ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
- krittapon_r
- Verified User
- โพสต์: 156
- ผู้ติดตาม: 0
ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
โพสต์ที่ 91
สำหรับเรื่องมีคนขาดทุนนั้น BoT จะผิดหรือปล่าผมไม่แน่ใจ
เพราะการออกนโยบายที่กระทบคนหมู่มากย่อมมีคนได้ประโยชน์-คนเสียประโยชน์เป็นเรื่องธรรมดา
แต่การออกนโยบาย 70/30 แบบคลุมถุง พอเกิดความเสียหายแล้วมากลับลำ ยกเว้นตลาดหุ้นภายหลัง...อย่างนี้ถือว่า ทำงานโดยขาดความรอบคอบหรือเปล่า
แล้วทำไมไม่ระบุข้อยกเว้นตั้งแต่ประกาศรอบแรก
ที่สำคัญกว่านั้นตอนนี้ คน 2 คนได้ทำให้ประเทศไทยคงกลายเป็นตัวตลกในสายตาชาวโลกไปแล้ว
เพราะการออกนโยบายที่กระทบคนหมู่มากย่อมมีคนได้ประโยชน์-คนเสียประโยชน์เป็นเรื่องธรรมดา
แต่การออกนโยบาย 70/30 แบบคลุมถุง พอเกิดความเสียหายแล้วมากลับลำ ยกเว้นตลาดหุ้นภายหลัง...อย่างนี้ถือว่า ทำงานโดยขาดความรอบคอบหรือเปล่า
แล้วทำไมไม่ระบุข้อยกเว้นตั้งแต่ประกาศรอบแรก
ที่สำคัญกว่านั้นตอนนี้ คน 2 คนได้ทำให้ประเทศไทยคงกลายเป็นตัวตลกในสายตาชาวโลกไปแล้ว
-
- Verified User
- โพสต์: 870
- ผู้ติดตาม: 0
ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
โพสต์ที่ 93
เรื่องหวยยกเลิก ในทางความคิด ผมก็ว่า เค้าทำถูก
แต่ต้องตอบโจทย์ให้ได้ก่อนว่า จะหยุด หรือคุม หวยใต้ดินได้หรือไม่ ในความเป็นจริง ถ้าทำไม่ได้ แล้ว คุณจะทำอย่างไร ล่ะ ในเมื่อ คนเป็นล้านก็ยังเล่นหวย
เหมือนกับ เรามีกฏหมาย การพนัน แต่ มีการพนัน แข่งม้า ตีไก่ แทงมวย หรือ โสเภณี ผิดกฏหมาย แต่ เดินไปถนนเส้นใหญ่ ของเมือง ก็หาได้ง่ายกว่าหา ที่ทำบุญ
แต่ต้องตอบโจทย์ให้ได้ก่อนว่า จะหยุด หรือคุม หวยใต้ดินได้หรือไม่ ในความเป็นจริง ถ้าทำไม่ได้ แล้ว คุณจะทำอย่างไร ล่ะ ในเมื่อ คนเป็นล้านก็ยังเล่นหวย
เหมือนกับ เรามีกฏหมาย การพนัน แต่ มีการพนัน แข่งม้า ตีไก่ แทงมวย หรือ โสเภณี ผิดกฏหมาย แต่ เดินไปถนนเส้นใหญ่ ของเมือง ก็หาได้ง่ายกว่าหา ที่ทำบุญ
- tummeng
- Verified User
- โพสต์: 3665
- ผู้ติดตาม: 0
ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
โพสต์ที่ 96
หม่อมอุ๋ย' เผยการสูญเสียมาร์เก็ตแคป 8 แสนลบ.จากมาตรการสกัดเงินไหลเข้า ถือว่าคุ้มค่า แลกกับการส่งออกที่มีสัดส่วนมากถึง 60% ของจีดีพี
หม่อมอุ๋ย เผยการใช้มาตรการสกัดเงินไหลเข้าของแบงก์ชาติ ไม่ทำให้ค่าบาทในวันนี้อ่อนเกินไป แต่อยู่ในระดับที่เป็นที่ต้องการ ส่วนมาร์เก็ตแคป 8 แสนล้านที่หายไป เป็นเพียงการสูญเสียทางบัญชี ซึ่งอีกไม่นานก็จะกลับมา แต่หากเทียบกับการส่งออก ซึ่งมีสัดส่วนถึง 60% ของจีดีพี หากเกิดปัญหากก็จะเป็นเรื่องใหญ่ ดังนั้นการใช้มาตรการแก้ปัญหาค่าบาทช่วยเหลือการส่งออก จึงคุ้มกับการเสียมาร์เก็ตแคปที่หายไป และหากไม่แก้ปัญหาอาจทำให้ค่าบาทแข็งค่าขึ้นกว่าเดิม ถึง 33-34 บาทต่อดอลล์
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยถึงการใช้มาตรการสกัดเงินไหลเข้า เพื่อช่วยพยุงค่าบาท ว่า คุ้มค่าและเห็นประโยชน์แม้ต้องสูญเสียมาร์เก็ตแคปถึง 800,000 ล้านบาท แต่เมื่อเทียบกับการส่งออกของประเทศ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมาก ถึง 60% ของจีดีพี หากค่าบาทยังแข็งค่าก็จะส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออก และทำให้
