในปี 2007 เท่านั้น สังเกตว่าตอนนี้โออิชิยังไม่ได้ขยายร้านอาหารเข้าไปใน Modern Trade อาทิ Lotus , BigC , Carrefour , Robinson ตจว. (ส่วนใหญ่แล้วจะมีใน Central , The Mall , Major , MBK , ซีคอน , ฟิวเจอร์ ปาร์ค) หากขยายไปยัง Modern Trade เหล่านี้ได้เร็ว ก็เท่ากับสร้าง Value Add ให้กับธุรกิจชาเขียวและ Brand อื่นๆในตัวได้ด้วย
7.Net Profit Margin เฉพาะหมวดเครื่องดื่มดีขึ้น ปัจจุบัน Q1 ที่ ~15.84% เทียบกับทั้งปี 2549 ที่ ~6.54% หากรักษาส่วนนี้ได้ในปี 2550 จะช่วยเพิ่มอัตราการเพิ่มขึ้นของกำไรได้เป็นอย่างดี
8.Net Profit Margin รวม ณ Q1 = ~9.83% ดีขึ้นกว่าทั้งปีของปี 2549 ที่ ~5% หากรักษาส่วนนี้ได้ในปี 2550 จะช่วยเพิ่มอัตราการเพิ่มขึ้นของกำไรได้ โดยจะทำให้กำไรเติบโตขึ้นจากปีที่ตกต่ำในปี 2549 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นสูงขึ้นตามมา
9.มีการบริหารต้นทุนโดยรวมที่ดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ Q1 50-Q1 49 , Q1 50-Q4 49 หรือ Q1 50-Q 49 รวม
10.ขณะนี้ยังมี Promotion ส่งเสริมการขายอยู่มาก เช่น ร่วมกับ 7-Eleven ,ร่วมกับ Major Movie give me 5 (หมดเขต Q2 นี้) , ยังมีการจัดโปรโมชั่นชุด คอมโบ้ เซ็ท พิเศษ (หมดเขตุสิ้นปี 2550) ซึ่งเป็นการกระตุ้นยอดขายและสร้าง Brand โฆษณาผ่านโรงหนังในเครือ Major ที่มีอยู่หลายสาขา และ Promotion กินฟรีปูยักษ์อลาสก้าผัดจักรพรรดิ์เมื่อมารับประทานอาหาร 4 ท่าน ที่ โออิชิ ภัตตาคารบุฟเฟ่ต์ญี่ปุ่น และ โออิชิ เอ๊กซ์เพรส ทุกวันจันทร์ อังคาร พุธ (หมด Q2 นี้) และส่วนลดร้านอาหารเฉพาะวันพฤหัสบดี 15% และหมดเขต Q2 นี้เช่นกัน
11.การมีมุมมองขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ เช่น ส่งออกเครื่องดื่มที่ 10% ของยอดขายรวม และขยายช่องทางขายอาหารภายในประเทศ เช่น ขายอาหารผ่านสายการบิน โอเรียน ไทย และ Frozen Food ผ่าน 7-eleven ที่มีอยู่หลายสาขาทั่วประเทศ
12.การจัดทำ Re-Packaging ใหม่ เพื่อความสวยงามและกระตุ้นยอดขาย
13.ระบบ Distribution ที่แข็งแกร่งจาก เสริมสุข และดีทแฮม สังเกตจากร้านขายเครื่องดื่มข้างทาง จะพบแบรนด์โออิชิ มากกว่าเครื่องดื่มชาเขียวประเภทอื่นๆ
14.การคาดการณ์เกี่ยวกับร้านอาหารและเครื่องดื่มง่ายกว่าธุรกิจอื่นๆ เช่น พวก Commodity จึงง่ายกว่าในการคำนวณ DCF และประมาณการยอดขายและผลกำไร รวมทั้งกระแสเงินสด และสังเกตจำนวนผู้บริโภคได้ง่ายกว่าธุรกิจอื่น
