ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
-
- Verified User
- โพสต์: 493
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 31
เคยเรียนอเมริกามาหลายปีทีเดียว (Grade 9 -12, Undergrad, master) รวมๆกันก็กว่าสิบปี.... เคยอยู่ที่ Connecticut, Pennsylvania, แต่ก็ travel ไปเรื่อย
เคยดูบาสมากจนแบบซื้อ NBA league pass มาดู ดูแล้วรู้เลยว่าผู้เล่นมันจะทำอะไรในแต่ละ situation... ที่คิดถีงมากที่สุดคือ english premiere league ครับ... จำได้ว่าเวลามี liverpool + man utd ก็จะยอมจ่าย payper view (25 USD มั้ง) หารๆกันเพราะไม่มีบอลดู
มันชอบฉายแต่ champion's league... แถมฉายแต่แมนยู.... นึกแล้วก็อยากไปอเมริกาอีก ไว้ว่างๆไปเยี่ยมมหาลัยต่างๆที่คนรู้จักยังอยู่ดีกว่า
เคยดูบาสมากจนแบบซื้อ NBA league pass มาดู ดูแล้วรู้เลยว่าผู้เล่นมันจะทำอะไรในแต่ละ situation... ที่คิดถีงมากที่สุดคือ english premiere league ครับ... จำได้ว่าเวลามี liverpool + man utd ก็จะยอมจ่าย payper view (25 USD มั้ง) หารๆกันเพราะไม่มีบอลดู
มันชอบฉายแต่ champion's league... แถมฉายแต่แมนยู.... นึกแล้วก็อยากไปอเมริกาอีก ไว้ว่างๆไปเยี่ยมมหาลัยต่างๆที่คนรู้จักยังอยู่ดีกว่า
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 32
[quote="Jangster"]เคยเรียนอเมริกามาหลายปีทีเดียว (Grade 9 -12, Undergrad, master) รวมๆกันก็กว่าสิบปี.... เคยอยู่ที่ Connecticut, Pennsylvania, แต่ก็ travel ไปเรื่อย
เคยดูบาสมากจนแบบซื้อ NBA league pass มาดู ดูแล้วรู้เลยว่าผู้เล่นมันจะทำอะไรในแต่ละ situation... ที่คิดถีงมากที่สุดคือ english premiere league ครับ...
เคยดูบาสมากจนแบบซื้อ NBA league pass มาดู ดูแล้วรู้เลยว่าผู้เล่นมันจะทำอะไรในแต่ละ situation... ที่คิดถีงมากที่สุดคือ english premiere league ครับ...
-
- Verified User
- โพสต์: 493
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 33
ไม่มี greencard ครับ.... ไม่เคยขอ... ใช้ I-20 มาตลอดเลยตั้งแต่ highschool ครับ.... แต่มี dual citizenship (Thai + UK ครับ)
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament :twisted:
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament :twisted:
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 34
[quote="Jangster"]ไม่มี greencard ครับ.... ไม่เคยขอ... ใช้ I-20 มาตลอดเลยตั้งแต่ highschool ครับ.... แต่มี dual citizenship (Thai + UK ครับ)
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament
-
- Verified User
- โพสต์: 493
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 36
[quote=".^O-O^"][quote="Jangster"]ไม่มี greencard ครับ.... ไม่เคยขอ... ใช้ I-20 มาตลอดเลยตั้งแต่ highschool ครับ.... แต่มี dual citizenship (Thai + UK ครับ)
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament
ส่วนไป Omaha เนี่ย..... ผมอยากไป ช่วงมีนามากกว่า... ไปดู March Madness NCAA tournament
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 37
อย่างนี้ สวยไม่จริงJangster เขียน:โรงเรียนผมมันเด็ก Nerd ครับ... กีฬาเด่นอยู่อย่างเดียวคือ Robot Soccer hahahhaha (ผมจบ carnegie mellon น่ะครับ.... มีแต่ book worm... sports = division 3)..... ขนาด Homecoming match สำหรับ American Football ยังไม่ fill stadium เล็กๆเลยครับ
![]()
![]()
![]()
ส่วนตอบพี่เจ๋ง.... ฝรั่งหน้าตาดีๆก็เยอะครับ แต่ส่วนใหญ่ออกแนวน่ารักมากกว่าสวย ดูแล้วสดชื่นอะไรเงี้ย เพราะส่วนมากจะเป็นพวก sporty มากกว่า.... โดยรวมนะ... แต่ผมว่าเอเชียเนีย ถ้าเจอพวกบ้าแต่งตัวนี้เห็นแล้วมองตามเลยครับ... มีคนนึงในมหาลัยผม คนไทยเรียกกันว่าเป็นตุ๊กตาเกาหลี... ไม่เคยเห็นยิ้มเลย หน้าคมมากๆ ตอนพี่สามผมมาเยี่ยม เห็นบอกว่าเดินสวนเค้าเข้ามาห้องน้ำ เค้าแค่เดินมาปัดผมสองสามทีแล้วก็ออกไป (ประมาณว่า check ตัวเองแล้วก็ออก haha)

-
- Verified User
- โพสต์: 493
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 38
ที่ว่าสวยเนี่ยไม่ใช่โรงเรียนผมหรอกครับ แถวโรงเรียนผมเนี่ยมัน 65% male, 35% female.... and 25 out of those 35% can probably qualify as a male (since they are so ugly, they look like one)..... that leaves 10% who are actually "female"..... and the one with reasonable quality hmmmmmm hahaha
มันมีคำขวัญที่เค้าเรียกกันครับ ผู้หญิงจะบอกว่า "The odds (of having a bf) are good, but the goods are odd"
ส่วนชายก็จะบอกว่า "Girls here are like parking spaces, if they aren't taken, they are handicapped"
มันมีคำขวัญที่เค้าเรียกกันครับ ผู้หญิงจะบอกว่า "The odds (of having a bf) are good, but the goods are odd"
ส่วนชายก็จะบอกว่า "Girls here are like parking spaces, if they aren't taken, they are handicapped"
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 39
:lovl: ขนาดนั้นเลยหรือครับJangster เขียน:มันมีคำขวัญที่เค้าเรียกกันครับ ผู้หญิงจะบอกว่า "The odds (of having a bf) are good, but the goods are odd"
ส่วนชายก็จะบอกว่า "Girls here are like parking spaces, if they aren't taken, they are handicapped"
สาวๆ วิดวะ carnegie ทนได้ไงนี่
คล้ายๆ บางมด มีแต่สาวๆ หน้าบาง ล่ำบึก
สำนวนภาษาอังกฤษ เพราะมากเลย

-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 40

Carnegie Mellon Moves to 21st in U.S. News & World Report Survey;
Retains #7 Ranking in Business and Engineering
Business Program Again Rated Tops in E-Commerce
Carnegie Mellon's overall undergraduate program ranked 21st - up two spots from last year's rating - in U.S. News &World Report magazine's annual survey of national universities for its "America's Best Colleges" edition.
The university's undergraduate business and engineering programs retained their number seven overall rating of a year ago. U.S. News & World Report annually ranks undergraduate programs in business and engineering as well as specialty areas in those disciplines.
In specialty business areas, Carnegie Mellon retained its rankings from last year. Carnegie Mellon ranked first in E-Commerce, second in Management Information Systems, Production/Operations Management and Quantitative Analysis/Methods, 6th in Supply Chain Management/Logistics, 10th in Finance, 15th in Management and 17th in Entrepreneurship.
In engineering specialties, Carnegie Mellon was rated second in Computer Engineering - up one spot from last year - ninth in Electrical Engineering, 10th in Materials, 13th in Chemical Engineering and Environmental Engineering, 14th in Civil Engineering and 15th in Mechanical Engineering.
"We are pleased to again have a strong showing for Carnegie Mellon University," said President Jared Cohon. "Surveys are just one measure of the overall excellence of our educational programs but, these rankings confirm what we know-that Carnegie Mellon and our specialty programs rank among the best in the nation."