ผู้ส่งออกเสียขวัญ รัฐไม่อยากให้เกิดวิกฤติกับภาคการส่งออก จึงต้องเลือกที่จะช่วยเหลือในเรื่องของส่งออกไว้ก่อน
'การส่งออกสำคัญมาก 60% ของจีดีพี วันนั้นค่าบาทอยู่ที่ 35.11 บาท ถ้าทะลุ 35 ก็เป็น 34 33 ทางจิตวิทยาจะส่งผลกระทบทำให้ผู้ส่งออกเสียขวัญ เราไม่อยากให้เกิดวิกฤติในภาคส่งออก เพราะถ้าเกิดวิกฤติภาคส่งออกมันไปใหญ่ การส่งออกของเรา 60% ของรายได้ประชาชาติ เพราะฉะนั้นต้องเอาไว้ก่อน เพราะการส่งออกหมายถึงทุกอย่าง หมายถึงเศรษฐกิจทั้งหมด การสร้างงานด้วย ฉะนั้นก็ต้องเลือกเอาไว้ก่อนแน่นอน ถ้าไม่มีเรื่องนี้ผมก็ไม่ทำ' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
โดยภายหลังการผ่อนปรนมาตรการค่าบาทในวันนี้ ไม่ได้ส่งผลให้ค่าบาทอ่อนจนเกินไป แต่ค่าบาทอ่อนอยู่ในระดับที่ทุกฝ่ายต้องการและทำให้ผู้ส่งออกสามารถต่อสู้กับประเทศอื่นได้ หลังจากเสียเปรียบมานานในช่วงที่บาทแข็งค่า
ทั้งนี้ การที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต้องสูญเสียมาร์เก็ตแคปถึง 800,000 ล้านบาท หลังได้รับผลกระทบจากมาตรการค่าบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ไม่ใช่
เรื่องที่น่ากังวล เพราะมาร์เก็ตแคปที่หายไปเป็นเพียงการสูญเสียทางบัญชี (paper loss) อีกไม่นานก็จะกลับมาเอง ซึ่งเรื่องเหล่านี้นักลงทุนระยะยาว ไม่ได้กังวลแต่เป็นเพียงนักลงทุนระยะสั้น
เท่านั้น ที่กังวลเรื่องมาร์เก็ตแคป
'มันเป็นเพียงแค่ paper loss เดี๋ยวก็กลับมาเอง เมื่อก่อนมันเคยไปถึง 1,700 และเคยร่วงลงมาที่ 300 แล้วก็ค่อย ๆขึ้นมา ไม่มีอะไร นักลงทุนระยะยาวไม่กลัวเรื่องมาร์เก็ตแคป พวกระยะสั้นต่างหากที่เอากำไรเข้าออกเร็วๆ ต้องเข้าใจก่อน เราต้องเอาเรื่องระยะยาวไว้ก่อน'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
โดยรัฐบาลไม่ได้เข้าไปแทรกแซงการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในการออกมาตรการสกัดเงินไหลเข้า แต่เนื่องจากในวันที่ 19 ธ.ค. ที่ผ่านมา ผู้ว่าการธปท. ติด
ภารกิจอยู่ที่จ.เชียงใหม่ จึงให้ช่วยประสานกับทุกฝ่ายในการออกมาตรการและแถลงมาตรการ
แทน
' มั่นใจว่าการตัดสินใจในครั้งนี้ไม่มีปัญหา อีกทั้งผม และผูว่าการธปท. ก็ทำงานร่วมกัน ใกล้ชิดมานานกว่า 5 ปี' รองนายกฯ กล่าว
ส่วนสาเหตุในการปรับมาตรการสกัดเงินไหลเข้าของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) วานนี้ มีผลมาจากกรณีที่นักลงทุนต่างประเทศ ยังมีคำสั่งเทขายหุ้นอีกจำนวนมาก ค้างในวันที่ 19 ธ.ค. หลังจากตลาดหลักทรัพย์ปิดทำการ โดยโบรกเกอร์กังวลว่าหากมีแรงขายอย่างต่อเนื่อง ตลาดในวันรุ่งขึ้นจะทรุดตัวอีก จึงมีคำสั่งให้เปลี่ยนแปลงมาตรการเพื่อบรรเทา ในส่วนของ
ปริมาณที่นักลงทุนต้องการเทขายไม่ทราบจำนวนที่แน่ชัด
