news18/07/07
โพสต์แล้ว: พุธ ก.ค. 18, 2007 4:23 pm
การเตือนภัยส่งออก เอสเอ็มอี รายสาขาจำแนกตามภูมิภาค
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 15:36:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : สรุปสถานการณ์ 2549 และแนวโน้ม 2550
ในปี 2549 ที่ผ่านมา แม้ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ต้องเผชิญกับ อัตราเงินเฟ้อ ราคาน้ำมัน อัตราดอกเบี้ย ค่าเงินบาท ไข้หวัดนก ภัยธรรมชาติ และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่คาดเดาลำบาก แต่ก็ยังพบว่า ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 2.269 ล้านราย หรือคิดเป็นสัดส่วนได้ 99.53% จากจำนวนวิสาหกิจทั้งหมดของไทย และมีการจ้างงานถึง 8.884 ล้านคน หรือ 75.44% จากการจ้างงานทั้งระบบ ยังสามารถสร้างรายได้จากยอดขายสุทธิ ได้กว่า 4.201 ล้านล้านบาท โดยแบ่งเป็นการส่งออก 1.434 ล้านล้านบาท หรือ 29.01% จากการส่งออกทั้งหมดของประเทศไทย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงิน หรือ Economic Value Added ได้ถึง 329,000 ล้านบาท โดยมีอัตราการขยายตัวจากปี 2548 ประมาณ 11.50% ตลอดจนมีผลตอบแทนจากการดำเนินงานเฉลี่ย 9.44%
แม้ว่าในครึ่งปีแรกของปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จะยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงเช่นเดียวกับปี 2549 แต่ด้วยรากฐานที่เข้มแข็งและการจัดการกับปัญหาที่มีความรอบครอบขึ้นของ เอสเอ็มอี โดยรวม ปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จึงน่าจะสามารถสร้างรายได้จากการขายสุทธิประมาณ 4.908 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 16.83% ตลอดจนสามารถเพิ่มผลกำไรจากการดำเนินงานได้ 4.12% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 4 แสนล้านบาท โดยมีมูลค่าด้านการส่งออกได้ถึง 1.623 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 13.15% ตลอดจนสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงินได้ถึง 399,000 ล้านบาทหรือขยายตัวกว่า 20% จากปี 2549
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน, สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม , สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง,สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตกรุงเทพมหานคร 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 19,796 ล้านบาท /จ้างงาน 264,547 คน/30,120 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 28,052 ล้านบาท/จ้างงาน 88,929 คน/11,611 กิจการ
3. สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน 1,658 ล้านบาท/จ้างงาน 56,569 คน/6,960 กิจการ
4. สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง 20,601 ล้านบาท/จ้างงาน 54,080 คน/5,012 กิจการ
5. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 34,823 ล้านบาท/จ้างงาน 53,400 คน/3,909 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 15,970 ล้านบาท/จ้างงาน 63,742 คน/3,433 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,117 ล้านบาท/จ้างงาน 29,913 คน/3,246 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 4,424 ล้านบาท/จ้างงาน 38,277 คน/2,521 กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 17,363 ล้านบาท/จ้างงาน 30,920 คน/2,414 กิจการ
10. สาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า 22,534 ล้านบาท/จ้างงาน 41,082 คน/1,963 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคกลาง ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเครื่องจักรกล, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขายานยนต์ และ สาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขา เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช และ สาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคกลาง 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 13,510 ล้านบาท /จ้างงาน 167,755 คน/20,556 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 24,585 ล้านบาท/จ้างงาน 125,998 คน/10,176 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 2,645 ล้านบาท/จ้างงาน 30,321 คน/7,357 กิจการ
4. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 5,306 ล้านบาท/จ้างงาน 27,134 คน/4,563 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 5,102 ล้านบาท/จ้างงาน 35,222 คน/2,908 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 10,893 ล้านบาท/จ้างงาน 69,136คน/2,342 กิจการ
7. สาขาเครื่องจักรกล 16,200 ล้านบาท/จ้างงาน 33,487 คน/2,252 กิจการ
8. สาขาอาหารจากธัญพืช 1,831 ล้านบาท/จ้างงาน 14,417 คน/2,158 กิจการ
9. สาขายานยนต์ 15,933 ล้านบาท/จ้างงาน 42,728 คน/1,885 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,674 ล้านบาท/จ้างงาน 33,223 คน/1,869 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาเครื่องสันทนาการ,สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผัก จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่ามีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 7 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม คือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผักและผลไม้