15.ธุรกิจแทบจะต้องไม่ต้องลงทุนมากแล้ว ในแง่ของอุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ เพราะได้ผ่านช่วงนี้มาแล้วในปี 2549
16.หนี้น้อยมากๆ อีกทั้งภาระดอกเบี้ยจ่ายก็น้อยมากเมื่อเทียบกับกำไร และแนวโน้มการเบิก O/D ก็ลดลง
17.มีที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ อยู่ 64% ของสินทรัพย์รวม
18.สินทรัพย์หมุนเวียนสามารถรองรับหนี้สินได้เกือบทั้งหมด
19.จาก Q1 50 พบว่าลูกหนี้การค้าและสินค้าคงเหลือลดลง
20.ราคาที่คุณเจริญซื้อคือ 32.50 บาทต่อหุ้น หรือประมาณ 55% คิดเป็นจำนวน 103 ล้านหุ้น
21.หากขยายฐานไปยังต่างประเทศ โออิชิสามารถหาช่องทางการจำหน่ายผ่านบริษัทคุณเจริญได้
22.บริษัทไม่ได้ลงทุนมาก ดังนั้นโอกาสในการเพิ่มทุนจึงน้อย อีกทั้งจำนวนหุ้นของโออิชิก็ไม่มากนัก ดังนั้นสามารถเพิ่ม EPS ได้ดีกว่า
23.กระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นบวกตลอด และไม่เคยขาดทุน
24.หนี้สินต่อทุนต่ำมาก หรือแทบไม่มี และความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยสูงมากเมื่อเทียบกับผลกำไร
25.เข้าสูตร VI คือ ซื้อธุรกิจที่ดี และเป็นผู้นำในช่วงที่ราคาที่มีส่วนลด และรอการฟื้นตัว
26.ตัวที่สามารถเพิ่มยอดขายและผลกำไรได้เป็นอย่างดี คือ การจัด Promotion เช่น 1 ฝา 1 ล้าน , การขยายตลาด , การลดต้นทุน หรือตัดธุรกิจที่ไม่มีผลกำไรหรือขาดทุนออกไป จะสังเกตว่าโออิชิเริ่มจะทำบ้างแล้ว เช่น Re-branding ร้าน In&Out , การจัดอบรมการปั้นข้าวปั้น รวมทั้งเพิ่มยอดขายทั้งด้านอาหารผ่านร้านค้าปลีก และการส่งออกเครื่องดื่มไปยังต่างประเทศ รวมทั้งการจัด Promotion ส่งเสริมการขายอื่นๆที่มีออกมาเรื่อยๆ
27.จากการเป็นผู้นำตลาดจะพบว่าราคาเครื่องดื่มโออิชินั้นสูงกว่าเจ้าอื่น แต่ก็ยังสามารถรักษา Market Share ได้ และสามารถตีความได้ว่า Product นั้นๆ สามารถครองใจผู้บริโภคได้ดีมากๆ
28.จะสามารถดูความเป็นไปได้อย่างไรสำหรับการเติบโตของธุรกิจเครื่องดื่มชาเขียว จากสมมุติฐานให้ยอดขายของเครื่องดื่ม คือ 3,200 ลบ.ต่อปี , ราคาขายเฉลีย = 12 บาท/ขวด , ประชากร = 65 ล้านคน จะได้อัตราการดื่ม = 4.1 ขวดต่อคนต่อปี ซึ่งน้อยมากๆ หากคิดเป็นวันจะได้จำนวนขวดที่จะต้องขายให้ได้ = 732,000 ขวดต่อวัน และเมื่อเทียบกับประชากรแล้ว พบว่ามีแค่ 1.13% ของประชากรทั้งหมดเท่านั้นที่จะดื่มชาเขียวต่อวัน หากเพิ่มความนิยมและเคมเปญที่ดึงดูดผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศอะไรจะเกิดขึ้น?
29.เช่นเดียวกันหากมาดูด้านอาหารกันบ้าง โดยกำหนดยอดขาย = 1,800 ลบ. , ค่าใช้จ่ายต่อคนเฉลี่ย 350 บาท และ ประชากร = 65 ล้านคน หากคิดเป็นวันแล้วจะได้ 16,400 ต่อคนต่อวันต่อ 100 สาขา ซึ่งจะได้จำนวนคนหมุนเวียนต่อวันต่อสาขาโดยเฉลี่ย = 164 คน/สาขา/ต่อวัน และหากคิดเป็นชั่วโมงจาก 11.00-21.00 เป็นเวลา 10 ชม จะได้ อัตราการหมุนเวียน = 16.4 คนต่อชั่วโมงต่อสาขา ซึ่งจะพบว่าจำนวนคนบริโภคต่อชั่วโมงยังน้อยมากๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่ามูลค่ารวมของร้านอาหารนั้นมีขนาดใหญ่มาก และจะพบว่าต่อวันมีคนทานอาหารญี่ปุ่นเพียง 0.025% ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการจะเพิ่มรายได้ในส่วนนี้ได้ คือ ขยายสาขา เพิ่มการหมุนเวียนของลูกค้า และเพิ่มความนิยมด้านอาหารญี่ปุ่น ขณะนี้จะพบว่าการหมุนเวียนยังน้อยอยู่เนื่องจากเป็นร้านอาหาร Buffet
30.Brand ดังๆสำหรับอาหารญี่ปุ่นที่มีสาขา มีเพียง 3 Brand เท่านั้น ได้แก่ ZEN , FUJI และ OISHI ซึ่งขณะนี้ OISHI มีความได้เปรียบทางด้านสาขา และช่องทางการจำหน่ายที่หลากหลาย
31.ซื้อธุรกิจที่ดีขณะที่ผู้คนไม่ให้ความสนใจ สามารถให้ผลตอบแทนสูงกว่า (Out-of-flavor)
32.จะดีมากๆหากขยายร้านอาหารและขายเครื่องดื่มเสริมไปด้วย ซึ่งจะสร้างผลกำไรให้โออิชิอย่างมาก สังเกตได้จากตามห้างจะมีตู้เย็นวางขายเครื่องดื่มหน้าร้านโออิชิ
33.การมีร้านอาหารเพิ่มมากขึ้นก็เหมือนกับการสร้างอาณาจักรและ Brand ของตัวเองให้แข็งแกร่งขึ้น
34.จากงบการเงินมาดูการคำนวณอัตราส่วนกัน แนวโน้ม CFO น่าจะได้ประมาณ 700 ล้านบาทซึ่งสูงกว่าปี 2549 ที่ได้เพียง 470 ล้านบาท
35.แนวโน้ม CFI น่าจะลดลงเนื่องจากผ่านการลงทุนหนักๆในปี 2549 มาแล้วที่อมตะ
36.แนวโน้ม CFF น่าจะลดลงเพราะไม่ต้องกู้ในการลงทุนเพิ่ม
37.PE=~14 และ < 15 และ PBV=1.75 ซึ่งเข้าสูตรของเกรแฮม
38.รายได้มากกว่า Market Cap หรือ P/S < 1 เข้าสูตรปีเตอร์ ลินซ์
39.P/CF = 6.38 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถือว่าดี
40.P/FCF = 14.8 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถือว่าดี
41.ROE หรือ ROI , ROA ในปีนี้มีแนวโน้มมากกว่า 15%,และ NPM จะดีขึ้น เนื่องจากปีนี้มีกำไรเพิ่มขึ้น
42.มาดูแนวโน้มทั้งด้านยอดขาย และกำไรต่อหุ้นกัน
Revenue
Periods2004 2005 2006
(Q1) 605 1,192 939
(Q2) 740 1,469 1,096
(Q3) 895 1,082 946
(Q4) 1,043 940 987
Totals 3,283 4,682 3,969
Note: Units in Millions of THB
Earnings Per Share
Periods 2004 2005 2006 2007
(Q1) 0.59 0.91 0.14 0.56
(Q2) 0.64 1.39 0.33
(Q3) 0.83 0.78 0.35
(Q4) 0.88 0.25 0.19
Totals 2.93 3.33 1.01
Note: Units in THB
จะพบว่าในรอบ 3 ปีที่ผ่านมาแนวโน้มไม่ว่าจะเป็นยอดขายหรือกำไรต่อหุ้นใน Q1 จะสูงกว่า Q2 ตลอดระยะ 3 ปีที่ผ่านมา ดังนั้นหาก Q2 เพิ่มมากกว่า Q1 จริงในปี 2550 เราจะได้ EPS ที่สูงกว่าปี 2549 ทันที เช่น ในปี 2549 EPS = 1.01 และ Q1 2550 EPS = 0.56 และ Q2 2550 EPS = 0.60 รวม 2 ไตรมาสหรือครึ่งปี EPS 2550 = 1.16 จะพบว่าเพียงครึ่งปีของปี 2550 ก็สามารถทำกำไรได้มากกว่าทั้งปีของปี 2549 แล้ว หากเป็นตามสมุติฐานนี้จริง ราคาหุ้นจะเป็นยังงัยครับ?