'ปริมาณเท่าไร ผมไม่รู้เหมือนกัน แต่โบรกเกอร์สรุปให้ฟัง แล้วบอกว่าอย่าให้ไปอีกเลย ถ้ามันลงไปอีก จะเสียขวัญ ตอนแรกเริ่มจากนักลงทุนต่างประเทศเทขายก่อน 35,000 ล้านบาท ตรงต่างชาติผมไม่รู้สึกอะไร ถ้าเขาจะขาดทุนบ้างเพราะได้กำไรจากเราไปเยอะแล้ว แต่พอตกบ่ายนักลงทุนไทยเริ่มออกมาขายตามผมก็กลัวว่าจะเป็นเหยื่อ ถ้าเป็นนักลงทุนต่างประเทศอย่างเดียวผมคงไม่รู้สึกอะไรหรอก'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าวถึงกรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท. )สกัดเงินไหลเข้าและส่งผลกระทบต่อความเสียหายต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่ใช่การเสียค่าโง่ แต่เป็น
เรื่องที่จำเป็นต้องทำ เนื่องจากหากไม่แก้ไขปัญหาบาทแข็ง ซึ่ง ณ วันนั้น อยู่ที่ 35.11 บาท หากทะลุ 35 บาท ก็อาจแข็งค่าไปถึง 33-34 บาทต่อดอลลาร์ และอาจทำให้ผู้ส่งออกเสียขวัญ ซึ่งจะเป็นปัญหาใหญ่โตมากขึ้น
ดังนั้นการที่รีบแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว ดีกว่ามานั่งเสียใจหลังจากปัญหาเกิด ขณะที่
ตลาดหุ้นได้รับผลกระทบมาก ตนก็รีบแก้ไขปัญหา และไม่ได้กังวลว่าจะเสียหน้า 'ไม่ใช่ค่าโง่ แต่ถ้าเราไม่ทำมันก็จะผ่านจาก 35 ไป 34 ไป 33 ผู้ส่งออกก็เสียขวัญแย่ เราเห็นปัญหา เราก็ควรรีบแก้ดีกว่า ที่พอปัญหาเกิดแล้วมานั่งเสียใจ แต่พอหุ้นตกเยอะ เราก็รีบแก้ไม่ได้หยิ่งผยองอะไรกับมาตรการ ถ้าประเทศจะได้ประโยชน์ เสียหน้านิดนึงก็ไม่เป็นไร' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
ทั้งนี้ปฏิเสธที่จะตอบคำถามถึงผู้รับผิดชอบกรณีที่มาตรการสกัดเงินไหลเข้าของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)ส่งผลต่อตลาดหลักทรัพย์ทำให้เกิดความเสียหาย โดยระบุเพียง
ว่า การที่มีการผ่อนปรนมาตรการทันทีที่เกิดปัญหา ถือว่าเป็นการแก้ไขปัญหาที่รวดเร็ว ไม่ให้ส่งผลกระทบบานปลาย หรือมากกว่านี้ แต่การแก้ปัญหาค่าบาทถ้าไม่ทำ ก็จะส่งผลเสียต่อการส่งออก เมื่อส่งออกเสียหายใครจะรับผิดชอบ
'ถ้าไม่ทำ ส่งออกก็เสียหาย ถ้าเสียหายใครจะรับผิดชอบ เศรษฐกิจมีได้มีเสีย ถ้าไม่กลับมาตรการตลาดหลักทรัพย์ก็เสียหาย ผมรับผิดชอบแน่ แต่เราก็ปรับและรีบทำเพื่อให้ตลาดฯ
อยู่ได้ มาตรการนี้เคยใช้ในต่างประเทศ เขาก็กระทบตลาดไม่มาก แต่ที่เรากระทบมากก็เพราะการครอบงำของนักลงทุนต่างประเทศที่สูงมากจนน่าตกใจ ถึงจะมีแค่ 30% ของมูลค่าตลาดโดยรวม แต่พอออกกลับมีพลัง วันนั้นก็เกือบ 100% มันก็เป็นเรื่องที่น่าคิดว่าตอนนี้ครอบงำตลาดมากเกินไป ต้องค่อยๆ ดูกันต่อไป' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
อย่างไรก็ตาม ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ไม่ได้กลับมาตรการไปมา ทำให้ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ โดยขณะนี้ยืนยันว่ายังใช้มาตรการเดิม คือกันไม่ให้เงินไหลเข้าไปเก็งกำไรและบีบค่าบาท กลับเปิดช่องทางให้สิ่งที่เป็นปัญหาลดปัญหาลง
'ไม่ได้กลับ ถ้ากลับก็ต้องยกเลิกทั้งหมด เรามีผลข้างเคียงจุดเดียวมากๆ ก็คือตลาดหลักทรัพย์ และเรายังใช้มาตรการเดิม คือกันไม่ให้เงินไหลเข้าไปเก็งกำไรและดีดค่าบาท กลับ
เปิดช่องให้เรื่องที่เป็นปัญหา ลดปัญหาลง ผมว่าการปรับมาตรการคงไม่เป็นไรมั้ง'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
อย่างไรก็ดี ขอให้ทุกฝ่ายไม่ต้องกังวลเรื่องของความเชื่อมั่น เพราะขณะนี้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนเริ่มกลับมาแล้ว หลังจากการแก้ไขปัญหาค่าบาท เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อการส่งออก โดยมั่นใจว่าถ้าการส่งออกส่งผลกระทบหรือเกิดปัญหา นักลงทุนก็อาจหมดความเชื่อมั่นประเทศไทยมากกว่า