"It is very gratifying to know that in addition our quantitative measures, our peer assessment, which plays a significant role in each school's standing in the U.S. News survey, is very strong," said Provost Mark Kamlet. "Our innovative, interdisciplinary, collaborative and problem-solving culture at Carnegie Mellon is respected and highly valued by our peers across the nation."
Graduate School of Industrial Administration Dean Kenneth B. Dunn said the undergraduate business school's number seven overall ranking "underscores the caliber of our students as among the world's best thinkers and performers. We were also pleased to see the spotlight on our areas of academic concentration and recognize the university's leadership in the technology sector as a solid partner in helping us achieve a number one ranking in e-commerce," he said. John Anderson, dean of the Carnegie Institute of Technology (CIT), said the engineering program's ranking is a testament to the CIT faculty, students and staff.
"We're small but we produce excellent engineers who are entrepreneurial and enter the workforce ready and able to work beyond the boundaries of their disciplines. Computer engineering's second place rank reflects the impact of our innovative curriculum, the leadership of our faculty and the initiative of our students," Anderson said.
The overall ratings were determined by several measures including peer assessment (25%), graduation and retention rates (20%), faculty resources (20%), student selectivity (15%), financial resources, or spending per student (10%), graduation rate performance, described as the difference between actual and predicted graduation rates (5%) and alumni giving rates, which the magazine describes as an indirect measure of satisfaction (5%). Specialty areas were ranked according to the judgments of deans and senior faculty who rated each program they're familiar with on a scale of 1 (marginal) to 5 (distinguished). In other U.S. News & World Report listings, Carnegie Mellon was included among national universities with a strong presence of international students. In the 2001-2002 school year, international students made up 11 percent of Carnegie Mellon's study body. In a category called "Programs that really work," Carnegie Mellon's undergraduate research program was listed 18th.
The Numbers at a Glance
Overall Undergraduate Program - #21
Undergraduate Business - #7
Undergraduate Engineering - #7
Business Specialties
E-Commerce - #1
Management Information Systems - #2
Production/Operations Management - #2
Quantitative Analysis/Methods - #2
Supply Chain Mgmt./Logistics - #6
Finance - #10
Management - #15
Entrepreneurship - #17
Engineering Specialties
Computer Engineering - #2
Electrical Engineering - #9
Materials Science and Engineering - #10
Chemical Engineering - #13
Environmental Engineering - #13
Civil Engineering - #14
Mechanical Engineering - #15
For more on the rankings visit the Web at www.usnews.com.


Samita Dhanasobhon
PhD Student
[email protected]
[email protected]
H. John Heinz III School of Public Policy & Management
Carnegie Mellon University
5000 Forbes Avenue
Pittsburgh, PA 15213-3890
Research Interest: Information Systems, eCommerce, Word-of-Mouth, Online Reviews
Heinz School First Paper: All Reviews are not Created Equal
My Resume
MSN: [email protected]
Blog: http://samitad.spaces.live.com
Photos: http://picasaweb.google.com/samita
Hi5: http://namtoey23.hi5.com
Facebook: http://cmu.facebook.com/profile.php?id=515204368
ชื่อคล้ายๆ คนไทย
-
- Verified User
- โพสต์: 493
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 42
ผมเนี่ยไม่เก่งหรอกครับ แค่ฟลุกๆเข้าได้เท่านั้นแหละ เรียน MIS มาก็จะตกไม่ตกแหล่ ผ่านมาได้แบบเส้นยาแดงผ่าแปดครับ.... เลยเปลี่ยนสายงานทำแบงค์แทนแล้ว.... หึหึ
ส่วนพี่คนนั้นผมรู้จักครับ เรียนโปรแกรมโทด้วยกัน พึ่งเจอเค้าไม่เกินเดือนที่แล้วตอนไปงานแต่งงานพี่เพื่อน ตอนนี้กลายเป็นว่าเค้าต่อ PHD ซะแล้ว... ผมซูฮกให้เค้าจริงๆครับ ผมเนี่ยขี้เกียจจนตัวเป็นขนแล้ว ขนาดลงทุนยังต้องมาลอกการบ้านพี่ๆในห้องนี้อีก
ส่วนพี่คนนั้นผมรู้จักครับ เรียนโปรแกรมโทด้วยกัน พึ่งเจอเค้าไม่เกินเดือนที่แล้วตอนไปงานแต่งงานพี่เพื่อน ตอนนี้กลายเป็นว่าเค้าต่อ PHD ซะแล้ว... ผมซูฮกให้เค้าจริงๆครับ ผมเนี่ยขี้เกียจจนตัวเป็นขนแล้ว ขนาดลงทุนยังต้องมาลอกการบ้านพี่ๆในห้องนี้อีก
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 43
หุ้นตกเยอะ ๆ ช่วงนี้ หาเรื่องอื่นมาคุยกันดีกว่าครับ
เลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเป็นไง :8)
เริ่มด้วยการเล่าพื้นเพระบบเลือกตั้งของเขา (เผื่อใครจะเปรียบเทียบกับเมืองไทย อิอิ)
แล้วใครที่คิดว่าโอบามานอนมาสบาย ๆ ระวังดี ๆ นะครับ..
เลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเป็นไง :8)