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 28,973 ล้านบาท /จ้างงาน 65,305 คน/44,082 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 9,068 ล้านบาท/จ้างงาน 36,409 คน/25,223 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 10,678 ล้านบาท/จ้างงาน 22,664 คน/12,584 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,634 ล้านบาท/จ้างงาน 14,719 คน/6,885 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 7,408 ล้านบาท/จ้างงาน 11,068 คน/4,222 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 4,363 ล้านบาท/จ้างงาน 14,505 คน/3,752 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,607 ล้านบาท/จ้างงาน 9,952 คน/3,442 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,337 ล้านบาท/จ้างงาน 5,907 คน/2,797 กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม 1,882 ล้านบาท/จ้างงาน 4,243 คน/2,620 กิจการ
10. สาขาอาหารประเภทผักและผลไม้ 12,430 ล้านบาท/จ้างงาน 7,838 คน/2,546 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขายานยนต์, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออก 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 3,660 ล้านบาท /จ้างงาน 25,892 คน/5,568 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,273 ล้านบาท/จ้างงาน 12,151 คน/3,540 กิจการ
3. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 7,458 ล้านบาท/จ้างงาน 31,536 คน/3,087 กิจการ
4. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 16,668 ล้านบาท/จ้างงาน 5,070 คน/1,871 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 2,576 ล้านบาท/จ้างงาน 11,470 คน/1,468 กิจการ
6. สาขาอาหารจากธัญพืช 975 ล้านบาท/จ้างงาน 4,490 คน/1,149 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 1,810 ล้านบาท/จ้างงาน 17,382 คน/724กิจการ
8. สาขายานยนต์ 4,750 ล้านบาท/จ้างงาน 17,040 คน/562กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 4,036 ล้านบาท/จ้างงาน 12,516 คน/561กิจการ
10. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 621 ล้านบาท/จ้างงาน 4,615 คน/534 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขายาสูบ และสาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง และสาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 70,319 ล้านบาท /จ้างงาน 143,034 คน/106,990 กิจการ
2. สาขาอาหารจากธัญพืช 59,553 ล้านบาท/จ้างงาน 102,099 คน/70,183 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 11,049 ล้านบาท/จ้างงาน 47,956 คน/30,733 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,040 ล้านบาท/จ้างงาน 16,165 คน/6,639 กิจการ
5. สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป 1,520 ล้านบาท/จ้างงาน 9,814 คน/4,346 กิจการ
6. สาขาเครื่องสันทนาการ 6,880 ล้านบาท/จ้างงาน 10,981 คน/3,921 กิจการ
7. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 3,846 ล้านบาท/จ้างงาน 13,462 คน/3,307 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,245 ล้านบาท/จ้างงาน 6,391 คน/2,749 กิจการ
9. สาขายาสูบ 121 ล้านบาท/จ้างงาน 2,471 คน/1,900 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,213 ล้านบาท/จ้างงาน 7,125 คน/1,685 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคใต้ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารประเภทอบกรอบ และสาขายานยนต์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทน
จากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาเครื่องสันทนาการ
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคใต้ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 8,222 ล้านบาท /จ้างงาน 14,024 คน/12,509 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,744 ล้านบาท/จ้างงาน 25,481 คน/4,851 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 3,734 ล้านบาท/จ้างงาน 7,591 คน/4,400 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 8,169 ล้านบาท/จ้างงาน 6,843 คน/3,381 กิจการ
5. สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ 33,505 ล้านบาท/จ้างงาน 21,617 คน/2,448 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 2,080 ล้านบาท/จ้างงาน 9,347 คน/1,789 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 3,343 ล้านบาท/จ้างงาน 6,161 คน/1,337 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 1,676 ล้านบาท/จ้างงาน 1,871 คน/955กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทอบกรอบ 325 ล้านบาท/จ้างงาน 1,948 คน/933 กิจการ
10. สาขายานยนต์ 7,481 ล้านบาท/จ้างงาน 1,760 คน/885กิจการ