หม่อมอุ๋ย เผยการใช้มาตรการสกัดเงินไหลเข้าของแบงก์ชาติ ไม่ทำให้ค่าบาทในวันนี้อ่อนเกินไป แต่อยู่ในระดับที่เป็นที่ต้องการ ส่วนมาร์เก็ตแคป 8 แสนล้านที่หายไป เป็นเพียงการสูญเสียทางบัญชี ซึ่งอีกไม่นานก็จะกลับมา แต่หากเทียบกับการส่งออก ซึ่งมีสัดส่วนถึง 60% ของจีดีพี หากเกิดปัญหากก็จะเป็นเรื่องใหญ่ ดังนั้นการใช้มาตรการแก้ปัญหาค่าบาทช่วยเหลือการส่งออก จึงคุ้มกับการเสียมาร์เก็ตแคปที่หายไป และหากไม่แก้ปัญหาอาจทำให้ค่าบาทแข็งค่าขึ้นกว่าเดิม ถึง 33-34 บาทต่อดอลล์
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยถึงการใช้มาตรการสกัดเงินไหลเข้า เพื่อช่วยพยุงค่าบาท ว่า คุ้มค่าและเห็นประโยชน์แม้ต้องสูญเสียมาร์เก็ตแคปถึง 800,000 ล้านบาท แต่เมื่อเทียบกับการส่งออกของประเทศ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมาก ถึง 60% ของจีดีพี หากค่าบาทยังแข็งค่าก็จะส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออก และทำให้
ผู้ส่งออกเสียขวัญ รัฐไม่อยากให้เกิดวิกฤติกับภาคการส่งออก จึงต้องเลือกที่จะช่วยเหลือในเรื่องของส่งออกไว้ก่อน
'การส่งออกสำคัญมาก 60% ของจีดีพี วันนั้นค่าบาทอยู่ที่ 35.11 บาท ถ้าทะลุ 35 ก็เป็น 34 33 ทางจิตวิทยาจะส่งผลกระทบทำให้ผู้ส่งออกเสียขวัญ เราไม่อยากให้เกิดวิกฤติในภาคส่งออก เพราะถ้าเกิดวิกฤติภาคส่งออกมันไปใหญ่ การส่งออกของเรา 60% ของรายได้ประชาชาติ เพราะฉะนั้นต้องเอาไว้ก่อน เพราะการส่งออกหมายถึงทุกอย่าง หมายถึงเศรษฐกิจทั้งหมด การสร้างงานด้วย ฉะนั้นก็ต้องเลือกเอาไว้ก่อนแน่นอน ถ้าไม่มีเรื่องนี้ผมก็ไม่ทำ' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
โดยภายหลังการผ่อนปรนมาตรการค่าบาทในวันนี้ ไม่ได้ส่งผลให้ค่าบาทอ่อนจนเกินไป แต่ค่าบาทอ่อนอยู่ในระดับที่ทุกฝ่ายต้องการและทำให้ผู้ส่งออกสามารถต่อสู้กับประเทศอื่นได้ หลังจากเสียเปรียบมานานในช่วงที่บาทแข็งค่า
ทั้งนี้ การที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต้องสูญเสียมาร์เก็ตแคปถึง 800,000 ล้านบาท หลังได้รับผลกระทบจากมาตรการค่าบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ไม่ใช่
เรื่องที่น่ากังวล เพราะมาร์เก็ตแคปที่หายไปเป็นเพียงการสูญเสียทางบัญชี (paper loss) อีกไม่นานก็จะกลับมาเอง ซึ่งเรื่องเหล่านี้นักลงทุนระยะยาว ไม่ได้กังวลแต่เป็นเพียงนักลงทุนระยะสั้น
เท่านั้น ที่กังวลเรื่องมาร์เก็ตแคป
'มันเป็นเพียงแค่ paper loss เดี๋ยวก็กลับมาเอง เมื่อก่อนมันเคยไปถึง 1,700 และเคยร่วงลงมาที่ 300 แล้วก็ค่อย ๆขึ้นมา ไม่มีอะไร นักลงทุนระยะยาวไม่กลัวเรื่องมาร์เก็ตแคป พวกระยะสั้นต่างหากที่เอากำไรเข้าออกเร็วๆ ต้องเข้าใจก่อน เราต้องเอาเรื่องระยะยาวไว้ก่อน'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
โดยรัฐบาลไม่ได้เข้าไปแทรกแซงการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในการออกมาตรการสกัดเงินไหลเข้า แต่เนื่องจากในวันที่ 19 ธ.ค. ที่ผ่านมา ผู้ว่าการธปท. ติด