เริ่มด้วยการเล่าพื้นเพระบบเลือกตั้งของเขา (เผื่อใครจะเปรียบเทียบกับเมืองไทย อิอิ)
แล้วใครที่คิดว่าโอบามานอนมาสบาย ๆ ระวังดี ๆ นะครับ..
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 1961
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 44
สวัสดีครับคุณี่หมอ
ผมเริ่มก่อนเลยครับ
American president
Early Republic
1789 - 1829
* George Washington
* John Adams
* Thomas Jefferson
* James Madison
* James Monroe
* John Quincy Adams
Jacksonian Democracy
1829 - 1853
* Andrew Jackson
* Martin Van Buren
* William Harrison
* John Tyler
* James Polk
* Zachary Taylor
* Millard Fillmore
Sectional Conflict
1853 - 1881
* Franklin Pierce
* James Buchanan
* Abraham Lincoln
* Andrew Johnson
* Ulysses Grant
* Rutherford Hayes
Gilded Age
1881 - 1897
* James Garfield
* Chester Arthur
* Grover Cleveland
* Benjamin Harrison
* Grover Cleveland
Progressive Era
1897 - 1921
* William McKinley
* Theodore Roosevelt
* William Taft
* Woodrow Wilson
Depression
& World Conflict
1921 - 1961
* Warren Harding
* Calvin Coolidge
* Herbert Hoover
* Franklin Roosevelt
* Harry Truman
* Dwight Eisenhower
Social Change
& Soviet Relations
1961 - 1989
* John Kennedy
* Lyndon Johnson
* Richard Nixon
* Gerald Ford
* Jimmy Carter
* Ronald Reagan
Globalization
1989 -
* George H. W. Bush
* Bill Clinton
* George W. Bush
http://millercenter.org/academic/americanpresident
ิ
ผมเริ่มก่อนเลยครับ
American president
Early Republic
1789 - 1829
* George Washington
* John Adams
* Thomas Jefferson
* James Madison
* James Monroe
* John Quincy Adams
Jacksonian Democracy
1829 - 1853
* Andrew Jackson
* Martin Van Buren
* William Harrison
* John Tyler
* James Polk
* Zachary Taylor
* Millard Fillmore
Sectional Conflict
1853 - 1881
* Franklin Pierce
* James Buchanan
* Abraham Lincoln
* Andrew Johnson
* Ulysses Grant
* Rutherford Hayes
Gilded Age
1881 - 1897
* James Garfield
* Chester Arthur
* Grover Cleveland
* Benjamin Harrison
* Grover Cleveland
Progressive Era
1897 - 1921
* William McKinley
* Theodore Roosevelt
* William Taft
* Woodrow Wilson
Depression
& World Conflict
1921 - 1961
* Warren Harding
* Calvin Coolidge
* Herbert Hoover
* Franklin Roosevelt
* Harry Truman
* Dwight Eisenhower
Social Change
& Soviet Relations
1961 - 1989
* John Kennedy
* Lyndon Johnson
* Richard Nixon
* Gerald Ford
* Jimmy Carter
* Ronald Reagan
Globalization
1989 -
* George H. W. Bush
* Bill Clinton
* George W. Bush
http://millercenter.org/academic/americanpresident
ิ
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 45
ระบบเลือกตั้งของอเมริกาน่าจะเรียกว่าแปลกที่สุดในโลก เพราะซับซ้อนยุ่งยากมาก แต่ในความซับซ้อนยุ่งยาก กลับไม่สับสนเพราะมีแนวทางชัดเจนเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (ผิดกับเมืองไทย ชอบเขียนไว้ให้แปลกันเอาเอง ผลเลยออกมาว่าต่างคนต่างแปลเอาประโยชน์เข้าตัว เถียงกันไม่รู้จักจบสิ้น)
การเลือกตั้งของอเมริกาแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่การเลือกตั้งท้องถิ่น (ระดับรัฐ) และการเลือกตั้งส่วนกลาง (ระดับประเทศ)
ของท้องถิ่น ระบบรัฐใครรัฐมัน แตกต่างกันไป แต่คนสนใจที่สุดคือการเลือกตั้งส่วนกลางนี่แหละ แบ่งเป็นการเลือกตั้ง สส. สว. และประธานาธิบดี
รัฐธรรมนูญอเมริกากำหนดเอาไว้ตายตัวเลยว่า วันเลือกตั้งจะต้องเป็นวันอังคารแรกที่ถัดจากจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน ... งงมะ
คือเขียนไว้เลยว่า เป็นอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน แต่ต้องไม่ใช่วันที่ 1 พฤจิกายนนั่นแหละ
การเลือกตั้งของอเมริกาแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่การเลือกตั้งท้องถิ่น (ระดับรัฐ) และการเลือกตั้งส่วนกลาง (ระดับประเทศ)
ของท้องถิ่น ระบบรัฐใครรัฐมัน แตกต่างกันไป แต่คนสนใจที่สุดคือการเลือกตั้งส่วนกลางนี่แหละ แบ่งเป็นการเลือกตั้ง สส. สว. และประธานาธิบดี
รัฐธรรมนูญอเมริกากำหนดเอาไว้ตายตัวเลยว่า วันเลือกตั้งจะต้องเป็นวันอังคารแรกที่ถัดจากจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน ... งงมะ
คือเขียนไว้เลยว่า เป็นอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน แต่ต้องไม่ใช่วันที่ 1 พฤจิกายนนั่นแหละ
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 2032
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 46
ไม่ทราบมาก่อนครับmprandy เขียน:
รัฐธรรมนูญอเมริกากำหนดเอาไว้ตายตัวเลยว่า วันเลือกตั้งจะต้องเป็นวันอังคารแรกที่ถัดจากจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน ... งงมะ
คือเขียนไว้เลยว่า เป็นอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน แต่ต้องไม่ใช่วันที่ 1 พฤจิกายนนั่นแหละ
แต่ถ้าระบุว่า วันอังคาร ที่อยู่ระหว่าง 2-8 พย.
จะเข้าใจง่ายกว่านะ
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 47
ครับ ผมก็งงเหมือนกันว่าทำไมไม่กำหนดวันไปเลย สงสัยกลัวคนงงจำเป็นวันที่แทน
สำหรับการเลือกตั้งระดับประเทศ จะแบ่งการเลือกตั้งเป็นสามอันใหญ่ คือ สส. สว. และ ประธานาธิบดี
สส.เลือกกันทุก 2 ปี และเลือกกันทั้งสภา
สว.เลือกทีละ 1 ใน 3 ของสภา และเลือกทุก 2 ปีเหมือนกัน
ประธานาธิบดี จะเลือกกันทุก 4 ปี