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/1 ... wsid=84842
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 15:36:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : สรุปสถานการณ์ 2549 และแนวโน้ม 2550
ในปี 2549 ที่ผ่านมา แม้ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ต้องเผชิญกับ อัตราเงินเฟ้อ ราคาน้ำมัน อัตราดอกเบี้ย ค่าเงินบาท ไข้หวัดนก ภัยธรรมชาติ และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่คาดเดาลำบาก แต่ก็ยังพบว่า ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 2.269 ล้านราย หรือคิดเป็นสัดส่วนได้ 99.53% จากจำนวนวิสาหกิจทั้งหมดของไทย และมีการจ้างงานถึง 8.884 ล้านคน หรือ 75.44% จากการจ้างงานทั้งระบบ ยังสามารถสร้างรายได้จากยอดขายสุทธิ ได้กว่า 4.201 ล้านล้านบาท โดยแบ่งเป็นการส่งออก 1.434 ล้านล้านบาท หรือ 29.01% จากการส่งออกทั้งหมดของประเทศไทย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงิน หรือ Economic Value Added ได้ถึง 329,000 ล้านบาท โดยมีอัตราการขยายตัวจากปี 2548 ประมาณ 11.50% ตลอดจนมีผลตอบแทนจากการดำเนินงานเฉลี่ย 9.44%
แม้ว่าในครึ่งปีแรกของปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จะยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงเช่นเดียวกับปี 2549 แต่ด้วยรากฐานที่เข้มแข็งและการจัดการกับปัญหาที่มีความรอบครอบขึ้นของ เอสเอ็มอี โดยรวม ปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จึงน่าจะสามารถสร้างรายได้จากการขายสุทธิประมาณ 4.908 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 16.83% ตลอดจนสามารถเพิ่มผลกำไรจากการดำเนินงานได้ 4.12% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 4 แสนล้านบาท โดยมีมูลค่าด้านการส่งออกได้ถึง 1.623 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 13.15% ตลอดจนสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงินได้ถึง 399,000 ล้านบาทหรือขยายตัวกว่า 20% จากปี 2549
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน, สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม , สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง,สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตกรุงเทพมหานคร 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 19,796 ล้านบาท /จ้างงาน 264,547 คน/30,120 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 28,052 ล้านบาท/จ้างงาน 88,929 คน/11,611 กิจการ
3. สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน 1,658 ล้านบาท/จ้างงาน 56,569 คน/6,960 กิจการ
4. สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง 20,601 ล้านบาท/จ้างงาน 54,080 คน/5,012 กิจการ
5. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 34,823 ล้านบาท/จ้างงาน 53,400 คน/3,909 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 15,970 ล้านบาท/จ้างงาน 63,742 คน/3,433 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,117 ล้านบาท/จ้างงาน 29,913 คน/3,246 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 4,424 ล้านบาท/จ้างงาน 38,277 คน/2,521 กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 17,363 ล้านบาท/จ้างงาน 30,920 คน/2,414 กิจการ
10. สาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า 22,534 ล้านบาท/จ้างงาน 41,082 คน/1,963 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคกลาง ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเครื่องจักรกล, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขายานยนต์ และ สาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขา เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช และ สาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคกลาง 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 13,510 ล้านบาท /จ้างงาน 167,755 คน/20,556 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 24,585 ล้านบาท/จ้างงาน 125,998 คน/10,176 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 2,645 ล้านบาท/จ้างงาน 30,321 คน/7,357 กิจการ
4. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 5,306 ล้านบาท/จ้างงาน 27,134 คน/4,563 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 5,102 ล้านบาท/จ้างงาน 35,222 คน/2,908 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 10,893 ล้านบาท/จ้างงาน 69,136คน/2,342 กิจการ
7. สาขาเครื่องจักรกล 16,200 ล้านบาท/จ้างงาน 33,487 คน/2,252 กิจการ
8. สาขาอาหารจากธัญพืช 1,831 ล้านบาท/จ้างงาน 14,417 คน/2,158 กิจการ
9. สาขายานยนต์ 15,933 ล้านบาท/จ้างงาน 42,728 คน/1,885 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,674 ล้านบาท/จ้างงาน 33,223 คน/1,869 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาเครื่องสันทนาการ,สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผัก จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่ามีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 7 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม คือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผักและผลไม้