ภารกิจอยู่ที่จ.เชียงใหม่ จึงให้ช่วยประสานกับทุกฝ่ายในการออกมาตรการและแถลงมาตรการ
แทน
' มั่นใจว่าการตัดสินใจในครั้งนี้ไม่มีปัญหา อีกทั้งผม และผูว่าการธปท. ก็ทำงานร่วมกัน ใกล้ชิดมานานกว่า 5 ปี' รองนายกฯ กล่าว
ส่วนสาเหตุในการปรับมาตรการสกัดเงินไหลเข้าของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) วานนี้ มีผลมาจากกรณีที่นักลงทุนต่างประเทศ ยังมีคำสั่งเทขายหุ้นอีกจำนวนมาก ค้างในวันที่ 19 ธ.ค. หลังจากตลาดหลักทรัพย์ปิดทำการ โดยโบรกเกอร์กังวลว่าหากมีแรงขายอย่างต่อเนื่อง ตลาดในวันรุ่งขึ้นจะทรุดตัวอีก จึงมีคำสั่งให้เปลี่ยนแปลงมาตรการเพื่อบรรเทา ในส่วนของ
ปริมาณที่นักลงทุนต้องการเทขายไม่ทราบจำนวนที่แน่ชัด
'ปริมาณเท่าไร ผมไม่รู้เหมือนกัน แต่โบรกเกอร์สรุปให้ฟัง แล้วบอกว่าอย่าให้ไปอีกเลย ถ้ามันลงไปอีก จะเสียขวัญ ตอนแรกเริ่มจากนักลงทุนต่างประเทศเทขายก่อน 35,000 ล้านบาท ตรงต่างชาติผมไม่รู้สึกอะไร ถ้าเขาจะขาดทุนบ้างเพราะได้กำไรจากเราไปเยอะแล้ว แต่พอตกบ่ายนักลงทุนไทยเริ่มออกมาขายตามผมก็กลัวว่าจะเป็นเหยื่อ ถ้าเป็นนักลงทุนต่างประเทศอย่างเดียวผมคงไม่รู้สึกอะไรหรอก'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าวถึงกรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท. )สกัดเงินไหลเข้าและส่งผลกระทบต่อความเสียหายต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่ใช่การเสียค่าโง่ แต่เป็น
เรื่องที่จำเป็นต้องทำ เนื่องจากหากไม่แก้ไขปัญหาบาทแข็ง ซึ่ง ณ วันนั้น อยู่ที่ 35.11 บาท หากทะลุ 35 บาท ก็อาจแข็งค่าไปถึง 33-34 บาทต่อดอลลาร์ และอาจทำให้ผู้ส่งออกเสียขวัญ ซึ่งจะเป็นปัญหาใหญ่โตมากขึ้น
ดังนั้นการที่รีบแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว ดีกว่ามานั่งเสียใจหลังจากปัญหาเกิด ขณะที่
ตลาดหุ้นได้รับผลกระทบมาก ตนก็รีบแก้ไขปัญหา และไม่ได้กังวลว่าจะเสียหน้า 'ไม่ใช่ค่าโง่ แต่ถ้าเราไม่ทำมันก็จะผ่านจาก 35 ไป 34 ไป 33 ผู้ส่งออกก็เสียขวัญแย่ เราเห็นปัญหา เราก็ควรรีบแก้ดีกว่า ที่พอปัญหาเกิดแล้วมานั่งเสียใจ แต่พอหุ้นตกเยอะ เราก็รีบแก้ไม่ได้หยิ่งผยองอะไรกับมาตรการ ถ้าประเทศจะได้ประโยชน์ เสียหน้านิดนึงก็ไม่เป็นไร' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
ทั้งนี้ปฏิเสธที่จะตอบคำถามถึงผู้รับผิดชอบกรณีที่มาตรการสกัดเงินไหลเข้าของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)ส่งผลต่อตลาดหลักทรัพย์ทำให้เกิดความเสียหาย โดยระบุเพียง
ว่า การที่มีการผ่อนปรนมาตรการทันทีที่เกิดปัญหา ถือว่าเป็นการแก้ไขปัญหาที่รวดเร็ว ไม่ให้ส่งผลกระทบบานปลาย หรือมากกว่านี้ แต่การแก้ปัญหาค่าบาทถ้าไม่ทำ ก็จะส่งผลเสียต่อการส่งออก เมื่อส่งออกเสียหายใครจะรับผิดชอบ
'ถ้าไม่ทำ ส่งออกก็เสียหาย ถ้าเสียหายใครจะรับผิดชอบ เศรษฐกิจมีได้มีเสีย ถ้าไม่กลับมาตรการตลาดหลักทรัพย์ก็เสียหาย ผมรับผิดชอบแน่ แต่เราก็ปรับและรีบทำเพื่อให้ตลาดฯ
อยู่ได้ มาตรการนี้เคยใช้ในต่างประเทศ เขาก็กระทบตลาดไม่มาก แต่ที่เรากระทบมากก็เพราะการครอบงำของนักลงทุนต่างประเทศที่สูงมากจนน่าตกใจ ถึงจะมีแค่ 30% ของมูลค่าตลาดโดยรวม แต่พอออกกลับมีพลัง วันนั้นก็เกือบ 100% มันก็เป็นเรื่องที่น่าคิดว่าตอนนี้ครอบงำตลาดมากเกินไป ต้องค่อยๆ ดูกันต่อไป' ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