ดังนั้นทุก ๆ 2 ปีจะมีการเลือกตั้งทีนึง ถ้าตรงกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีก็ใหญ่หน่อย ถ้าไม่ตรงก็เล็กหน่อย (เขาเรียกว่า midterm election)
หลักการเลือกแต่ละอย่างก็ต่างกันไป โดย สส.จะมีจำนวนคงที่เสมอคือ 435 คน แต่จำนวนจะมากน้อยแตกต่างกันไปแต่ละรัฐ 50 รัฐ (อย่างไรก็ตามทุกรัฐต้องมีอย่างน้อย 1 คน) คำนวณตามสัดส่วนประชากรของรัฐต่าง ๆ โดยอ้างอิงจำนวนประชากรตามสำมะโนประชากรทุก 10 ปี หมายความว่าแต่ละรัฐจะมี สส.เปลี่ยนไปทุก 10 ปี รัฐไหนประชากรเพิ่มเพราะคนเฮโลเข้ามาอยู่ หรือมีอัตราเด็กเกิดใหม่เยอะ ก็จะได้เปรียบเพราะ สส.จะมากขึ้น รัฐที่มี สส.มากขึ้นปัจจุบันมักเป็นรัฐทางใต้ ซึ่งจะต้องไปหักเอาจากรัฐทางตอนเหนือที่มีคนน้อยลงหรือเพิ่มน้อยกว่าค่าเฉลี่ย
การเลือก สส.จะเลือกแบบแบ่งเขตระบบ one man one district คือเขตนึงมี สส.ได้คนเดียว รัฐที่มี สส.มากกว่า 1 คนก็จะซอยรัฐออกเป็นหลายเขต
สำหรับ สว.จะมีจำนวนเท่ากันทุกรัฐคือรัฐละ 2 คน ไม่ว่ารัฐนั้นจะใหญ่ (เช่นแคลิฟอร์เนีย - มีสส. 53 คน หรือนิวยอร์ค - มีสส. 29 คน) หรือเล็ก (เช่น ไวโอมิง, อลาสก้า ซึ่งมี สส.แค่รัฐละคนเดียว) โดยไม่สนจำนวนประชากร ทำให้จำนวน สว.มีทั้งหมด 100 คนพอดี (จาก 50 รัฐ) การเลือก สว.จะไม่มีการแบ่งเขตในรัฐ แต่เป็นการเลือกทั้งรัฐ ซึ่งตรงนี้ทำให้ระบบการเลือกตั้งดูตลก เพราะในขณะที่ สว.หนึ่งคนอาจจะมีคะแนนเสียงมากมาย (เพราะเลือกทั้งรัฐ) เมื่อเทียบกับคะแนนเสียง สส.จากเขตเดียว แต่บางรัฐ สส.มาจากคะแนนเสียงทั้งรัฐ (เพราะรัฐนั้นมี สส.คนเดียว) แต่ สว.อาจมีคะแนนเสียงน้อยกว่า
กรณีนี้จะมีผลถ้าเกิด สส.เก่าเปลี่ยนใจหันไปลงแข่ง สว.กับเจ้าของเก้าอี้เดิมแทน ถ้าเป็น สส.จากรัฐใหญ่ สว.อาจจะได้เปรียบ แต่ถ้าเป็นการแข่งในรัฐเล็ก สว.ก็หนาวเพราะเจ้าของเก้าอี้เดิมอาจจะไม่ popular เท่ากับ สส. ซึ่งมีตัวอย่างมาแล้วสมัยการเลือกตั้ง สว.รัฐ นอร์ท ดาโกต้า ที่ สว.คนเดิมมีศักดิ์ศรีเป็นถึง majority leader ของเดโมแครต ต้องพ่ายแพ้ให้กับผู้สมัครของรีพับลิกันที่เป็น สส.เก่า เพราะแกผูกขาดตำแหน่ง สส.มานาน ฐานคะแนนเก่าแกมีมากกว่าเยอะ
สำหรับการเลือกตั้งระดับประเทศ จะแบ่งการเลือกตั้งเป็นสามอันใหญ่ คือ สส. สว. และ ประธานาธิบดี
สส.เลือกกันทุก 2 ปี และเลือกกันทั้งสภา
สว.เลือกทีละ 1 ใน 3 ของสภา และเลือกทุก 2 ปีเหมือนกัน
ประธานาธิบดี จะเลือกกันทุก 4 ปี
ดังนั้นทุก ๆ 2 ปีจะมีการเลือกตั้งทีนึง ถ้าตรงกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีก็ใหญ่หน่อย ถ้าไม่ตรงก็เล็กหน่อย (เขาเรียกว่า midterm election)
หลักการเลือกแต่ละอย่างก็ต่างกันไป โดย สส.จะมีจำนวนคงที่เสมอคือ 435 คน แต่จำนวนจะมากน้อยแตกต่างกันไปแต่ละรัฐ 50 รัฐ (อย่างไรก็ตามทุกรัฐต้องมีอย่างน้อย 1 คน) คำนวณตามสัดส่วนประชากรของรัฐต่าง ๆ โดยอ้างอิงจำนวนประชากรตามสำมะโนประชากรทุก 10 ปี หมายความว่าแต่ละรัฐจะมี สส.เปลี่ยนไปทุก 10 ปี รัฐไหนประชากรเพิ่มเพราะคนเฮโลเข้ามาอยู่ หรือมีอัตราเด็กเกิดใหม่เยอะ ก็จะได้เปรียบเพราะ สส.จะมากขึ้น รัฐที่มี สส.มากขึ้นปัจจุบันมักเป็นรัฐทางใต้ ซึ่งจะต้องไปหักเอาจากรัฐทางตอนเหนือที่มีคนน้อยลงหรือเพิ่มน้อยกว่าค่าเฉลี่ย
การเลือก สส.จะเลือกแบบแบ่งเขตระบบ one man one district คือเขตนึงมี สส.ได้คนเดียว รัฐที่มี สส.มากกว่า 1 คนก็จะซอยรัฐออกเป็นหลายเขต
สำหรับ สว.จะมีจำนวนเท่ากันทุกรัฐคือรัฐละ 2 คน ไม่ว่ารัฐนั้นจะใหญ่ (เช่นแคลิฟอร์เนีย - มีสส. 53 คน หรือนิวยอร์ค - มีสส. 29 คน) หรือเล็ก (เช่น ไวโอมิง, อลาสก้า ซึ่งมี สส.แค่รัฐละคนเดียว) โดยไม่สนจำนวนประชากร ทำให้จำนวน สว.มีทั้งหมด 100 คนพอดี (จาก 50 รัฐ) การเลือก สว.จะไม่มีการแบ่งเขตในรัฐ แต่เป็นการเลือกทั้งรัฐ ซึ่งตรงนี้ทำให้ระบบการเลือกตั้งดูตลก เพราะในขณะที่ สว.หนึ่งคนอาจจะมีคะแนนเสียงมากมาย (เพราะเลือกทั้งรัฐ) เมื่อเทียบกับคะแนนเสียง สส.จากเขตเดียว แต่บางรัฐ สส.มาจากคะแนนเสียงทั้งรัฐ (เพราะรัฐนั้นมี สส.คนเดียว) แต่ สว.อาจมีคะแนนเสียงน้อยกว่า
กรณีนี้จะมีผลถ้าเกิด สส.เก่าเปลี่ยนใจหันไปลงแข่ง สว.กับเจ้าของเก้าอี้เดิมแทน ถ้าเป็น สส.จากรัฐใหญ่ สว.อาจจะได้เปรียบ แต่ถ้าเป็นการแข่งในรัฐเล็ก สว.ก็หนาวเพราะเจ้าของเก้าอี้เดิมอาจจะไม่ popular เท่ากับ สส. ซึ่งมีตัวอย่างมาแล้วสมัยการเลือกตั้ง สว.รัฐ นอร์ท ดาโกต้า ที่ สว.คนเดิมมีศักดิ์ศรีเป็นถึง majority leader ของเดโมแครต ต้องพ่ายแพ้ให้กับผู้สมัครของรีพับลิกันที่เป็น สส.เก่า เพราะแกผูกขาดตำแหน่ง สส.มานาน ฐานคะแนนเก่าแกมีมากกว่าเยอะ
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 48
เนื่องจากการเลือกตั้ง สว.เลือกกันทั้งรัฐไม่มีการแบ่งเขตจึงไม่วุ่นวาย ต่างจาก สส.ที่ต้องแบ่งเขตถ้ารัฐนั้นมี สส.มากกว่า 1 ปัญหาจะเกิดขึ้น (ทุึก 10 ปี
) เมื่่อรัฐนั้นมีจำนวน สส.เปลี่ยนแปลงไป (เพิ่มหรือลด แต่โดยมากปัญหาจะมากถ้า สส.ลดลง) ทำให้ต้องแบ่งเขตกันใหม่
ทีนี้ใครจะเป็นคนตีเส้นแบ่ง กฏหมายก็กำหนดให้สภาของแต่ละรัฐเป็นคนตีเส้นกันเอง สภาของรัฐ (State congress) ก็ได้ สมาชิกสภามาจากการเลือกตั้งในรัฐนั้นนั่นแหละ พรรคไหนมีที่นั่งในสภามากกว่า เวลาตีเส้นก็มักจะตีเส้นเข้าข้างตัวเองหน่อย ซึ่งทำกันเป็นประจำ ทีใครทีมัน (เช่น อิลลินอยส์เป็นถิ่นเดโมแครต มีจำนวน สส.ลดลง ก็ตีเส้นแบ่งเขต ให้เขต สส.เก่าของรีพับลิกันมาชนกันเอง หรือเท็กซัส ที่เป็นถิ่นรีพับลิกัน ได้ สส.เพิ่มขึ้น ก็พยายามตีเส้นเขตให้พรรคตัวเองได้ สส.เพิ่มขึ้น เป็นต้น)
แม้จะรู้ ๆ กันอยู่ว่าแต่ละพรรคทำไปเพื่อช่วยเหลือพรรคตัวเอง แต่เขาก็ทำตามหลักเกณฑ์ที่เขียนไว้ พรรคคู่แข่งแม้จะบ่น ๆ แต่ก็ยอมรับกติกาไม่โวยวายอะไร (ต่างกับบ้านเราแฮะ)

