Re: ยื่น ภงด90 ทาง Net มีปัญหา ใส่ปันผลไม่ได้
โพสต์แล้ว: อังคาร ม.ค. 04, 2011 10:47 am
ผมยื่นภงด 90 เรียบร้อยเเล้วไม่มีปัญหาอะไรเลยครับ
เว็บบอร์ดเพื่อการลงทุนแบบเน้นคุณค่า
https://thaiviv3.mdsoft.co.th/./
ผมก็โทรถามเหมือนกัน บอกว่า คณะบุคคลไม่ใช่ บุคคลธรรมดา รายได้จากปันผลให้ถือเป็นรายได้ ประเภท มาตรา 40(8)MarcoPolo เขียน:ของผมก็เป็นเหมือนกันครับ พอเป็นคณะบุคคลไม่สามารถกดปุ่มเพิ่มได้ พอโทรไปถาม call center เขาก็บอกว่า คณะบุคคลยื่นเครดิตภาษีไม่ได้ครับ ถ้าอยากยื่นให้ใส่ใน วงเล็บ 8
ถ้าไม่ได้ ก็อดเลยปีนี้ ยิ่งหลายบาทอยู่
Voldtrest เขียน:ของผมกด เพิ่มได้ ไม่มีปัญหาครับ
ยื่นวันที่ 1 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 21:01:46 ขอบคุณทุกท่านที่แจ้งให้ทราบว่า สามารถยื่นขอเงินภาษีคืนได้แล้ว
แสดงว่าส่วนแบ่งเงินปันผลจาก คณะบุคคล เป็นนิติบุคคล ถือเป็น รายได้จากการพาณิชย์porpiangrich เขียน:ผมก็โทรถามเหมือนกัน บอกว่า คณะบุคคลไม่ใช่ บุคคลธรรมดา รายได้จากปันผลให้ถือเป็นรายได้ ประเภท มาตรา 40(8)MarcoPolo เขียน:ของผมก็เป็นเหมือนกันครับ พอเป็นคณะบุคคลไม่สามารถกดปุ่มเพิ่มได้ พอโทรไปถาม call center เขาก็บอกว่า คณะบุคคลยื่นเครดิตภาษีไม่ได้ครับ ถ้าอยากยื่นให้ใส่ใน วงเล็บ 8
ถ้าไม่ได้ ก็อดเลยปีนี้ ยิ่งหลายบาทอยู่
แต่ลืมถามไปว่า มีการแก้กฏหมาย ตั้งแต่เมื่อไร ?![]()
พรุ่งนี้จะลองโทรถามใหม่
ท่านใดมีข้อมูลกรุณา แจ้งด้วย
ขอบคุณครับ
http://faq.rd.go.th/call_center_inter/s ... &caption=1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเลขที่ : 409791
เรื่อง : เงินปันผลที่ได้จากการถือหุ้นร่วมกัน ถือเป็นเงินได้ของแต่ละบุคคล
คำถาม : นาย ก. และ นาย ข. ร่วมกันถือหุ้นในบริษัท เมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลจะนำเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารที่ นาย ก. และ นาย ข. เปิดบัญชีร่วมกัน บริษัทจะต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย อย่างไร และเงินปันผลดังกล่าวต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของคณะบุคคลถูกต้องหรือไม่
คำตอบ : ตามมาตรา 1118 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และมาตรา 53 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 กำหนดว่า บุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปสามารถถือหุ้นหุ้นเดียวหรือหลายหุ้นร่วมกันได้ ซึ่งคำว่า “บุคคล” หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล และตามมาตรา 15 หรือมาตรา 65 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดว่า คณะบุคคลไม่มีสภาพเป็นบุคคล ดังนั้น การถือหุ้นในบริษัทๆ จะต้องมีบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น ซึ่งแสดงรายละเอียดว่า ในการถือหุ้นหุ้นเดียวหรือหลายหุ้นร่วมกัน