อย่างไรก็ตาม ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ไม่ได้กลับมาตรการไปมา ทำให้ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ โดยขณะนี้ยืนยันว่ายังใช้มาตรการเดิม คือกันไม่ให้เงินไหลเข้าไปเก็งกำไรและบีบค่าบาท กลับเปิดช่องทางให้สิ่งที่เป็นปัญหาลดปัญหาลง
'ไม่ได้กลับ ถ้ากลับก็ต้องยกเลิกทั้งหมด เรามีผลข้างเคียงจุดเดียวมากๆ ก็คือตลาดหลักทรัพย์ และเรายังใช้มาตรการเดิม คือกันไม่ให้เงินไหลเข้าไปเก็งกำไรและดีดค่าบาท กลับ
เปิดช่องให้เรื่องที่เป็นปัญหา ลดปัญหาลง ผมว่าการปรับมาตรการคงไม่เป็นไรมั้ง'ม.ร.ว.ปรีดิยาธร กล่าว
อย่างไรก็ดี ขอให้ทุกฝ่ายไม่ต้องกังวลเรื่องของความเชื่อมั่น เพราะขณะนี้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนเริ่มกลับมาแล้ว หลังจากการแก้ไขปัญหาค่าบาท เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อการส่งออก โดยมั่นใจว่าถ้าการส่งออกส่งผลกระทบหรือเกิดปัญหา นักลงทุนก็อาจหมดความเชื่อมั่นประเทศไทยมากกว่า
- san
- Verified User
- โพสต์: 1675
- ผู้ติดตาม: 0
ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
โพสต์ที่ 97
ผมว่าทีมบริหารของเรามีข้อผิดพลาดในการแก้ปัญหานี้จริงๆ น่าจะมีข้อผิดพลาดอะไรหลายอย่างในขั้นตอนการเกี่ยวกับการรับรู้ปัญหาและการแก้ปัญหา
เกี่ยวกับปัญหานั้น.เราก็คงต้องตระหนักว่า..
1. การรับรู้ว่ามีปัญหาอยู่รึป่าว
2. รู้ทันเวลาเมื่อปัญหาเริ่มก่อตัว คือการรับรู้ว่าปัญหากำลังก่อตัวตั้งแต่ตอนต้นๆ
3. รู้วิธีแก้ปัญหาและผลกระทบรึป่าว
4. แก้ปัญหาได้ทันเวลารึป่าว
ผมว่าปู่ กรีนสแปน เขาเข้าใจต่อจิตวิทยาของตลาดดีมากครับ
ทำให้เวลาที่เขาออกมาตรการอะไรออกมาเขาจะคำนึงถึงความเป็นจริง โดยที่ยังสามารถคงเป้าหมายที่ต้องการด้วย โดยการทำอะไรที่มันค่อยๆเป็น ค่อยๆไป โดยที่ปู่เองทำอย่างนี้ได้ คงเป็นเพราะว่ามีความสามารถ มองทะลุเห็นเหตุการณ์ที่มันอาจจะเกิดความเลวร้ายได้ตั้งแต่ต้น คือเขาเก่งในการคาดการณ์สิ่งที่เป็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ทำให้เขามีเวลาที่จะใช้หรือกำหนดวิธีการแก้ไขโดยสามารถใช้การแก้ไขแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทั้งเก่งในการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหา โดยเข้าใจตลาดด้วย
เป็นไปได้ว่า.ที่ผ่านมานั้น ทาง ผู้บริหารที่ว่า บกพร่องโดยสุจริต ใน ขั้นที่ 1 , 2 , 3 , 4 ( เมื่อผลออกมาแบบนี้ ยังไง ก็คงต้องเรียกว่า กึ๋นน้อยกว่า ปู่อลัน เยอะ หรือว่าจะเรียกว่าไม่มีกึ๋นดีหนอ อันนี้ไม่รู้ เพราะว่าไม่ทราบว่าขณะที่ตัดสินใจนั้นมีเงื่อนไขอะไรอยู่มั่ง )
เพราะว่าทางผู้บริหารคงมาตระหนักถึงปัญหาเอาเมื่อช้าไปรึป่าว ทำให้เมื่อเอามาตรการแก้ปัญหาออกมาใช้ จึงต้องใช้มาตรการแรงๆออกมา โดยที่ไม่สามารถแก้ปัญหาแบบค่อยเป็นค่อยไป เพราะกลัวไม่ทันการ เลยเกิดอาการหน้ามืด ใช้ยาที่ตลาดตอบสนองได้ขนาดนี้ ตลาดเราเล็กเมื่อเทียบกับเงินต่างชาติ ตัวเราเล็ก ทำอะไรต้องคิดมากกว่านี้อ่ะครับ ( หรือว่าทางทีมบริหารเกิดนึกเอง เออเองว่า ตัวเราใหญ่คับฟ้า เลยทำแบบ คิดเอง เออเอง คนที่ทำแบบนี้ได้ จะเป็นคนที่เคยชินและยึดติดกับการใช้อำนาจ ซึ่งเราจะเห็นได้เต็มไปหมดในหมู่ข้าราชการบ้านเรา )