ทีนี้ใครจะเป็นคนตีเส้นแบ่ง กฏหมายก็กำหนดให้สภาของแต่ละรัฐเป็นคนตีเส้นกันเอง สภาของรัฐ (State congress) ก็ได้ สมาชิกสภามาจากการเลือกตั้งในรัฐนั้นนั่นแหละ พรรคไหนมีที่นั่งในสภามากกว่า เวลาตีเส้นก็มักจะตีเส้นเข้าข้างตัวเองหน่อย ซึ่งทำกันเป็นประจำ ทีใครทีมัน (เช่น อิลลินอยส์เป็นถิ่นเดโมแครต มีจำนวน สส.ลดลง ก็ตีเส้นแบ่งเขต ให้เขต สส.เก่าของรีพับลิกันมาชนกันเอง หรือเท็กซัส ที่เป็นถิ่นรีพับลิกัน ได้ สส.เพิ่มขึ้น ก็พยายามตีเส้นเขตให้พรรคตัวเองได้ สส.เพิ่มขึ้น เป็นต้น)
แม้จะรู้ ๆ กันอยู่ว่าแต่ละพรรคทำไปเพื่อช่วยเหลือพรรคตัวเอง แต่เขาก็ทำตามหลักเกณฑ์ที่เขียนไว้ พรรคคู่แข่งแม้จะบ่น ๆ แต่ก็ยอมรับกติกาไม่โวยวายอะไร (ต่างกับบ้านเราแฮะ)
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 49
เรื่องสนุกสนานที่สุดในการเลือกตั้งประเทศสหรัฐอเมริกา คือการเลือกตั้งประธานาธิบดีนี่แหละ
ระบบการเลือกประธานาธิบดีที่ดูเหมือนจะเป็นการเลือกโดยตรง แต่แท้จริงแล้วเป็นการเลือกโดยอ้อมผ่านระบบที่เรียกว่า electoral college
Electoral college เป็นคณะบุคคลที่มาประชุมกันแล้วตกลงว่าจะเสนอใครขึ้นเป็นประธานาธิบดีคนต่อไป จำนวนของ electoral college นั้นเท่ากับจำนวน สส.ทั้งหมด (435) + จำนวน สว.ทั้งหมด (100) แล้วบวกที่นั่งของ Washington DC ซึ่งไม่มี สส. หรือ สว. แต่ให้มีผู้แทน electoral college ได้เท่ากับรัฐที่มีน้อยที่สุด (ซึ่งก็คือ 3 คน) รวมทั้งหมด 538 คน - ใครที่สามารถรวบรวมเสียง electoral college ได้อย่างน้อย 270 เสียงก็ถือเป็นผู้ชนะ
รัฐแต่ละรัฐจะมีจำนวน electoral college เท่ากับ สส. + สว. ซึ่งผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งประธานาธิบดี ถ้านิยมชมชอบผู้สมัครประธานาธิบดีคนไหน ซึ่งสังกัดพรรคใด ก็จะไปเลือกคณะ electoral college "ที่เป็นตัวแทนหรือประกาศตัวสนับสนุนผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งจากพรรคนั้น ๆ" สมมติว่า ชอบ McCain ก็จะต้องไปลงคะแนนเลือกคณะ ฯ ที่เป็นตัวแทนของพรรครีพับลิกัน ถ้าชอบ Obama ก็ต้องไปเลือกคณะ ฯ ที่เป็นตัวแทนของเดโมแครต เป็นต้น
ข้อสังเกตคือ การเลือกคณะ electoral college ไม่ได้บอกว่าเขาจะไปประชุมเสนอชื่อตัวแทนพรรคเป็นประธานาธิบดีเสมอไป ในอดีตที่ผ่านมาก็จะมีผู้แทนบางคนแหกคอกเสนอคนอื่นก็มี (สงสัยอยากดัง) แ่ต่มีจำนวนไม่มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงผลอะไรได้
ระบบการเลือก electoral college แตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ แต่ส่วนใหญ่จะใช้ระบบ "Winner takes all" คือถ้าผู้สมัครใดชนะในรัฐนั้นแม้แต่เสียงเดียว (เช่นคนชนะได้ 2,500,000 คนแพ้ได้ 2,499,999 เ้สียง) ก็จะได้ผู้แทน electoral college ไปทั้งหมด มีบางรัฐที่แยกผู้แทนเป็นสองส่วน ส่วนที่เป็น winner takes all และสัดส่วนตามเขต ถ้าจำไม่ผิดก็จะมี Nebraska และ Louisiana ซึ่งเป็นส่วนน้อย
ระบบการเลือกประธานาธิบดีที่ดูเหมือนจะเป็นการเลือกโดยตรง แต่แท้จริงแล้วเป็นการเลือกโดยอ้อมผ่านระบบที่เรียกว่า electoral college
Electoral college เป็นคณะบุคคลที่มาประชุมกันแล้วตกลงว่าจะเสนอใครขึ้นเป็นประธานาธิบดีคนต่อไป จำนวนของ electoral college นั้นเท่ากับจำนวน สส.ทั้งหมด (435) + จำนวน สว.ทั้งหมด (100) แล้วบวกที่นั่งของ Washington DC ซึ่งไม่มี สส. หรือ สว. แต่ให้มีผู้แทน electoral college ได้เท่ากับรัฐที่มีน้อยที่สุด (ซึ่งก็คือ 3 คน) รวมทั้งหมด 538 คน - ใครที่สามารถรวบรวมเสียง electoral college ได้อย่างน้อย 270 เสียงก็ถือเป็นผู้ชนะ
รัฐแต่ละรัฐจะมีจำนวน electoral college เท่ากับ สส. + สว. ซึ่งผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งประธานาธิบดี ถ้านิยมชมชอบผู้สมัครประธานาธิบดีคนไหน ซึ่งสังกัดพรรคใด ก็จะไปเลือกคณะ electoral college "ที่เป็นตัวแทนหรือประกาศตัวสนับสนุนผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งจากพรรคนั้น ๆ" สมมติว่า ชอบ McCain ก็จะต้องไปลงคะแนนเลือกคณะ ฯ ที่เป็นตัวแทนของพรรครีพับลิกัน ถ้าชอบ Obama ก็ต้องไปเลือกคณะ ฯ ที่เป็นตัวแทนของเดโมแครต เป็นต้น
ข้อสังเกตคือ การเลือกคณะ electoral college ไม่ได้บอกว่าเขาจะไปประชุมเสนอชื่อตัวแทนพรรคเป็นประธานาธิบดีเสมอไป ในอดีตที่ผ่านมาก็จะมีผู้แทนบางคนแหกคอกเสนอคนอื่นก็มี (สงสัยอยากดัง) แ่ต่มีจำนวนไม่มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงผลอะไรได้
ระบบการเลือก electoral college แตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ แต่ส่วนใหญ่จะใช้ระบบ "Winner takes all" คือถ้าผู้สมัครใดชนะในรัฐนั้นแม้แต่เสียงเดียว (เช่นคนชนะได้ 2,500,000 คนแพ้ได้ 2,499,999 เ้สียง) ก็จะได้ผู้แทน electoral college ไปทั้งหมด มีบางรัฐที่แยกผู้แทนเป็นสองส่วน ส่วนที่เป็น winner takes all และสัดส่วนตามเขต ถ้าจำไม่ผิดก็จะมี Nebraska และ Louisiana ซึ่งเป็นส่วนน้อย
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 1647
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 50
ระบบการเลือกตั้งแบบนี้ แยก ฝ่ายบริหาร กับ นิติบัญญัติ ชัดเจน ทำให้คานอำนาจกันได้มากกว่า
นี่คือข้อดีที่ผมมองเห็นครับ
และประชาชนให้สิทธิโดยตรงในการเลือกคนบริหารประเทศ อันนี้ผมเห็นด้วยอย่างยิ่งครับ
ส่วนข้อเสียมาช่วยกันเขียนหน่อยครับ
นี่คือข้อดีที่ผมมองเห็นครับ
และประชาชนให้สิทธิโดยตรงในการเลือกคนบริหารประเทศ อันนี้ผมเห็นด้วยอย่างยิ่งครับ
ส่วนข้อเสียมาช่วยกันเขียนหน่อยครับ
. . .