ประกอบด้วยบุคคลใดร่วมถือหุ้นบ้าง และกรณีร่วมกันถือหุ้นหลายหุ้นต้องระบุจำนวนหุ้นที่แต่ละบุคคลถือ รวมทั้งระบุว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ใช้สิทธิในฐานะเป็นผู้ถือหุ้น ส่วนการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นที่ร่วมกันถือหุ้นดังกล่าว ต้องจ่ายให้กับบุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใช้สิทธิในฐานะที่เป็นผู้ถือหุ้น และเงินปันผลที่ได้รับถือเป็นการรับแทนผู้ที่ร่วมกันถือหุ้นทุกคน
กรณีบริษัทจ่ายเงินปันผลให้กับนาย ก. และ นาย ข. ที่ร่วมกันถือหุ้นหลายหุ้นในบริษัทดังกล่าว จึงมีหน้าที่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ให้กับนาย ก. และ นาย ข. คนละฉบับตามจำนวนหุ้นที่แต่ละบุคคลถือ บริษัทไม่สามารถออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ในนามคณะบุคคล
ส่วนการนำเงินปันผลดังกล่าวไปเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา นาย ก. และ นาย ข. จะต้องนำเงินปันผลดังกล่าวที่ได้รับตามจำนวนหุ้นที่ถือมารวมคำนวณเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของแต่ละบุคคล
ในปีภาษี 2554 สรรพากร คงจะมีความกระจ่างออกมามากขึ้นty เขียน:สรรพากรตีความใหม่ว่า คณะบุคคลไม่มีสภาพเป็นบุคคล ให้แบ่งรายได้เงินปันผล ไปให้แต่ละคนที่มาร่วมในคณะบุคคลแทน
http://faq.rd.go.th/call_center_inter/s ... &caption=1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเลขที่ : 409791
เรื่อง : เงินปันผลที่ได้จากการถือหุ้นร่วมกัน ถือเป็นเงินได้ของแต่ละบุคคล
คำถาม : นาย ก. และ นาย ข. ร่วมกันถือหุ้นในบริษัท เมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลจะนำเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารที่ นาย ก. และ นาย ข. เปิดบัญชีร่วมกัน บริษัทจะต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย อย่างไร และเงินปันผลดังกล่าวต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของคณะบุคคลถูกต้องหรือไม่
คำตอบ : ตามมาตรา 1118 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และมาตรา 53 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 กำหนดว่า บุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปสามารถถือหุ้นหุ้นเดียวหรือหลายหุ้นร่วมกันได้ ซึ่งคำว่า “บุคคล” หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล และตามมาตรา 15 หรือมาตรา 65 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กำหนดว่า คณะบุคคลไม่มีสภาพเป็นบุคคล ดังนั้น การถือหุ้นในบริษัทๆ จะต้องมีบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น ซึ่งแสดงรายละเอียดว่า ในการถือหุ้นหุ้นเดียวหรือหลายหุ้นร่วมกัน ประกอบด้วยบุคคลใดร่วมถือหุ้นบ้าง และกรณีร่วมกันถือหุ้นหลายหุ้นต้องระบุจำนวนหุ้นที่แต่ละบุคคลถือ รวมทั้งระบุว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ใช้สิทธิในฐานะเป็นผู้ถือหุ้น ส่วนการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นที่ร่วมกันถือหุ้นดังกล่าว ต้องจ่ายให้กับบุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใช้สิทธิในฐานะที่เป็นผู้ถือหุ้น และเงินปันผลที่ได้รับถือเป็นการรับแทนผู้ที่ร่วมกันถือหุ้นทุกคน