ไม่ว่าอย่างไร เมื่อผลการตอบสนองของตลาดออกมาแบบนี้ ขนาดที่ว่า set ลบได้ขนาดเกือบ 20% เกือบมี circuit breaker ครั้งที่สอง
ตามความคิดเห็นของผมนี่ อยากสรุปว่า ผู้บริหาร ทางกระทรวงการคลังหรือว่าทาง ธปท. มีความสามารถในด้านการติดตามปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา การบริหารและการจัดการกับปัญหา ไม่เพียงพอกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน ไม่ต้องบอกนะครับว่าในองค์กรณ์ มีผู้ที่จบอะไรมา จบดอกเตอร์กี่คน หรือว่า ผูกหูกระต่าย รึป่าว หรือว่า กรุงเทพจะสิ้นแล้วคนดี( แขว่ะครับ )
ผลงานพิสูจน์ความสามารถครับ การที่ตลาดตอบสนองต่อมาตรการ โดยที่ในระหว่างวัน set ตกลงมาได้ขนาด เกือบ 20% ใน 1 วันนี่ ไม่ธรรมดา นะครับ คำอธิบายทั้งหมด คนฟังจะคิดเพียงแค่ว่าเป็นไปได้เพียงข้อแก้ตัวนะ แล้วถ้าบอกว่าเราผู้ลงทุนทั้งแบบ VI หรือว่าแบบเก็งกำไร ต้องรู้จักรับความเสี่ยงตรงนี้ มันก็เป็นจริงนะครับ แต่ไม่น่าจะเป็นคำตอบสำหรับการวิจารณ์ผลงานของทีมบริหารทางการเงินชุดนี้ครับ คุณเฟยหงคงมีเจตนาอยู่ที่ว่าจะวิจารณ์ทีมบริหารการเงินชุดนี้ รึป่าวครับ
ห่วยครับ ที่ทีมบริหารทางการเงินของประเทศนี้ ทำได้แค่นี้ ห่วยครับ แม้ว่าจะบอกว่าเจตนาดีก็ตาม
ผมรู้ว่ามีหลายคนอยากเอาก้อนหินไปให้ทีมบริหาร ชุดนี้ รึป่าว แต่เท่าที่รู้ ก็ยังมีอีกหลายๆคนอยากเอา อุนจิ ไปให้มากกว่าครับ
( จริงๆผมได้ประโยชน์จากการที่ตลาดตกใจในวันนั้นพอควร แต่สำหรับโดยรวมแล้ว ผมก็ยังอยากบอกว่า ทีมบริหารทีมนี้ ห่วยมากครับ ขืนบริหารสไตล์แบบนี้ บ่อยๆ ซักวัน หลายๆคน คงได้ขายลูก ขายเมีย แล้วก็ขายกิ๊ก กันหมดอ่ะครับ )
เกี่ยวกับปัญหานั้น.เราก็คงต้องตระหนักว่า..
1. การรับรู้ว่ามีปัญหาอยู่รึป่าว
2. รู้ทันเวลาเมื่อปัญหาเริ่มก่อตัว คือการรับรู้ว่าปัญหากำลังก่อตัวตั้งแต่ตอนต้นๆ
3. รู้วิธีแก้ปัญหาและผลกระทบรึป่าว
4. แก้ปัญหาได้ทันเวลารึป่าว
ผมว่าปู่ กรีนสแปน เขาเข้าใจต่อจิตวิทยาของตลาดดีมากครับ
ทำให้เวลาที่เขาออกมาตรการอะไรออกมาเขาจะคำนึงถึงความเป็นจริง โดยที่ยังสามารถคงเป้าหมายที่ต้องการด้วย โดยการทำอะไรที่มันค่อยๆเป็น ค่อยๆไป โดยที่ปู่เองทำอย่างนี้ได้ คงเป็นเพราะว่ามีความสามารถ มองทะลุเห็นเหตุการณ์ที่มันอาจจะเกิดความเลวร้ายได้ตั้งแต่ต้น คือเขาเก่งในการคาดการณ์สิ่งที่เป็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ทำให้เขามีเวลาที่จะใช้หรือกำหนดวิธีการแก้ไขโดยสามารถใช้การแก้ไขแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทั้งเก่งในการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหา โดยเข้าใจตลาดด้วย
เป็นไปได้ว่า.ที่ผ่านมานั้น ทาง ผู้บริหารที่ว่า บกพร่องโดยสุจริต ใน ขั้นที่ 1 , 2 , 3 , 4 ( เมื่อผลออกมาแบบนี้ ยังไง ก็คงต้องเรียกว่า กึ๋นน้อยกว่า ปู่อลัน เยอะ หรือว่าจะเรียกว่าไม่มีกึ๋นดีหนอ อันนี้ไม่รู้ เพราะว่าไม่ทราบว่าขณะที่ตัดสินใจนั้นมีเงื่อนไขอะไรอยู่มั่ง )