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 51
ผมเห็นว่าระบบมันไม่อะไรสมบูรณ์ 100% หรอกครับ มันจะดีไม่ดีอยู่ที่คนใช้มากกว่า
เราเอาระบบอังกฤษมาใช้ ออสเตรเลียเขาก็ใช้อย่างนี้ บ้านเขาเมืองเขาไม่เห็นมีปัญหาเลย รับรองได้ว่าถ้าเอาระบบอเมริกามาใช้บ้านเรา ก็คงดูไม่จืดเหมือนกัน
แม้ระบบการปกครองของอเมริกาจะแยกอำนาจ 3 ฝ่ายออกจากกันชัดเจน ต่างคนต่างไม่มีสิทธิล้มล้างอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความสัมพันธ์กันไม่น้อย
ประธานาธิบดี ประมุขฝ่ายบริหารได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนโดยไม่ผ่านรัฐสภาก็จริง แต่การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งบริหารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น รัฐมนตรี และหัวหน้าส่วนราชการขนาดใหญ่ ๆ (เช่น ผอ. FBI, CIA) จะต้องได้รับการรับรองจากวุฒิสภาก่อน ดังนั้นถ้า ประธานาธิบดีเลือกเอาคนที่สภาไม่ชอบก็มีหวังไม่ผ่านแน่
ส่วนศาลนั้น ประธานาธิบดีจะมีสิทธิในการเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลของรัฐ (Federal court) ที่รับคดีเกี่ยวกับรัฐหรือคดีส่วนรวม ทั้ง circuit court, court of appeal และ supreme court (เหมือน 3 ศาลของไทย) แต่ผู้ที่ประธานาธิบดีเสนอชื่อจะต้องผ่านการรับรองจากวุฒิสภาเช่นกัน
อายุการทำงานของผู้พิพากษาจะเป็นได้ตลอดชีวิต ยกเว้นลาออกก่อน
การเมืองของเขา เขาสนับสนุนคนฝั่งตัวเองเข้าสู่ตำแหน่งสำคัญ ๆ อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเดโมแครต และรีพับลิกัน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องข้อครหาว่าเล่นพรรคเล่นพวก (เพราะกติกาไม่ได้ห้าม แล้วก็ของอย่างนี้ทีใครทีมัน) เพียงแต่เขามีระบบคานอำนาจกันเอง คือถ้าสภามีพรรคฝั่งตรงข้ามครองเสียงส่วนใหญ่ เขาก็ยอมรับการเสนอชื่อของพรรคคู่แข่งได้ถ้าเห็นว่าไม่สุดโต่งเกินไป
ส่วนสภาที่มีหน้าที่ออกกฎหมาย ถ้าเป็นกฎหมายที่ฝ่ายบริหารไม่เห็นด้วย ประธานาธิบดีมีสิทธิวีโต้ได้ ถ้าเสียงที่ยกมือไม่ถึง 2 ใน 3 ก็ตกไปเลยโดยอัตโนมัติ
ข้อที่ดูเหมือนจะดีเหล่านี้ บางทีกลับกลายเป็นข้อเสียไปได้เหมือนกัน
ถ้าประธานาธิบดี วีโต้กฎหมายที่พรรคคู่แข่งผลักดัน พรรคคู่แข่งในสภาก็สามารถแก้แค้นด้วยการไม่ยอมรับรองคนที่ประธานาธิบดีเสนอชื่อได้ บางทีคนที่ได้รับเสนอชื่อ ถูกสภาดองกันทีหลาย ๆ ปีก็มี
นี่ยังมีระบบการยื้อยุดฉุดกระชากภายในสภา ระหว่างพรรคเสียงข้างมาก กับเสียงข้างน้อยอีกครับ โดยเฉพาะในวุฒิสภา
เราเอาระบบอังกฤษมาใช้ ออสเตรเลียเขาก็ใช้อย่างนี้ บ้านเขาเมืองเขาไม่เห็นมีปัญหาเลย รับรองได้ว่าถ้าเอาระบบอเมริกามาใช้บ้านเรา ก็คงดูไม่จืดเหมือนกัน
แม้ระบบการปกครองของอเมริกาจะแยกอำนาจ 3 ฝ่ายออกจากกันชัดเจน ต่างคนต่างไม่มีสิทธิล้มล้างอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความสัมพันธ์กันไม่น้อย
ประธานาธิบดี ประมุขฝ่ายบริหารได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนโดยไม่ผ่านรัฐสภาก็จริง แต่การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งบริหารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น รัฐมนตรี และหัวหน้าส่วนราชการขนาดใหญ่ ๆ (เช่น ผอ. FBI, CIA) จะต้องได้รับการรับรองจากวุฒิสภาก่อน ดังนั้นถ้า ประธานาธิบดีเลือกเอาคนที่สภาไม่ชอบก็มีหวังไม่ผ่านแน่
ส่วนศาลนั้น ประธานาธิบดีจะมีสิทธิในการเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลของรัฐ (Federal court) ที่รับคดีเกี่ยวกับรัฐหรือคดีส่วนรวม ทั้ง circuit court, court of appeal และ supreme court (เหมือน 3 ศาลของไทย) แต่ผู้ที่ประธานาธิบดีเสนอชื่อจะต้องผ่านการรับรองจากวุฒิสภาเช่นกัน
อายุการทำงานของผู้พิพากษาจะเป็นได้ตลอดชีวิต ยกเว้นลาออกก่อน
การเมืองของเขา เขาสนับสนุนคนฝั่งตัวเองเข้าสู่ตำแหน่งสำคัญ ๆ อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเดโมแครต และรีพับลิกัน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องข้อครหาว่าเล่นพรรคเล่นพวก (เพราะกติกาไม่ได้ห้าม แล้วก็ของอย่างนี้ทีใครทีมัน) เพียงแต่เขามีระบบคานอำนาจกันเอง คือถ้าสภามีพรรคฝั่งตรงข้ามครองเสียงส่วนใหญ่ เขาก็ยอมรับการเสนอชื่อของพรรคคู่แข่งได้ถ้าเห็นว่าไม่สุดโต่งเกินไป
ส่วนสภาที่มีหน้าที่ออกกฎหมาย ถ้าเป็นกฎหมายที่ฝ่ายบริหารไม่เห็นด้วย ประธานาธิบดีมีสิทธิวีโต้ได้ ถ้าเสียงที่ยกมือไม่ถึง 2 ใน 3 ก็ตกไปเลยโดยอัตโนมัติ
ข้อที่ดูเหมือนจะดีเหล่านี้ บางทีกลับกลายเป็นข้อเสียไปได้เหมือนกัน
ถ้าประธานาธิบดี วีโต้กฎหมายที่พรรคคู่แข่งผลักดัน พรรคคู่แข่งในสภาก็สามารถแก้แค้นด้วยการไม่ยอมรับรองคนที่ประธานาธิบดีเสนอชื่อได้ บางทีคนที่ได้รับเสนอชื่อ ถูกสภาดองกันทีหลาย ๆ ปีก็มี
นี่ยังมีระบบการยื้อยุดฉุดกระชากภายในสภา ระหว่างพรรคเสียงข้างมาก กับเสียงข้างน้อยอีกครับ โดยเฉพาะในวุฒิสภา
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
- tok
- Verified User
- โพสต์: 833
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 53
เหลือเวลาอีกไม่ถึงสองเดือน จะถืงวันเลือกตั้งแล้ว มาดูผลโพลล์ล่าสุด
เมื่ออาทิตย์ก่อน นักวิเคราะห์ บอกว่าการเลื่อกตั้งครั้งนี้คะแนนจะสูสีมากจะตัดสินกันที่่ รัฐไม่กี่รัฐที่เป็น swing state ดูจากโพลล์เมืออาทิตย์ก่อนทั้งโอบามากับแมกเคน มีคะแนนเท่ากันที่ 46%
แต่โพลล์ล่าสุด คะแนนโอบามากลับมานำ ที่ 47% ต่อ 44% หลังจากข่าวการล้มของแบงค์ เมื่ออาทิตย์ก่อน ทำให้คนอเมริกันโกรธพรรครีพลับริกัน และความมั่นใจเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจของริพลับริกันลดลง
http://www.cnn.com/ELECTION/2008/
เมื่ออาทิตย์ก่อน นักวิเคราะห์ บอกว่าการเลื่อกตั้งครั้งนี้คะแนนจะสูสีมากจะตัดสินกันที่่ รัฐไม่กี่รัฐที่เป็น swing state ดูจากโพลล์เมืออาทิตย์ก่อนทั้งโอบามากับแมกเคน มีคะแนนเท่ากันที่ 46%
แต่โพลล์ล่าสุด คะแนนโอบามากลับมานำ ที่ 47% ต่อ 44% หลังจากข่าวการล้มของแบงค์ เมื่ออาทิตย์ก่อน ทำให้คนอเมริกันโกรธพรรครีพลับริกัน และความมั่นใจเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจของริพลับริกันลดลง
http://www.cnn.com/ELECTION/2008/
-
- Verified User
- โพสต์: 274
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 54
เลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ... ภาษาชาวบ้าน ครับ
http://nano-lib.micro-mba.org/2008/09/blog-post_22.html
http://nano-lib.micro-mba.org/2008/09/blog-post_22.html
ห้องสมุดจิ๋ว http://nano-lib.micro-mba.org
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 55
สำหรับการเลือกประธานาธิบดีอเมริกานั้น National poll ไม่ค่อยมีผลอะไร (นอกจากเอาไว้เขียนข่าว) นอกจากผลมันจะออกมาห่างกันชัดเจน (ชนิด 10% หรือมากกว่า)
เพราะจากรัฐทั้งหมด 50 รัฐ จะมีรัฐที่ต้องสู้กันที่เรียกว่า battleground state ไม่กี่รัฐ (ประมาณ 10 กว่ารัฐ) เท่านั้น รัฐที่เหลือมักจะเป็น democrat หรือ repulican stronghold อยู่แล้ว คือไม่ว่าจะส่งใคร (หรือควาย) มาสมัคร ฉันก็จะเลือกพรรคนี้แน่ ๆ
รัฐที่เป็น battleground ก็จะมีผู้สมัครไปลงหาเสียงบ่อย มีโฆษณาออกทีวีถี่ยิบ และมีคนออกไปเคาะประตูบ้านเป็นว่าเล่น
แม้ว่า CNN poll of polls จะให้ Obama กลับมานำเล็กน้อย แต่ถ้าไปดู electoral map ปรากฏว่า McCain น่าจะได้จำนวน electoral vote เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองค่ายก็มี electoral vote อยู่ในกระเป๋าแค่คนละ 200 ต้น ๆ ยังมีให้ชิงกันอยู่ประมาณ 100 กว่า ๆ ใครได้ถึง 270 ก่อนก็ชนะครับ
ใครเชียร์ Obama ระวังไว้ครับ ผมกลัวจะเป็นแบบ 4 ปีก่อนจัง เพราะ GOP มีความสามารถเหนือกว่า democrat มากในเรื่อง political base movement และ voter turnout ขนาด exit poll 4 ปีก่อนทำนายไว้ว่า Kerry ชนะถล่มทลาย แค่ไม่กี่ชั่วโมงต่อมาปรากฏว่าทุก poll หน้าแหกหมอไม่รับเย็บกันซักราย :8)
เพราะจากรัฐทั้งหมด 50 รัฐ จะมีรัฐที่ต้องสู้กันที่เรียกว่า battleground state ไม่กี่รัฐ (ประมาณ 10 กว่ารัฐ) เท่านั้น รัฐที่เหลือมักจะเป็น democrat หรือ repulican stronghold อยู่แล้ว คือไม่ว่าจะส่งใคร (หรือควาย) มาสมัคร ฉันก็จะเลือกพรรคนี้แน่ ๆ
รัฐที่เป็น battleground ก็จะมีผู้สมัครไปลงหาเสียงบ่อย มีโฆษณาออกทีวีถี่ยิบ และมีคนออกไปเคาะประตูบ้านเป็นว่าเล่น
แม้ว่า CNN poll of polls จะให้ Obama กลับมานำเล็กน้อย แต่ถ้าไปดู electoral map ปรากฏว่า McCain น่าจะได้จำนวน electoral vote เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองค่ายก็มี electoral vote อยู่ในกระเป๋าแค่คนละ 200 ต้น ๆ ยังมีให้ชิงกันอยู่ประมาณ 100 กว่า ๆ ใครได้ถึง 270 ก่อนก็ชนะครับ
ใครเชียร์ Obama ระวังไว้ครับ ผมกลัวจะเป็นแบบ 4 ปีก่อนจัง เพราะ GOP มีความสามารถเหนือกว่า democrat มากในเรื่อง political base movement และ voter turnout ขนาด exit poll 4 ปีก่อนทำนายไว้ว่า Kerry ชนะถล่มทลาย แค่ไม่กี่ชั่วโมงต่อมาปรากฏว่าทุก poll หน้าแหกหมอไม่รับเย็บกันซักราย :8)
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 56
ภาพนี้เป็นภาพการต่อสู้ใน battleground states ระหว่าง Bush กับ Kerry เมื่อ 4 ปีก่อน ภาพซ้ายเป็นจำนวนครั้งที่ผู้สมัครไปหาเสียงในรัฐนั้น ภาพขวาเป็นจำนวนเงินที่ใช้หาเสียงในรัฐนั้น
ยิ่งรัฐนั้นใหญ่ (electoral vote เยอะ) และผล poll ในรัฐนั้นสูสีเท่าไหร่ จะยิ่งเห็นชัดว่าแข่งกันมาก

ภาพนี้เป็นผลการเลือกตั้งจริง ว่ารัฐนั้นใครชนะ สีแดงคือ GOP สีน้ำเงินคือ Democrat

ยิ่งรัฐนั้นใหญ่ (electoral vote เยอะ) และผล poll ในรัฐนั้นสูสีเท่าไหร่ จะยิ่งเห็นชัดว่าแข่งกันมาก

ภาพนี้เป็นผลการเลือกตั้งจริง ว่ารัฐนั้นใครชนะ สีแดงคือ GOP สีน้ำเงินคือ Democrat

ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 57
ก่อนจะเลือกตั้งกัน อาจารย์มีวิเคราะห์วิจารณ์อัพเดตอะไรให้ฟังบ้างมั้ยครับ อย่างรู้จัง :o
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 58
น้องริวมาถามอย่างนี้ต้องมารีบตอบเลยครับ หวังว่าคงไม่ล่าช้าเกินไปเพราะว่าผมไปตจว.ซะหลายวัน
ถ้าเอา ณ จุดนี้ McCain เหนื่อยมากครับ ดูท่าปาฏิหารย์เท่านั้นมั๊งที่จะทำให้ Obama หลุดจากตำแหน่งว่าที่ประธานาธิบดีอเมริกาผิวดำคนแรกในประวัติศาสตร์
จุดพลิกผันของเรื่องนี้มีอย่างเดียวเลยคือ "เศรษฐกิจ" ข่าวเรื่องหุ้นตก สถาบันการเงินล้ม เรื่องกฎหมายเจ็ดแสนล้าน ฯลฯ ดันปะทุขึ้นมาช่วงนี้พร้อม ๆ กันหมด ถ้ามันช้าไปซักสองเดือนเผลอ ๆ อาจจะกลายเป็นอีกอย่าง เพราะก่อนหน้าจะมีข่าวพวกนี้ Poll of polls ยังให้ McCain นำอยู่ 2 จุด
ข้อมูลในอดีต ถ้าวิกฤตเศรษฐกิจไม่ว่าเล็กใหญ่เกิดขึ้นในสมัยพรรคไหนครองอำนาจ พรรคนั้นแพ้แน่นอน (แต่เศรษฐกิจบูม ไม่ได้รับประกันการได้รับเลือกต่อ) ล่าสุดก็คงเป็นสมัย Jimmy Carter ที่แพ้ Ronald Reagan ถล่มทลาย เหตุผลไม่ใช่เพราะว่าคู่แข่งอย่าง Reagan หรือ Obama เขาเก่งกว่า แต่เพราะคนเขาไม่อยากได้คนเดิม ทีมเดิม พรรคเดิมที่ทำเจ๊ง เท่านั้นเอง...