กรณีบริษัทจ่ายเงินปันผลให้กับนาย ก. และ นาย ข. ที่ร่วมกันถือหุ้นหลายหุ้นในบริษัทดังกล่าว จึงมีหน้าที่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ให้กับนาย ก. และ นาย ข. คนละฉบับตามจำนวนหุ้นที่แต่ละบุคคลถือ บริษัทไม่สามารถออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ในนามคณะบุคคล
ส่วนการนำเงินปันผลดังกล่าวไปเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา นาย ก. และ นาย ข. จะต้องนำเงินปันผลดังกล่าวที่ได้รับตามจำนวนหุ้นที่ถือมารวมคำนวณเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามของแต่ละบุคคล
ตีความแบบนี้ ต่อไปการตั้งคณะบุคคลเพื่อรับเงินปันผลคงจบกัน
เขาจะมี ปุ้มให้คลิก เพิ่ม ในหัวข้อเงินปันผลจากบริษัท.. มันจะออกมาเป็นตารางสำเร็จรูปให้กรอกทีละบริษัท ซึ่งเสียภาษีในระดับแตกต่างกันไป ฝั่งซ้ายสุดของตารางจะให้กรอกเลขที่เสียภาษี (ขอเรียกในที่นี้ว่า ID) ของ บ. ที่เราถือหุ้น (ID นึง แทน 1 บริษัท) และก็กรอก เงินปันผลรับก่อนหักภาษี ในช่องอัตราภาษีต่างๆนั่นเองครับ ตารางจะคำนวณ เงินปันผลรับ, ภาษีที่หัก ณ ที่จ่าย, เงินที่สามารถเครดิตภาษีได้ นั่นเองครับsangjun เขียน:ยื่นเร็วได้คืนเร็ว อยากยื่นบ้างจัง แต่กว่าจะได้รับรองภาษีณ.ที่จ่าย ของเงินเดือน
ก็ผ่านไปปลายกุมภาโน่นเลย...ได้คืนช้า..ช้า..อีกตามเคย![]()
![]()
ว่าแต่ เครดิตภาษีหากมีหลายบริษัท เป็น สิบ สิบ ต้องกรอกข้อมูลในกระดาษทำการยังไง
รวมกันได้ หรือต้องกรอกเป็นรายบริษัทคะ![]()
เช็คคืนภาษีของท่าน ส่งไปรษณีย์แล้ว ตามที่อยู่Voldtrest เขียน:Voldtrest เขียน:ของผมกด เพิ่มได้ ไม่มีปัญหาครับ
ยื่นวันที่ 1 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 21:01:46 ขอบคุณทุกท่านที่แจ้งให้ทราบว่า สามารถยื่นขอเงินภาษีคืนได้แล้วแบบฯ ของท่านอยู่ระหว่างดำเนินการพิมพ์เช็ค
ผมได้โทรถามสรรพากร วันนี้สรุปได้ว่าครรชิต ไพศาล เขียน:แสดงว่าส่วนแบ่งเงินปันผลจาก คณะบุคคล เป็นนิติบุคคล ถือเป็น รายได้จากการพาณิชย์porpiangrich เขียน:ผมก็โทรถามเหมือนกัน บอกว่า คณะบุคคลไม่ใช่ บุคคลธรรมดา รายได้จากปันผลให้ถือเป็นรายได้ ประเภท มาตรา 40(8)MarcoPolo เขียน:ของผมก็เป็นเหมือนกันครับ พอเป็นคณะบุคคลไม่สามารถกดปุ่มเพิ่มได้ พอโทรไปถาม call center เขาก็บอกว่า คณะบุคคลยื่นเครดิตภาษีไม่ได้ครับ ถ้าอยากยื่นให้ใส่ใน วงเล็บ 8
ถ้าไม่ได้ ก็อดเลยปีนี้ ยิ่งหลายบาทอยู่
แต่ลืมถามไปว่า มีการแก้กฏหมาย ตั้งแต่เมื่อไร ?![]()