เพราะว่าทางผู้บริหารคงมาตระหนักถึงปัญหาเอาเมื่อช้าไปรึป่าว ทำให้เมื่อเอามาตรการแก้ปัญหาออกมาใช้ จึงต้องใช้มาตรการแรงๆออกมา โดยที่ไม่สามารถแก้ปัญหาแบบค่อยเป็นค่อยไป เพราะกลัวไม่ทันการ เลยเกิดอาการหน้ามืด ใช้ยาที่ตลาดตอบสนองได้ขนาดนี้ ตลาดเราเล็กเมื่อเทียบกับเงินต่างชาติ ตัวเราเล็ก ทำอะไรต้องคิดมากกว่านี้อ่ะครับ ( หรือว่าทางทีมบริหารเกิดนึกเอง เออเองว่า ตัวเราใหญ่คับฟ้า เลยทำแบบ คิดเอง เออเอง คนที่ทำแบบนี้ได้ จะเป็นคนที่เคยชินและยึดติดกับการใช้อำนาจ ซึ่งเราจะเห็นได้เต็มไปหมดในหมู่ข้าราชการบ้านเรา )
ไม่ว่าอย่างไร เมื่อผลการตอบสนองของตลาดออกมาแบบนี้ ขนาดที่ว่า set ลบได้ขนาดเกือบ 20% เกือบมี circuit breaker ครั้งที่สอง
ตามความคิดเห็นของผมนี่ อยากสรุปว่า ผู้บริหาร ทางกระทรวงการคลังหรือว่าทาง ธปท. มีความสามารถในด้านการติดตามปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา การบริหารและการจัดการกับปัญหา ไม่เพียงพอกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน ไม่ต้องบอกนะครับว่าในองค์กรณ์ มีผู้ที่จบอะไรมา จบดอกเตอร์กี่คน หรือว่า ผูกหูกระต่าย รึป่าว หรือว่า กรุงเทพจะสิ้นแล้วคนดี( แขว่ะครับ )
ผลงานพิสูจน์ความสามารถครับ การที่ตลาดตอบสนองต่อมาตรการ โดยที่ในระหว่างวัน set ตกลงมาได้ขนาด เกือบ 20% ใน 1 วันนี่ ไม่ธรรมดา นะครับ คำอธิบายทั้งหมด คนฟังจะคิดเพียงแค่ว่าเป็นไปได้เพียงข้อแก้ตัวนะ แล้วถ้าบอกว่าเราผู้ลงทุนทั้งแบบ VI หรือว่าแบบเก็งกำไร ต้องรู้จักรับความเสี่ยงตรงนี้ มันก็เป็นจริงนะครับ แต่ไม่น่าจะเป็นคำตอบสำหรับการวิจารณ์ผลงานของทีมบริหารทางการเงินชุดนี้ครับ คุณเฟยหงคงมีเจตนาอยู่ที่ว่าจะวิจารณ์ทีมบริหารการเงินชุดนี้ รึป่าวครับ
ห่วยครับ ที่ทีมบริหารทางการเงินของประเทศนี้ ทำได้แค่นี้ ห่วยครับ แม้ว่าจะบอกว่าเจตนาดีก็ตาม
ผมรู้ว่ามีหลายคนอยากเอาก้อนหินไปให้ทีมบริหาร ชุดนี้ รึป่าว แต่เท่าที่รู้ ก็ยังมีอีกหลายๆคนอยากเอา อุนจิ ไปให้มากกว่าครับ
( จริงๆผมได้ประโยชน์จากการที่ตลาดตกใจในวันนั้นพอควร แต่สำหรับโดยรวมแล้ว ผมก็ยังอยากบอกว่า ทีมบริหารทีมนี้ ห่วยมากครับ ขืนบริหารสไตล์แบบนี้ บ่อยๆ ซักวัน หลายๆคน คงได้ขายลูก ขายเมีย แล้วก็ขายกิ๊ก กันหมดอ่ะครับ )
-
- Verified User
- โพสต์: 269
- ผู้ติดตาม: 0
ผมคิดว่าพวกเราน่าจะฟ้อง ธปท.นะครับ
โพสต์ที่ 98
เห็นด้วยกับคุณเฟยหง เต็มที่เลยครับ มีหลายวิธีที่ ใช้คุมและดุแลค่าเงินได้ แต่กลับเลือกวิธีนี้ ที่จริงผมว่าวิธีนี้ก็ไม่เลว เท่ากับ ใช้วิธีนี้โดยไม่ได้เตรียมมาตรการ ตาต่อไปไว้เลย ยังกับ ทำทำไปก่อนแล้วค่อยว่ากัน นี่หรือวิธีคิด Scenareo รู้จักไหมก็ไม่รู้
สุดท้าย ช่วยค่าบาทได้ 1 วัน(ไม่ถึงด้วย)
เสียอะไรไปบ้างล่ะ สุดท้ายผมไม่แน่ใจว่าถึงตอนนี้ บาทแข็งกลับมาที่เดิมหรือไม่
ผมว่าไม่รู้เป็นเพราะใครหรือองค์กรไหน ไปขายบาทซื้อ US ตอนช่วง 36-38 บาทไว้เยอะหรือเปล่าน้อ
ด้วยความเคารพ
สุดท้าย ช่วยค่าบาทได้ 1 วัน(ไม่ถึงด้วย)
เสียอะไรไปบ้างล่ะ สุดท้ายผมไม่แน่ใจว่าถึงตอนนี้ บาทแข็งกลับมาที่เดิมหรือไม่
ผมว่าไม่รู้เป็นเพราะใครหรือองค์กรไหน ไปขายบาทซื้อ US ตอนช่วง 36-38 บาทไว้เยอะหรือเปล่าน้อ
ด้วยความเคารพ