43.ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ที่ราคาทุน) ที่ 9.06 บาทต่อหุ้น และเงินสดทั้งปีที่คาดประมาณ 300 ล้านบาท = 1.6 บาทต่อหุ้น (Q1 มีเงินสด 164 ล้านบาท) ดังนั้นถ้ารวมทั้งหมดจะได้ 10.66 บาทต่อหุ้น ซึ่งราคาต่อหุ้นโดยรวมนั้นไม่ได้รวมยี่ห้อตราสินค้าที่แข็งแกร่งที่สร้างมาและครองใจผู้บริโภคมากว่า 8 ปี แต่ในขณะที่ราคาตลาดปัจจุบันที่ 18 บาทเท่านั้น หมายเหตุ : ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์นั้นโออิชิเป็นเจ้าของอยู่ คือ สุขุมวิท ย่านทองหล่อ (อย่างที่รู้ว่าที่ดินย่านนี้แพงมากๆและในอนาคตราคาที่ดินแห่งนี้ต้องเพิ่มขึ้นอีก) และนวนคร ปทุมธานี (เมื่อการขยายเมืองโตขึ้น พื้นที่รอบๆกทม.ย่อมได้รับประโยชน์ ราคาก็ต้องสูงขึ้น) ส่วนที่ดินที่อมตะ ชลบุรี เช่าเอาครับ
44.ช่วง IPO ใหญ่ ราคาเทรดกันที่ 19 บาทต่อหุ้น ขณะนี้ถูกว่าราคา IPO แต่สิ่งที่ได้มา คือ งบดุลที่แข็งแกร่งขึ้น หนี้สินลดลง กำไรสะสมเพิ่มขึ้นจาก 34 ล้านบาท ณ ปี 46 เป็นกว่า 800 ล้านบาทในปัจจุบัน และมีส่วนเกินมูลค่าหุ้น 609 ล้านบาทแถมมาด้วย สินค้าเป็นที่รู้จักมากขึ้น สาขาเพิ่มมากขึ้น ผ่านช่วงร้ายๆมาแล้ว ซึ่งทำให้ผู้บริหารรู้จักการปรับกลยุทธ์ และการเรียนรู้กับข้อผิดพลาดที่ผ่านมา
45.ในระยะยาวบริษัทไม่เจ๊ง เพราะว่าแทบไม่มีหนี้เลย
46.Net Profit Margin เทียบกับ SSC , S&P, TIPCO , Malee รวมๆแล้วก้อดูดีกว่า
47.ในปีนี้ประมาณสิงหาคม OISHI จะฉลองวันเกิด 8 ปี เห็นบอกว่าจะเป็น talk of the town น่าจะมีมัดเด็ดๆจากคุณตัน
48. มี product line ออกใหม่ คือ น้ำทับทิม กับชา ตอนนี้หาซื้อได้ที่ 7-eleven
49. มีการไปดูงานที่ไต้หวัน เห็นว่าจะมีผลิตภัณท์ใหม่ออกมาเรื่อยๆ แสดงว่าบริษัทสนใจใน R&D ซึ่งฟิชเชอร์ชอบมากๆ
50.เริ่มมีการเจาะตลาดไปยังสวนอาหารและภัตตาคารบ้างแล้วโดยบริษัทได้จ้างสาวเชียร์ชามาให้แนะนำผลิตภัณท์และเชียร์ให้ลูกค้ากินชาเขียวในสวนอาหารบ้างแล้ว โดยตั้งเป้าทีละ 10 ร้าน จากนั้นจะเริ่มย้ายไปยังที่ใหม่ๆ
51.พบว่าในโรงเรียนบางโรงเรียนไม่อนุญาติให้ขายน้ำอัดลม แต่ชาเขียวยังขายได้ตามปกติ
52.จากการสอบถามยี่ปั้วตามที่ต่างๆ เช่น JJ พบว่า OISHI ขายดีกว่ายี่ห้ออื่น รวมทั้งให้กำไรต่อขวดดีกว่ายี่ห้ออื่นด้วย
53.จากการไปสังเกตที่ห้าง modern trade พบว่า โซนเครื่องดื่มชาเขียวของ OISHI นั้นบุ๋มลงไปเยอะกว่ายี่ห้ออื่นๆมาก แสดงว่าลูกค้าซื้อกันเยอะกว่ายี่ห้ออื่น
มาลองคำนวณมูลค่าหุ้นกันเถอะ
วิธีที่ 1
กำหนดยอดขาย = 4200 ลบ. , จำนวนหุ้น = 188 ล้านหุ้น , PE = 15
NPM = 8% ได้ราคาหุ้น = 26.85 บาทต่อหุ้น (Q1-NPM=9.8% แต่ทั้งปีให้สัก 8% )
วิธีที่ 2
จากวิธีที่ 1 เรารู้ EPS ที่ประมาณการ = 1.79
หากใช้ PE ค่าเฉลี่ยจาก Tipco,S&P,SSC จะได้ PE = 13 ดังนั้นราคาที่ได้ = 23.23 บาทต่อหุ้น
หรือจาก PE รวมของหมวดอาหารและเครื่องดื่ม = 15 ดังนั้นราคาที่ได้ = 26.85 บาทต่อหุ้น
วิธีที่ 3
โดยเรารู้ BV ของ OISHI อยู่แล้ว = 10.22 บาทต่อหุ้น หากใช้วิธี PBV โดยดูจาก PBV เฉลี่ยของ Tipco,Malee,S&P,SSC จะได้ PBV = 1.8
ดังนั้นราคาที่ได้จะ = 18.38 บาทต่อหุ้น
หรือจาก PBV รวมของหมวดอาหารและเครื่องดื่ม = 1.91 ดังนั้นราคาที่ได้ = 19.52 บาทต่อหุ้น
วิธีที่ 4
ใช้ DCF โดยคำนวณ FCF = 450 ล้านบาท โดยFCF ที่เพิ่มขึ้นมาจากค่าเสื่อมที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนที่อมตะในปีที่แล้ว และในปีนี้ Capex จะลดลง เพราะผ่านการลงทุนหนักๆในปีที่ผ่านๆมา และกำหนด Discount rate = 10% (Conservative สุดๆ เนื่องจากบริษัทมีหนี้น้อยเลยให้ Discount Rate ที่สูง) (อันที่จริง Discount Rate จะต้องน้อยกว่านี้ เนื่องจากดอกเบี้ยลดและค่าเบต้าของโออิชิน้อยกว่า 1 ตาม Model CAPM Cost of Equities) และ Growth ของ FCF ในปีถัดๆไปกำหนดให้โตแค่ = 1% จะได้ราคาหุ้น = 28.06 บาทต่อหุ้น
ขณะนี้เริ่มมี reseach มาปรับราคาเป้าหมายกันแล้ว Target โดย ASP ให้ประมาณ 22.3 , KIMENG ให้ 27.5 และ TISCO ให้ 28 บาท โดยจะได้ Upside Gain อีกพอควร ไม่นับรวมปันผลอีก 4% (ดูการคำนวณข้างล่าง)
การคำนวณเงินปันผล จากการคำนวณข้างบน หากบริษัทมีนโยบายจ่ายปันผลเท่าเดิม คือ 40% จะได้ปันผลต่อหุ้น = 0.72 บาทเป็นของแถม หรือ = ~4% โดยไม่รวม Capital Gain ที่ได้ข้างบน
หมายเหตุ : ตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขที่คาดการณ์ครับ ซึ่งจะอิงตามข้อมูลที่หามาได้ ยังมีอีกหลายวิธีในการคำนวณครับ เช่น EV/EBITDA , EV/OCF เป็นต้น ส่วนข้อมูลต่างๆสามารถหาได้ใน SET , นสพ , efinance การคำนวณข้างบนเป็นการคำนวนเชิงปริมาณครับ แต่สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพต้องไปลองสังเกตและดูเองครับ
ข้อเสีย...