พรุ่งนี้จะลองโทรถามใหม่
ท่านใดมีข้อมูลกรุณา แจ้งด้วย
ขอบคุณครับ
ไม่เข้าข่าย ที่จะเครดิตภาษีเงินปันผลของบุคลธรรมดา ได้
ถ้าอย่างนั้น ต้อง ขาย แล้วกลับมาซื้อในนาม บุคคลธรรมดา เสียแล้วละ
ผมคุยกับทางสรรพากร เค้าบอกว่าต้องให้บริษัทออกหนังสือหัก ณ ที่จ่าย ให้ใหม่โดยแบ่งเป็นคนๆ ไป...porpiangrich เขียน:ผมได้โทรถามสรรพากร วันนี้สรุปได้ว่า
ได้มีการแก้กฎหมายแพ่งและพานิชย์ เมื่อต้นปี 2553 ในมาตรา 1118 เป็นดังนี้ :
ปพพ. มาตรา ๑๑๑๘
อัน หุ้น นั้น ท่านว่า จะแบ่งแยก หาได้ไม่
ถ้า บุคคล มีจำนวนแต่ สองคน ขึ้นไป ถือหุ้นๆเดียวร่วมกัน ท่านว่า ต้องตั้งให้ คนใดคนหนึ่ง ในจำนวนนั้น แต่คนเดียว เป็นผู้ใช้สิทธิ ในฐานเป็น ผู้ถือหุ้น
อนึ่ง บุคคลทั้งหลาย ซึ่ง ถือหุ้นๆเดียวร่วมกัน ต้องร่วมกันรับผิด ต่อบริษัท ในการส่งใช้ มูลค่าของหุ้น
สรรพากรก็เลยมีการตีความใหม่ (ฟังแล้วก็ยังไม่เข้าใจเท่าไร) แต่สรปได้ว่า คณะบุคคลไม่สามารถขอเครดิตภาษีได้ แต่ขอในนามบุคคลธรรมดาได้ โดยหารตามส่วน เช่น คณะบุคคลมีสมาชิก 2 คน ได้รับปันผล 200 บาท ก็สามารถยื่นภาษีได้คนละ 200/2 = 100 บาท และขอเครดิตภาษีได้ตามปกติ
นั่นซิครับ คุณ picatos เจ้าหน้าที่แต่ละคนตอบไม่เหมือนกัน คงเป็นเพราะเป็นประเด็นใหม่picatos เขียน:ผมคุยกับทางสรรพากร เค้าบอกว่าต้องให้บริษัทออกหนังสือหัก ณ ที่จ่าย ให้ใหม่โดยแบ่งเป็นคนๆ ไป...porpiangrich เขียน:ผมได้โทรถามสรรพากร วันนี้สรุปได้ว่า
ได้มีการแก้กฎหมายแพ่งและพานิชย์ เมื่อต้นปี 2553 ในมาตรา 1118 เป็นดังนี้ :
ปพพ. มาตรา ๑๑๑๘
อัน หุ้น นั้น ท่านว่า จะแบ่งแยก หาได้ไม่
ถ้า บุคคล มีจำนวนแต่ สองคน ขึ้นไป ถือหุ้นๆเดียวร่วมกัน ท่านว่า ต้องตั้งให้ คนใดคนหนึ่ง ในจำนวนนั้น แต่คนเดียว เป็นผู้ใช้สิทธิ ในฐานเป็น ผู้ถือหุ้น
อนึ่ง บุคคลทั้งหลาย ซึ่ง ถือหุ้นๆเดียวร่วมกัน ต้องร่วมกันรับผิด ต่อบริษัท ในการส่งใช้ มูลค่าของหุ้น
สรรพากรก็เลยมีการตีความใหม่ (ฟังแล้วก็ยังไม่เข้าใจเท่าไร) แต่สรปได้ว่า คณะบุคคลไม่สามารถขอเครดิตภาษีได้ แต่ขอในนามบุคคลธรรมดาได้ โดยหารตามส่วน เช่น คณะบุคคลมีสมาชิก 2 คน ได้รับปันผล 200 บาท ก็สามารถยื่นภาษีได้คนละ 200/2 = 100 บาท และขอเครดิตภาษีได้ตามปกติ
สรุปแล้ว ต้องขอใหม่ หรือว่า เอามาหารจำนวนคนในคณะบุคคล แล้วเอามาใช้ได้เลยครับเนี่ย?
รายได้จากดอกเบี้ย ถ้ายอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% มีสิทธิ์ เลือกยื่น หรือไม่ยื่น ก็ได้Flashy เขียน:ผมมีข้อสงสัย รบกวนพี่ช่วยบอกหน่อยนะครับ
ผมใช้บัญชีแบบที่ต้องฝากเงินให้โบรกเกอร์ก่อน แล้วซื้อ-ขายได้เท่านั้น โดยได้รับดอกเบี้ยด้วย
ตอนนี้เอกสารการจ่ายดอกเบี้ยให้ผม เขายังไม่ส่งมาให้เลยครับ (หรือจะส่งมาวันไหนก็ไม่รู้)
อยากทราบว่า ผมจะยื่นเฉพาะเครดิตภาษีจากหุ้น ไม่รอรายการดอกเบี้ย ได้มั้ยครับ (หรือถามอีกอย่างว่า ยื่นไม่ครบ จะผิดมั้ย?)
เพราะรายการดอกเบี้ยมันน้อยมาก หลักสิบบาทเองน่ะครับ
รบกวนพี่มิ นิดนึงครับเอกสารเก็บเป็นตัวจริง 3 ปี
เก็บเป็น digital 5 ปี
แต่อายุความของภาษี 10 ปี
ข้อ 19 กรณีบุคคลธรรมดาได้รับเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งเป็นเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ตามข้อ 11 ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่นก็ได้ ในกรณีเลือกนำไปรวมคำนวณกับ เงินได้อื่น ผู้มีเงินได้จะได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และในกรณีที่ได้รับเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีจากผู้จ่ายหลายราย ผู้มีเงินได้จะต้องนำเงินได้ดังกล่าวที่ได้รับในปีภาษีทุกรายมารวมคำนวณภาษี ไม่สามารถเลือกเฉพาะบางรายนำมารวมคำนวณภาษีเพื่อได้รับเครดิตภาษี
ข้อ 20 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือคำวินิจฉัยใด ที่ขัดหรือแย้งกับคำสั่งนี้ให้เป็นอันยกเลิก
เลขที่หนังสือ
: กค 0706/1926
วันที่
: 7 มีนาคม 2549
เรื่อง
: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณียื่นแบบแสดงรายการ (ภ.ง.ด.90)
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 40(4)(ข) มาตรา 47 ทวิ มาตรา 48(3) และมาตรา 50(2)(จ) แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อหารือ
: ขอทราบวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40(4)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีและเงินปันผลที่ไม่ได้รับเครดิตภาษี นั้น
แนววินิจฉัย
: 1. กรณีบุคคลธรรมดาได้รับเงินปันผล ตามมาตรา 40(4)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจากผู้จ่ายหลายราย ซึ่งเป็นเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่นก็ได้ ตามมาตรา 48(3) วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ในกรณีเลือกนำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่น ผู้มีเงินได้จะได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และในกรณีที่ได้รับเงินปันผลที่ได้รับเครคิตภาษีจากผู้จ่ายหลายราย ผู้มีเงินได้จะต้องนำเงินได้ดังกล่าวที่ได้รับในปีภาษีทุกรายมารวมคำนวณภาษีไม่มีสิทธิเลือกเฉพาะบางรายนำมารวมคำนวณภาษีเพื่อได้รับเครดิตภาษี
2. กรณีบุคคลธรรมดาได้รับเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรตามมาตรา 40(4)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งเป็นเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ไม่ได้รับเครคิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้รับดังกล่าวได้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ ตามมาตรา 50(2)(จ) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว หากผู้มีเงินได้เลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ ก็ไม่ต้องนำเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรดังกล่าวไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่น ทั้งนี้ ตามมาตรา 48(3) วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร
เลขตู้
: 69/33954
aonanfield เขียน:รบกวนพี่มิ นิดนึงครับเอกสารเก็บเป็นตัวจริง 3 ปี
เก็บเป็น digital 5 ปี
แต่อายุความของภาษี 10 ปี
แสดงว่าเราสามารถยื่นเครดิตภาษีย้อนหลังได้ 10 ปีเลย ใช่มั้ยครับ
มีพี่ๆ เพื่อนๆ ท่านไหนเคยยื่นย้อนหลังไปหลายๆปี บ้างครับ แล้วมีปัญหาอะไรมั้ย
ขอบคุณล่วงหน้าเลยนะครับ
tingku เขียน:ผากเรื่องนี้ไว้ที่เดียวกันครับ มีปัญหาทุกปี ปีที่แล้วคุณ phemstap โดนไป ปีนี้ผมโดนเข้าบ้าง
.................
และบอกไปว่าถ้ามีข้อกฎหมายฉบับใหนที่บอกว่า ผมต้องยื่นทุกรายการ ขอให้แสดงให้ผมดู เขาก็หามาแสดงไม่ได้