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 28,973 ล้านบาท /จ้างงาน 65,305 คน/44,082 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 9,068 ล้านบาท/จ้างงาน 36,409 คน/25,223 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 10,678 ล้านบาท/จ้างงาน 22,664 คน/12,584 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,634 ล้านบาท/จ้างงาน 14,719 คน/6,885 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 7,408 ล้านบาท/จ้างงาน 11,068 คน/4,222 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 4,363 ล้านบาท/จ้างงาน 14,505 คน/3,752 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,607 ล้านบาท/จ้างงาน 9,952 คน/3,442 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,337 ล้านบาท/จ้างงาน 5,907 คน/2,797 กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม 1,882 ล้านบาท/จ้างงาน 4,243 คน/2,620 กิจการ
10. สาขาอาหารประเภทผักและผลไม้ 12,430 ล้านบาท/จ้างงาน 7,838 คน/2,546 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขายานยนต์, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออก 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 3,660 ล้านบาท /จ้างงาน 25,892 คน/5,568 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,273 ล้านบาท/จ้างงาน 12,151 คน/3,540 กิจการ
3. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 7,458 ล้านบาท/จ้างงาน 31,536 คน/3,087 กิจการ
4. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 16,668 ล้านบาท/จ้างงาน 5,070 คน/1,871 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 2,576 ล้านบาท/จ้างงาน 11,470 คน/1,468 กิจการ
6. สาขาอาหารจากธัญพืช 975 ล้านบาท/จ้างงาน 4,490 คน/1,149 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 1,810 ล้านบาท/จ้างงาน 17,382 คน/724กิจการ
8. สาขายานยนต์ 4,750 ล้านบาท/จ้างงาน 17,040 คน/562กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 4,036 ล้านบาท/จ้างงาน 12,516 คน/561กิจการ
10. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 621 ล้านบาท/จ้างงาน 4,615 คน/534 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขายาสูบ และสาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง และสาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 70,319 ล้านบาท /จ้างงาน 143,034 คน/106,990 กิจการ
2. สาขาอาหารจากธัญพืช 59,553 ล้านบาท/จ้างงาน 102,099 คน/70,183 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 11,049 ล้านบาท/จ้างงาน 47,956 คน/30,733 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,040 ล้านบาท/จ้างงาน 16,165 คน/6,639 กิจการ
5. สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป 1,520 ล้านบาท/จ้างงาน 9,814 คน/4,346 กิจการ
6. สาขาเครื่องสันทนาการ 6,880 ล้านบาท/จ้างงาน 10,981 คน/3,921 กิจการ
7. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 3,846 ล้านบาท/จ้างงาน 13,462 คน/3,307 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,245 ล้านบาท/จ้างงาน 6,391 คน/2,749 กิจการ
9. สาขายาสูบ 121 ล้านบาท/จ้างงาน 2,471 คน/1,900 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,213 ล้านบาท/จ้างงาน 7,125 คน/1,685 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคใต้ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารประเภทอบกรอบ และสาขายานยนต์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทน
จากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาเครื่องสันทนาการ
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคใต้ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 8,222 ล้านบาท /จ้างงาน 14,024 คน/12,509 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,744 ล้านบาท/จ้างงาน 25,481 คน/4,851 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 3,734 ล้านบาท/จ้างงาน 7,591 คน/4,400 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 8,169 ล้านบาท/จ้างงาน 6,843 คน/3,381 กิจการ
5. สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ 33,505 ล้านบาท/จ้างงาน 21,617 คน/2,448 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 2,080 ล้านบาท/จ้างงาน 9,347 คน/1,789 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 3,343 ล้านบาท/จ้างงาน 6,161 คน/1,337 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 1,676 ล้านบาท/จ้างงาน 1,871 คน/955กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทอบกรอบ 325 ล้านบาท/จ้างงาน 1,948 คน/933 กิจการ
10. สาขายานยนต์ 7,481 ล้านบาท/จ้างงาน 1,760 คน/885กิจการ
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/1 ... wsid=84842