ยิ่งตอนนี้คะแนนนิยมเหมือนตลาดหมี ข่าวอะไรนิด ๆ หน่อย ๆ ก็จับมาเล่นแย่ ๆ ได้หมด อย่าง Saturday Night Live ที่ถือเป็นประเพณีต้องแสดงล้อเลียนการเมืองประจำทุก 4 ปี Sarah Palin ก็โดน Tinay Fey จับมาเล่นได้สมบทบาทมาก
ตอนนี้ McCain จะทำยังไงให้พลิกกลับมาชนะได้ ความเห็นผมคงเหลือแค่ 2 อย่าง
1. กระตุ้นกลุ่มรากหญ้าของตัวเองให้ออกมาใช้สิทธิ์ให้มากที่สุด วิธีนี้เป็นกลยุทธ์ของ Karl Rove ซึ่งถือว่าเป็นนักกลยุทธ์เลือกตั้งที่น่าจะเก่งกาจที่สุดในประวัติศาสตร์คนหนึ่ง
Karl Rove ถือว่าการจะทำให้คนเปลี่ยนใจหันมาเลือกอีกข้างในเวลาสั้น ๆ ทำได้ยากมาก ยกเว้นจะมีเหตุการณ์พิเศษจริง ๆ (เช่น 9/11 ทำให้ approval rating ของ GWB สูงสุดในประวัติศาสตร์ประธานาธิบดีอเมริกา) ดังนั้นวิธีเอาชนะได้มีอย่างเดียวคือ กระตุ้นให้คนที่สนับสนุนพรรคออกมาใช้สิทธิ์ให้มากที่สุด โดยเฉพาะใน battleground states เพราะกฏเกณฑ์เป็น winner-takes-all ดังนั้นเขาสนที่ผลอย่างเดียว ไม่สน margin of victory
ชัยชนะของ GWB ทั้ง 2 ครั้งที่ผ่านมาพิสูจน์ให้เห็นว่า Karl Rove เก่งกาจขนาดไหน ขนาดครั้งที่ 2 ใคร ๆ ก็คิดว่า Kerry นอนมาเพราะว่า GWB เน่าเรื่องอิรักกับอาฟกานิสถาน ยังอึ้งกับผลการเลือกตั้ง เพราะ Karl Rove เล่นไปหาเสียงในโบสถ์ เน้นเรื่อง Gay marriage กระตุ้นให้คนมาเลือก GWB ชนิดคน democrats คาดไม่ถึงเลย
ฐานของ GOP ที่ McCain จะต้อง mobilize ออกมาให้ได้คือ คนแก่ เพราะคนแก่มี voter turnout สูงที่สุด (คนหนุ่มสาวมักสนับสนุนไปยังงั้นเอง ถึงวันเลือกตั้งจริง ๆ กลับไม่ไปเลือก) แถมยังเป็นกลุ่มเดียวที่ McCain ยังนำ Obama อยู่ชัดเจน
2. ภาวนาให้เกิดเหตุการณ์พิเศษที่พลิกสถานการณ์ได้ อันนี้ส่วนตัวไม่อยากได้จริง ๆ แต่ถ้ามี เช่น เกิดอะไรซักอย่างที่ favor GOP อย่างสงคราม, การก่อการร้าย, ความมั่นคง อันนี้ McCain จะกลับมาได้
ถ้าเอา ณ จุดนี้ McCain เหนื่อยมากครับ ดูท่าปาฏิหารย์เท่านั้นมั๊งที่จะทำให้ Obama หลุดจากตำแหน่งว่าที่ประธานาธิบดีอเมริกาผิวดำคนแรกในประวัติศาสตร์
จุดพลิกผันของเรื่องนี้มีอย่างเดียวเลยคือ "เศรษฐกิจ" ข่าวเรื่องหุ้นตก สถาบันการเงินล้ม เรื่องกฎหมายเจ็ดแสนล้าน ฯลฯ ดันปะทุขึ้นมาช่วงนี้พร้อม ๆ กันหมด ถ้ามันช้าไปซักสองเดือนเผลอ ๆ อาจจะกลายเป็นอีกอย่าง เพราะก่อนหน้าจะมีข่าวพวกนี้ Poll of polls ยังให้ McCain นำอยู่ 2 จุด
ข้อมูลในอดีต ถ้าวิกฤตเศรษฐกิจไม่ว่าเล็กใหญ่เกิดขึ้นในสมัยพรรคไหนครองอำนาจ พรรคนั้นแพ้แน่นอน (แต่เศรษฐกิจบูม ไม่ได้รับประกันการได้รับเลือกต่อ) ล่าสุดก็คงเป็นสมัย Jimmy Carter ที่แพ้ Ronald Reagan ถล่มทลาย เหตุผลไม่ใช่เพราะว่าคู่แข่งอย่าง Reagan หรือ Obama เขาเก่งกว่า แต่เพราะคนเขาไม่อยากได้คนเดิม ทีมเดิม พรรคเดิมที่ทำเจ๊ง เท่านั้นเอง...
ยิ่งตอนนี้คะแนนนิยมเหมือนตลาดหมี ข่าวอะไรนิด ๆ หน่อย ๆ ก็จับมาเล่นแย่ ๆ ได้หมด อย่าง Saturday Night Live ที่ถือเป็นประเพณีต้องแสดงล้อเลียนการเมืองประจำทุก 4 ปี Sarah Palin ก็โดน Tinay Fey จับมาเล่นได้สมบทบาทมาก
ตอนนี้ McCain จะทำยังไงให้พลิกกลับมาชนะได้ ความเห็นผมคงเหลือแค่ 2 อย่าง
1. กระตุ้นกลุ่มรากหญ้าของตัวเองให้ออกมาใช้สิทธิ์ให้มากที่สุด วิธีนี้เป็นกลยุทธ์ของ Karl Rove ซึ่งถือว่าเป็นนักกลยุทธ์เลือกตั้งที่น่าจะเก่งกาจที่สุดในประวัติศาสตร์คนหนึ่ง
Karl Rove ถือว่าการจะทำให้คนเปลี่ยนใจหันมาเลือกอีกข้างในเวลาสั้น ๆ ทำได้ยากมาก ยกเว้นจะมีเหตุการณ์พิเศษจริง ๆ (เช่น 9/11 ทำให้ approval rating ของ GWB สูงสุดในประวัติศาสตร์ประธานาธิบดีอเมริกา) ดังนั้นวิธีเอาชนะได้มีอย่างเดียวคือ กระตุ้นให้คนที่สนับสนุนพรรคออกมาใช้สิทธิ์ให้มากที่สุด โดยเฉพาะใน battleground states เพราะกฏเกณฑ์เป็น winner-takes-all ดังนั้นเขาสนที่ผลอย่างเดียว ไม่สน margin of victory
ชัยชนะของ GWB ทั้ง 2 ครั้งที่ผ่านมาพิสูจน์ให้เห็นว่า Karl Rove เก่งกาจขนาดไหน ขนาดครั้งที่ 2 ใคร ๆ ก็คิดว่า Kerry นอนมาเพราะว่า GWB เน่าเรื่องอิรักกับอาฟกานิสถาน ยังอึ้งกับผลการเลือกตั้ง เพราะ Karl Rove เล่นไปหาเสียงในโบสถ์ เน้นเรื่อง Gay marriage กระตุ้นให้คนมาเลือก GWB ชนิดคน democrats คาดไม่ถึงเลย
ฐานของ GOP ที่ McCain จะต้อง mobilize ออกมาให้ได้คือ คนแก่ เพราะคนแก่มี voter turnout สูงที่สุด (คนหนุ่มสาวมักสนับสนุนไปยังงั้นเอง ถึงวันเลือกตั้งจริง ๆ กลับไม่ไปเลือก) แถมยังเป็นกลุ่มเดียวที่ McCain ยังนำ Obama อยู่ชัดเจน
2. ภาวนาให้เกิดเหตุการณ์พิเศษที่พลิกสถานการณ์ได้ อันนี้ส่วนตัวไม่อยากได้จริง ๆ แต่ถ้ามี เช่น เกิดอะไรซักอย่างที่ favor GOP อย่างสงคราม, การก่อการร้าย, ความมั่นคง อันนี้ McCain จะกลับมาได้
ไม่สน return rate เยอะ, ขอแค่ financial freedom ภายใน 14 ปีก็พอ..
------------------------
------------------------
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
ชมรมศิษยืเก่านักเรียนอเมริกา
โพสต์ที่ 59
ขอบคุณอาจารย์มากเลยครับ :o นึกว่าอาจารย์วุ่นวายที่โรงพยาบาลเพราะมีคนเจ็บเยอะ (
)
ผมเชียร์ Obama อยู่ อยากเห็นว่าอะไรจะ change บ้าง :lol:

ผมเชียร์ Obama อยู่ อยากเห็นว่าอะไรจะ change บ้าง :lol:
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร