บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 121
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 21 ตุลาคม 2554 09:13:19 น.
รัฐสภากรีซลงมติด้วยคะแนนเสียง 154 ต่อ 144 ให้การรับรองมาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่ เพื่อแลกกับเงินกู้เบิกจ่ายจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) และสหภาพยุโรป (อียู) ซึ่งจะช่วยให้กรีซสามารถหลีกเลี่ยงการผิดนัดชำระหนี้ โดยการลงมติรับรองมาตรการดังกล่าวมีขึ้นแม้ประชาชนออกมาประท้วงอย่างรุนแรงในกรุงเอเธนส์ จนเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 1 คน
มาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่ครอบคลุมถึงการลดการใช้จ่าย การลดค่าแรง การขึ้นภาษี ปลดข้าราชการพลเรือนหลายพันคน และปรับเปลี่ยนสิทธิในการต่อรองด้านแรงงานในบางกรณี
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า การลงมติรับรองมาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่มีขึ้นท่ามกลางการประท้วงรุนแรงบริเวณด้านหน้าอาคารรัฐสภา จนนำไปสู่การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุมประท้วง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 คน และบาดเจ็บอีกอย่างน้อย 74 คน
รัฐสภากรีซลงมติด้วยคะแนนเสียง 154 ต่อ 144 ให้การรับรองมาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่ เพื่อแลกกับเงินกู้เบิกจ่ายจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) และสหภาพยุโรป (อียู) ซึ่งจะช่วยให้กรีซสามารถหลีกเลี่ยงการผิดนัดชำระหนี้ โดยการลงมติรับรองมาตรการดังกล่าวมีขึ้นแม้ประชาชนออกมาประท้วงอย่างรุนแรงในกรุงเอเธนส์ จนเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 1 คน
มาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่ครอบคลุมถึงการลดการใช้จ่าย การลดค่าแรง การขึ้นภาษี ปลดข้าราชการพลเรือนหลายพันคน และปรับเปลี่ยนสิทธิในการต่อรองด้านแรงงานในบางกรณี
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า การลงมติรับรองมาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่มีขึ้นท่ามกลางการประท้วงรุนแรงบริเวณด้านหน้าอาคารรัฐสภา จนนำไปสู่การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุมประท้วง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 คน และบาดเจ็บอีกอย่างน้อย 74 คน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 122
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 21 ตุลาคม 2554 15:43:21 น.
สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ (S&P) เผยฝรั่งเศสมีแนวโน้มว่าจะถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือ ขณะที่สเปน อิตาลี ไอร์แลนด์ และโปรตุเกส ก็น่าจะถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือลง 1 หรือ 2 ขั้น หากเศรษฐกิจขยายตัวในระดับต่ำและเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยซ้ำ
นักวิเคราะห์จาก S&P กล่าวว่า ยอดขาดดุลงบประมาณและต้นทุนการเพิ่มทุนของธนาคารจำนวนมหาศาล มีแนวโน้มว่าจะทำให้รัฐบาลต้องกู้ยืมเงินเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งจะส่งผลให้ความน่าเชื่อถือของประเทศร่วงลงอย่างหนัก
S&P ระบุว่า การลงทุนภาคอุตสาหกรรมและความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดลงอาจทำให้เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอยซ้ำ ซึ่งอาจส่งผลให้อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง (Tier-1 ratio) ของธนาคาร 20 แห่ง
ทั้งนี้ อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เป็นตัวชี้วัดความแข็งแกร่งทางการเงิน
สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ (S&P) เผยฝรั่งเศสมีแนวโน้มว่าจะถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือ ขณะที่สเปน อิตาลี ไอร์แลนด์ และโปรตุเกส ก็น่าจะถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือลง 1 หรือ 2 ขั้น หากเศรษฐกิจขยายตัวในระดับต่ำและเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยซ้ำ
นักวิเคราะห์จาก S&P กล่าวว่า ยอดขาดดุลงบประมาณและต้นทุนการเพิ่มทุนของธนาคารจำนวนมหาศาล มีแนวโน้มว่าจะทำให้รัฐบาลต้องกู้ยืมเงินเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งจะส่งผลให้ความน่าเชื่อถือของประเทศร่วงลงอย่างหนัก
S&P ระบุว่า การลงทุนภาคอุตสาหกรรมและความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ลดลงอาจทำให้เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอยซ้ำ ซึ่งอาจส่งผลให้อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง (Tier-1 ratio) ของธนาคาร 20 แห่ง
ทั้งนี้ อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เป็นตัวชี้วัดความแข็งแกร่งทางการเงิน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 123
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 21 ตุลาคม 2554 16:54:56 น.
ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจของเยอรมนีร่วงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 16 เดือนในเดือนตุลาคม เนื่องจากวิกฤตหนี้ยุโรปย่ำแย่ลงทำให้มีความเสี่ยงสูงที่เศรษฐกิจจะเข้าสู่ภาวะถดถอย
สถาบัน Ifo เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจซึ่งได้จากการสำรวจผู้บริหาร 7,000 ราย ร่วงลงสู่ระดับ 106.4 จุดในเดือนตุลาคม จากระดับ 107.4 จุดในเดือนกันยายน โดยตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2553
ขณะเดียวกันดัชนีสภาพการณ์ปัจจุบันลดลงสู่ระดับ 116.7 จุด จาก 117.9 จุด ส่วนดัชนีความคาดหวังของผู้บริหารขยับลงแตะ 97 จุด จาก 97.9 จุด
โดยก่อนหน้านี้ เพิ่งมีการเปิดเผยดัชนีความเชื่อมั่นนักลงทุนเยอรมนีซึ่งร่วงลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 3 ปีในเดือนตุลาคม ขณะที่ดัชนี DAX ของเยอรมนีร่วงลง 21% ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจของเยอรมนีร่วงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 16 เดือนในเดือนตุลาคม เนื่องจากวิกฤตหนี้ยุโรปย่ำแย่ลงทำให้มีความเสี่ยงสูงที่เศรษฐกิจจะเข้าสู่ภาวะถดถอย
สถาบัน Ifo เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจซึ่งได้จากการสำรวจผู้บริหาร 7,000 ราย ร่วงลงสู่ระดับ 106.4 จุดในเดือนตุลาคม จากระดับ 107.4 จุดในเดือนกันยายน โดยตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2553
ขณะเดียวกันดัชนีสภาพการณ์ปัจจุบันลดลงสู่ระดับ 116.7 จุด จาก 117.9 จุด ส่วนดัชนีความคาดหวังของผู้บริหารขยับลงแตะ 97 จุด จาก 97.9 จุด
โดยก่อนหน้านี้ เพิ่งมีการเปิดเผยดัชนีความเชื่อมั่นนักลงทุนเยอรมนีซึ่งร่วงลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 3 ปีในเดือนตุลาคม ขณะที่ดัชนี DAX ของเยอรมนีร่วงลง 21% ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
-
- Verified User
- โพสต์: 144
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 124
ผมว่าครั้งนี้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจไม่เลวร้ายเท่าเลห์แมน เพราะตอนนั้น เป็นเศรษฐกิจฟองสบู่ ขนาดหนี้ที่ต้องตัดสูญก็เยอะกว่า แต่ครั้งนี้ ปัญหา คือ EU เป็นการรวมกันของหลายประเทศ การแก้ปัญหาแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แบบที่ US เคยทำ ไม่เกิดขึ้น และยิ่งลากปัญหาไปนาน ผลเสียยิ่งขยายวง เพราะ วิกฤติหนี้ สิ่งสำคัญที่สุด คือ ความเชื่อมั่น ยิ่งคนไม่เชื่อมั่น วิกฤติยิ่งรุนแรง ถ้าสร้างความเชื่อมั่นได้ วิกฤติกก็เบาบางลง หรือ อย่างน้อยก็ยื้อต่อไปได้ เหมือนกับที่ผ่านๆมา
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 125
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม 2554 09:19:23 น.
ในวันเสาร์ที่ผ่านมา บรรดารัฐมนตรีคลังสหภาพยุโรป (อียู) เห็นพ้องต้องกันว่า ต้องใช้เงินสูงสุด 1 แสนล้านยูโรในการเพิ่มทุนให้กับธนาคารยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตหนี้กรีซ และคาดว่าจะบรรลุข้อตกลงอย่างเป็นทางการในเรื่องดังกล่าวในการประชุมสุดยอดผู้นำอียูวันอาทิตย์นี้
อย่างไรก็ตาม จำนวนเงินดังกล่าวน้อยกว่าจำนวนเงินที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) เรียกร้องแบบครึ่งต่อครึ่ง
ทั้งนี้ อียูกำลังพยายามช่วยธนาคารรายใหญ่ในยูโรโซนในการเพิ่มอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเป็น 9% หรือสูงกว่านั้นภายใน 6-9 เดือน สำนักข่าวเกียวโดรายงาน
ในวันเสาร์ที่ผ่านมา บรรดารัฐมนตรีคลังสหภาพยุโรป (อียู) เห็นพ้องต้องกันว่า ต้องใช้เงินสูงสุด 1 แสนล้านยูโรในการเพิ่มทุนให้กับธนาคารยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตหนี้กรีซ และคาดว่าจะบรรลุข้อตกลงอย่างเป็นทางการในเรื่องดังกล่าวในการประชุมสุดยอดผู้นำอียูวันอาทิตย์นี้
อย่างไรก็ตาม จำนวนเงินดังกล่าวน้อยกว่าจำนวนเงินที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) เรียกร้องแบบครึ่งต่อครึ่ง
ทั้งนี้ อียูกำลังพยายามช่วยธนาคารรายใหญ่ในยูโรโซนในการเพิ่มอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเป็น 9% หรือสูงกว่านั้นภายใน 6-9 เดือน สำนักข่าวเกียวโดรายงาน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 126
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- จันทร์ที่ 24 ตุลาคม 2554 09:40:21 น.
ผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) แสดงความเชื่อมั่นเมื่อวานนี้ว่า จะสามารถมีการบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับแผนแบบเบ็ดเสร็จเพื่อรับมือกับวิกฤตหนี้ภายในวันพุธ ขณะที่การประชุมสุดยอดสภายุโรปเน้นย้ำถึงความสำคัญของการเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
นายเฮอร์แมน ฟาน รอมปุย ประธานสภายุโรปปฏิเสธความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันระหว่างฝรั่งเศส-เยอรมนี โดยกล่าวว่า "ผมเห็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสและนายกรัฐมนตรีเยอรมนีมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกัน และร่วมมือกับสมาชิกอื่นๆของยูโรโซน เพื่อแก้วิกฤตหนี้"
นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคลของเยอรมนีกล่าวว่า "เรากำลังเตรียมการประชุมในวันพุธ ยังไม่มีการตัดสินใจในขณะนี้ จะมีการตัดสินใจในวันพุธ"
ในขณะเดียวกัน นางแมร์เคลเปรยว่า จำเป็นต้องมีการดำเนินมาตรการมากขึ้น หลังการประชุมในวันพุธ
"การประชุมวันพุธจะไม่ใช่ขั้นตอนสุดท้าย มีอีกหลายขั้นตอนที่เราจำเป็นต้องดำเนินการ การเพิ่มทุนธนาคารเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่สิ่งที่สมเหตุสมผล หากไม่มีแผนที่เหมาะสมสำหรับกรีซ" นางแมร์เคลกล่าว
ขณะที่ยังไม่มีผลที่สำคัญในการแก้วิกฤตหนี้ในขณะนี้ แต่กลุ่มประเทศอียูได้บรรลุข้อตกลงในการเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว
ข้อสรุปส่วนใหญ่ที่มีการเปิดเผยหลังการประชุมสุดยอดผู้นำอียูมุ่งไปที่มาตรการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งได้รวมถึงการใช้ประโยชน์จากตลาดเดียว, การลดภาระในการบริหารจัดการ และการลดภาระด้านกฎระเบียบโดยรวม และประเด็นอื่นๆ
ผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) แสดงความเชื่อมั่นเมื่อวานนี้ว่า จะสามารถมีการบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับแผนแบบเบ็ดเสร็จเพื่อรับมือกับวิกฤตหนี้ภายในวันพุธ ขณะที่การประชุมสุดยอดสภายุโรปเน้นย้ำถึงความสำคัญของการเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
นายเฮอร์แมน ฟาน รอมปุย ประธานสภายุโรปปฏิเสธความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันระหว่างฝรั่งเศส-เยอรมนี โดยกล่าวว่า "ผมเห็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสและนายกรัฐมนตรีเยอรมนีมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกัน และร่วมมือกับสมาชิกอื่นๆของยูโรโซน เพื่อแก้วิกฤตหนี้"
นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคลของเยอรมนีกล่าวว่า "เรากำลังเตรียมการประชุมในวันพุธ ยังไม่มีการตัดสินใจในขณะนี้ จะมีการตัดสินใจในวันพุธ"
ในขณะเดียวกัน นางแมร์เคลเปรยว่า จำเป็นต้องมีการดำเนินมาตรการมากขึ้น หลังการประชุมในวันพุธ
"การประชุมวันพุธจะไม่ใช่ขั้นตอนสุดท้าย มีอีกหลายขั้นตอนที่เราจำเป็นต้องดำเนินการ การเพิ่มทุนธนาคารเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่สิ่งที่สมเหตุสมผล หากไม่มีแผนที่เหมาะสมสำหรับกรีซ" นางแมร์เคลกล่าว
ขณะที่ยังไม่มีผลที่สำคัญในการแก้วิกฤตหนี้ในขณะนี้ แต่กลุ่มประเทศอียูได้บรรลุข้อตกลงในการเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว
ข้อสรุปส่วนใหญ่ที่มีการเปิดเผยหลังการประชุมสุดยอดผู้นำอียูมุ่งไปที่มาตรการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งได้รวมถึงการใช้ประโยชน์จากตลาดเดียว, การลดภาระในการบริหารจัดการ และการลดภาระด้านกฎระเบียบโดยรวม และประเด็นอื่นๆ
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 127
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อังคารที่ 25 ตุลาคม 2554 09:18:13 น.
สำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรป หรือยูโรสแตท เปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อใหม่ในภาคอุตสาหกรรมของเขตยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.9% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้านั้น
รายงานของยูโรสแตทระบุว่า หากไม่นับรวมหมวดอุปกรณ์เรือบรรทุกสินค้า รถไฟ และ อากาศยาน ซึ่งมีแนวโน้มผันผวนสูง ยอดสั่งซื้อใหม่ในเขตยูโรโซนจะเพิ่มขึ้น 0.7% ในเดือนสิงหาคม
หากเปรียบเทียบเป็นรายเดือน ยอดสั่งซื้อใหม่สำหรับสินค้าทุนจะเพิ่มขึ้นอย่างมากที่ 2.7% ในเดือนสิงหาคม ส่วนยอดสั่งซื้อสินค้าไม่คงทนเพิ่มขึ้น 1.2% ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนลดลง 0.8% และยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนในระดับปานกลางเพิ่มขึ้น 1.1%
ในการเปรียบเทียบเป็นรายปี ยอดสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.2% ในเดือนสิงหาคม
สำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอียูทั้ง 27 ประเทศ ยอดคำสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.4% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อน และเพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
ในบรรดาประเทศสมาชิกทั้งหมดที่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ ยอดการผลิตและสั่งซื้อเพิ่มขึ้นใน 15 ประเทศ และลดลงใน 7 ประเทศ เมื่อเทียบเป็นรายเดือน โดยประเทศที่มียอดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดได้แก่ สโลวัค ที่ 12.6% และยอดการผลิตและสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ก ที่ 8.0% สำนักข่าวซินหัวรายงาน
สำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรป หรือยูโรสแตท เปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อใหม่ในภาคอุตสาหกรรมของเขตยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.9% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้านั้น
รายงานของยูโรสแตทระบุว่า หากไม่นับรวมหมวดอุปกรณ์เรือบรรทุกสินค้า รถไฟ และ อากาศยาน ซึ่งมีแนวโน้มผันผวนสูง ยอดสั่งซื้อใหม่ในเขตยูโรโซนจะเพิ่มขึ้น 0.7% ในเดือนสิงหาคม
หากเปรียบเทียบเป็นรายเดือน ยอดสั่งซื้อใหม่สำหรับสินค้าทุนจะเพิ่มขึ้นอย่างมากที่ 2.7% ในเดือนสิงหาคม ส่วนยอดสั่งซื้อสินค้าไม่คงทนเพิ่มขึ้น 1.2% ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนลดลง 0.8% และยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนในระดับปานกลางเพิ่มขึ้น 1.1%
ในการเปรียบเทียบเป็นรายปี ยอดสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.2% ในเดือนสิงหาคม
สำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอียูทั้ง 27 ประเทศ ยอดคำสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.4% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อน และเพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
ในบรรดาประเทศสมาชิกทั้งหมดที่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ ยอดการผลิตและสั่งซื้อเพิ่มขึ้นใน 15 ประเทศ และลดลงใน 7 ประเทศ เมื่อเทียบเป็นรายเดือน โดยประเทศที่มียอดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดได้แก่ สโลวัค ที่ 12.6% และยอดการผลิตและสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ก ที่ 8.0% สำนักข่าวซินหัวรายงาน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 128
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อังคารที่ 25 ตุลาคม 2554 09:18:13 น.
สำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรป หรือยูโรสแตท เปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อใหม่ในภาคอุตสาหกรรมของเขตยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.9% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้านั้น
รายงานของยูโรสแตทระบุว่า หากไม่นับรวมหมวดอุปกรณ์เรือบรรทุกสินค้า รถไฟ และ อากาศยาน ซึ่งมีแนวโน้มผันผวนสูง ยอดสั่งซื้อใหม่ในเขตยูโรโซนจะเพิ่มขึ้น 0.7% ในเดือนสิงหาคม
หากเปรียบเทียบเป็นรายเดือน ยอดสั่งซื้อใหม่สำหรับสินค้าทุนจะเพิ่มขึ้นอย่างมากที่ 2.7% ในเดือนสิงหาคม ส่วนยอดสั่งซื้อสินค้าไม่คงทนเพิ่มขึ้น 1.2% ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนลดลง 0.8% และยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนในระดับปานกลางเพิ่มขึ้น 1.1%
ในการเปรียบเทียบเป็นรายปี ยอดสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.2% ในเดือนสิงหาคม
สำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอียูทั้ง 27 ประเทศ ยอดคำสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.4% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อน และเพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
ในบรรดาประเทศสมาชิกทั้งหมดที่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ ยอดการผลิตและสั่งซื้อเพิ่มขึ้นใน 15 ประเทศ และลดลงใน 7 ประเทศ เมื่อเทียบเป็นรายเดือน โดยประเทศที่มียอดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดได้แก่ สโลวัค ที่ 12.6% และยอดการผลิตและสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ก ที่ 8.0% สำนักข่าวซินหัวรายงาน
สำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรป หรือยูโรสแตท เปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อใหม่ในภาคอุตสาหกรรมของเขตยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.9% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้านั้น
รายงานของยูโรสแตทระบุว่า หากไม่นับรวมหมวดอุปกรณ์เรือบรรทุกสินค้า รถไฟ และ อากาศยาน ซึ่งมีแนวโน้มผันผวนสูง ยอดสั่งซื้อใหม่ในเขตยูโรโซนจะเพิ่มขึ้น 0.7% ในเดือนสิงหาคม
หากเปรียบเทียบเป็นรายเดือน ยอดสั่งซื้อใหม่สำหรับสินค้าทุนจะเพิ่มขึ้นอย่างมากที่ 2.7% ในเดือนสิงหาคม ส่วนยอดสั่งซื้อสินค้าไม่คงทนเพิ่มขึ้น 1.2% ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนลดลง 0.8% และยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนในระดับปานกลางเพิ่มขึ้น 1.1%
ในการเปรียบเทียบเป็นรายปี ยอดสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.2% ในเดือนสิงหาคม
สำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอียูทั้ง 27 ประเทศ ยอดคำสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.4% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อน และเพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
ในบรรดาประเทศสมาชิกทั้งหมดที่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ ยอดการผลิตและสั่งซื้อเพิ่มขึ้นใน 15 ประเทศ และลดลงใน 7 ประเทศ เมื่อเทียบเป็นรายเดือน โดยประเทศที่มียอดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดได้แก่ สโลวัค ที่ 12.6% และยอดการผลิตและสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ก ที่ 8.0% สำนักข่าวซินหัวรายงาน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 129
ขอโทษครับส่งซ้ำchom13 เขียน:ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อังคารที่ 25 ตุลาคม 2554 09:18:13 น.
สำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรป หรือยูโรสแตท เปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อใหม่ในภาคอุตสาหกรรมของเขตยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.9% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้านั้น
รายงานของยูโรสแตทระบุว่า หากไม่นับรวมหมวดอุปกรณ์เรือบรรทุกสินค้า รถไฟ และ อากาศยาน ซึ่งมีแนวโน้มผันผวนสูง ยอดสั่งซื้อใหม่ในเขตยูโรโซนจะเพิ่มขึ้น 0.7% ในเดือนสิงหาคม
หากเปรียบเทียบเป็นรายเดือน ยอดสั่งซื้อใหม่สำหรับสินค้าทุนจะเพิ่มขึ้นอย่างมากที่ 2.7% ในเดือนสิงหาคม ส่วนยอดสั่งซื้อสินค้าไม่คงทนเพิ่มขึ้น 1.2% ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนลดลง 0.8% และยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนในระดับปานกลางเพิ่มขึ้น 1.1%
ในการเปรียบเทียบเป็นรายปี ยอดสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.2% ในเดือนสิงหาคม
สำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอียูทั้ง 27 ประเทศ ยอดคำสั่งซื้อใหม่ของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.4% ในเดือนสิงหาคม เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อน และเพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
ในบรรดาประเทศสมาชิกทั้งหมดที่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ ยอดการผลิตและสั่งซื้อเพิ่มขึ้นใน 15 ประเทศ และลดลงใน 7 ประเทศ เมื่อเทียบเป็นรายเดือน โดยประเทศที่มียอดเพิ่มขึ้นสูงที่สุดได้แก่ สโลวัค ที่ 12.6% และยอดการผลิตและสั่งซื้อที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ก ที่ 8.0% สำนักข่าวซินหัวรายงาน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 130
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อังคารที่ 25 ตุลาคม 2554 16:38:07 น.
ผลการสำรวจของ Dfk พบว่า ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคล่วงหน้าของเยอรมนี ซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ถึงแม้ว่าความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจจะยังคงเพิ่มขึ้นเช่นกัน
สถาบันวิจัย Gfk ระบุว่า ดัชนีความเชื่อมั่นล่วงหน้าสำหรับเดือนพฤศจิกายนเพิ่มขึ้นสู่ 5.3 จุด จาก 5.2 จุด ในเดือนตุลาคม
นอกจากนี้ Gfk ระบุเพิ่มเติมว่า ผู้บริโภคยังมีมุมมองที่เป็นบวกอย่างมากเกี่ยวกับรายได้และมีความเต็มใจที่จะซื้อ เนื่องจากอัตราว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำและเงินเดือนที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
ผลการสำรวจของ Dfk พบว่า ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคล่วงหน้าของเยอรมนี ซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ถึงแม้ว่าความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจจะยังคงเพิ่มขึ้นเช่นกัน
สถาบันวิจัย Gfk ระบุว่า ดัชนีความเชื่อมั่นล่วงหน้าสำหรับเดือนพฤศจิกายนเพิ่มขึ้นสู่ 5.3 จุด จาก 5.2 จุด ในเดือนตุลาคม
นอกจากนี้ Gfk ระบุเพิ่มเติมว่า ผู้บริโภคยังมีมุมมองที่เป็นบวกอย่างมากเกี่ยวกับรายได้และมีความเต็มใจที่จะซื้อ เนื่องจากอัตราว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำและเงินเดือนที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 131
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- อังคารที่ 25 ตุลาคม 2554 16:45:19 น.
นายหยาง เจียฉือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจีนกล่าวว่า จีนสนับสนุนความพยายามของสหภาพยุโรป (อียู) ในการจัดการกับวิกฤตหนี้สาธารณะ และหวังว่าอียูจะใช้มาตรการเป็นที่รูปธรรมในการฟื้นความมั่นใจในตลาด
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า นายหยางแสดงความเห็นดังกล่าวระหว่างที่พบกับนางแคเธอรีน แอชตัน ผู้แทนระดับสูงด้านกิจการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคงของอียู ซึ่งดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการยุโรปด้วย
นายหยางกล่าวว่า จีนและอียูควรจะขยายความร่วมมือในทางปฏิบัติให้กว้างและลึกยิ่งขึ้น เนื่องจากทั้ง 2 ฝ่ายต่างก็มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาที่คล้ายคลึงหรือเหมือนกัน
นอกจากนี้นายหยางยังบอกด้วยว่า จีนให้ความสำคัญกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอียู และสนับสนุนความพยายามของอียูในการจัดการกับวิกฤตหนี้สาธารณะ
ขณะที่นางแอชตันกล่าวว่า อียูกำลังหารือว่าจะแก้วิกฤตหนี้อย่างไร พร้อมกล่าวขอบคุณจีนที่เข้าใจและคอยสนับสนุน พร้อมกับย้ำว่า อียูให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่ายอย่างจริงจัง
นางแอชตันยังกล่าวด้วยว่า อียูชื่นชมความสำเร็จของจีน และพร้อมจะให้ความร่วมมือกับจีนอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น เพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลกและส่งเสริมการพัฒนาพื้นฐาน
นายหยาง เจียฉือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจีนกล่าวว่า จีนสนับสนุนความพยายามของสหภาพยุโรป (อียู) ในการจัดการกับวิกฤตหนี้สาธารณะ และหวังว่าอียูจะใช้มาตรการเป็นที่รูปธรรมในการฟื้นความมั่นใจในตลาด
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า นายหยางแสดงความเห็นดังกล่าวระหว่างที่พบกับนางแคเธอรีน แอชตัน ผู้แทนระดับสูงด้านกิจการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคงของอียู ซึ่งดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการยุโรปด้วย
นายหยางกล่าวว่า จีนและอียูควรจะขยายความร่วมมือในทางปฏิบัติให้กว้างและลึกยิ่งขึ้น เนื่องจากทั้ง 2 ฝ่ายต่างก็มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาที่คล้ายคลึงหรือเหมือนกัน
นอกจากนี้นายหยางยังบอกด้วยว่า จีนให้ความสำคัญกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอียู และสนับสนุนความพยายามของอียูในการจัดการกับวิกฤตหนี้สาธารณะ
ขณะที่นางแอชตันกล่าวว่า อียูกำลังหารือว่าจะแก้วิกฤตหนี้อย่างไร พร้อมกล่าวขอบคุณจีนที่เข้าใจและคอยสนับสนุน พร้อมกับย้ำว่า อียูให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่ายอย่างจริงจัง
นางแอชตันยังกล่าวด้วยว่า อียูชื่นชมความสำเร็จของจีน และพร้อมจะให้ความร่วมมือกับจีนอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น เพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลกและส่งเสริมการพัฒนาพื้นฐาน
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 132
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 26 ตุลาคม 2554 07:00:13 น.
สกุลเงินยูโรอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (25 ต.ค.) โดยในระหว่างวันนั้น ยูโรดิ่งลงไปแตะระดับต่ำสุดในรอบ 4 สัปดาห์เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ หลังจากรมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ ซึ่งข่าวดังกล่าวส่งผลให้เกิดความวิตกกังวลว่า ผู้นำยุโรปจะยังไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขวิกฤตหนี้สาธารณะได้
ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลง 0.01% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.3924 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับของวันจันทร์ที่ 1.3925 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินปอนด์ดีดตัวขึ้น 0.15% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.6014 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.5990 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลง 0.25% เมื่อเทียบกับเงินเยนที่ 75.890 เยน จากระดับ 76.080 เยน และดิ่งลง 0.33% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.8778 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8807 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์ออสเตรเลียดิ่งลง 0.11% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.0457 ดอลลาร์สหรัฐ 1.0469 ดอลลาร์สหรัฐ และค่าเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์ร่วงลง 1.33% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.7968 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8075 ดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงินยูโรร่วงลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 4 สัปดาห์ในระหว่างวัน หลังจากรมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ แม้กลุ่มผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ยังคงเดินหน้าจัดการประชุมตามกำหนดการก็ตาม ซึ่งความเคลื่อนไหวในด้านลบเช่นนี้ทำให้นักลงทุนไม่เชื่อมั่นว่าที่ประชุมอียูจะสามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ปัญหาหนี้ยุโรปได้
อย่างไรก็ตาม ยูโรสามารถไต่ขึ้นจากระดับต่ำสุดได้ หลังจาก GfK เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคของเยอรมนีปรับขึ้นสู่ระดับ 5.3 จุดสำหรับเดือนพ.ย. จากเดือนต.ค.ที่ระดับ 5.2 จุด มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะอยู่ที่ 5.1 จุด โดย GfK ได้จัดทำดัชนีความเชื่อมั่นด้วยการสุ่มสำรวจความคิดเห็นผู้บริโภคชาวเยอรมัน 2,000 คน
ขณะที่ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับเงินเยนหลังจากคอนเฟอเรนซ์ บอร์ด รายงานว่าดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.ร่วงลงมาอยู่ที่ระดับ 39.8 จุด ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนมี.ค. 2551 เนื่องจากผู้บริโภควิตกกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มการจ้างงานและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ส่วนค่าเงินฟรังค์สวิสอ่อนตัวลงหลังจากนายฟิลิปป์ ฮิลเดอบรานด์ ประธานธนาคารกลางสวิตเซอร์แลนด์คาดว่า ค่าเงินฟรังค์สวิสจะค่อยๆอ่อนค่าลง จากระดับเฉลี่ยในปัจจุบันที่ 1.23 ฟรังก์สวิส/ยูโร
ทางการสหรัฐจะเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่สำคัญในสัปดาห์นี้ รวมถึงยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนเดือนก.ย.,ยอดขายบ้านใหม่เดือนก.ย., จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ไตรมาส 3 โดยมีการคาดการณ์ว่า จีดีพีไตรมาส 3 ของสหรัฐจะขยายตัว 2.5% เพิ่มขึ้นจากระดับ 1.3% ของไตรมาส 2
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
สกุลเงินยูโรอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (25 ต.ค.) โดยในระหว่างวันนั้น ยูโรดิ่งลงไปแตะระดับต่ำสุดในรอบ 4 สัปดาห์เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ หลังจากรมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ ซึ่งข่าวดังกล่าวส่งผลให้เกิดความวิตกกังวลว่า ผู้นำยุโรปจะยังไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขวิกฤตหนี้สาธารณะได้
ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลง 0.01% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.3924 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับของวันจันทร์ที่ 1.3925 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินปอนด์ดีดตัวขึ้น 0.15% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.6014 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.5990 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลง 0.25% เมื่อเทียบกับเงินเยนที่ 75.890 เยน จากระดับ 76.080 เยน และดิ่งลง 0.33% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.8778 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8807 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์ออสเตรเลียดิ่งลง 0.11% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.0457 ดอลลาร์สหรัฐ 1.0469 ดอลลาร์สหรัฐ และค่าเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์ร่วงลง 1.33% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.7968 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8075 ดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงินยูโรร่วงลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 4 สัปดาห์ในระหว่างวัน หลังจากรมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ แม้กลุ่มผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ยังคงเดินหน้าจัดการประชุมตามกำหนดการก็ตาม ซึ่งความเคลื่อนไหวในด้านลบเช่นนี้ทำให้นักลงทุนไม่เชื่อมั่นว่าที่ประชุมอียูจะสามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ปัญหาหนี้ยุโรปได้
อย่างไรก็ตาม ยูโรสามารถไต่ขึ้นจากระดับต่ำสุดได้ หลังจาก GfK เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคของเยอรมนีปรับขึ้นสู่ระดับ 5.3 จุดสำหรับเดือนพ.ย. จากเดือนต.ค.ที่ระดับ 5.2 จุด มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะอยู่ที่ 5.1 จุด โดย GfK ได้จัดทำดัชนีความเชื่อมั่นด้วยการสุ่มสำรวจความคิดเห็นผู้บริโภคชาวเยอรมัน 2,000 คน
ขณะที่ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับเงินเยนหลังจากคอนเฟอเรนซ์ บอร์ด รายงานว่าดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.ร่วงลงมาอยู่ที่ระดับ 39.8 จุด ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนมี.ค. 2551 เนื่องจากผู้บริโภควิตกกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มการจ้างงานและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ส่วนค่าเงินฟรังค์สวิสอ่อนตัวลงหลังจากนายฟิลิปป์ ฮิลเดอบรานด์ ประธานธนาคารกลางสวิตเซอร์แลนด์คาดว่า ค่าเงินฟรังค์สวิสจะค่อยๆอ่อนค่าลง จากระดับเฉลี่ยในปัจจุบันที่ 1.23 ฟรังก์สวิส/ยูโร
ทางการสหรัฐจะเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่สำคัญในสัปดาห์นี้ รวมถึงยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนเดือนก.ย.,ยอดขายบ้านใหม่เดือนก.ย., จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ไตรมาส 3 โดยมีการคาดการณ์ว่า จีดีพีไตรมาส 3 ของสหรัฐจะขยายตัว 2.5% เพิ่มขึ้นจากระดับ 1.3% ของไตรมาส 2
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 133
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 26 ตุลาคม 2554 07:46:31 น.
ดัชนีนิกเกอิตลาดหุ้นโตเกียวร่วงลง 103.09 จุด หรือ 1.18% แตะที่ 8,659.22 จุด หลังจากตลาดเปิดทำการได้เพียง 15 นาทีในวันนี้ (26 ต.ค.) เนื่องจากบรรยากาศการซื้อขายได้รับแรงกดดันจากความกังวลเกี่ยวกับปัญหาหนี้ยุโรป และการร่วงลงอย่างหนักของตลาดหุ้นนิวยอร์กเมื่อคืนนี้
โบรกเกอร์กล่าวว่า ตลาดหุ้นโตเกียวได้รับปัจจัยลบจากรายงานที่ว่า รมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ ซึ่งข่าวดังกล่าวทำให้นักลงทุนกังวลว่าการประชุมสุดยอดผู้นำอียูซึ่งจะมีขึ้นในวันนี้ อาจจะไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรปได้
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
ดัชนีนิกเกอิตลาดหุ้นโตเกียวร่วงลง 103.09 จุด หรือ 1.18% แตะที่ 8,659.22 จุด หลังจากตลาดเปิดทำการได้เพียง 15 นาทีในวันนี้ (26 ต.ค.) เนื่องจากบรรยากาศการซื้อขายได้รับแรงกดดันจากความกังวลเกี่ยวกับปัญหาหนี้ยุโรป และการร่วงลงอย่างหนักของตลาดหุ้นนิวยอร์กเมื่อคืนนี้
โบรกเกอร์กล่าวว่า ตลาดหุ้นโตเกียวได้รับปัจจัยลบจากรายงานที่ว่า รมว.คลังกลุ่มยูโรโซนได้ยกเลิกการประชุมในวันนี้ ซึ่งข่าวดังกล่าวทำให้นักลงทุนกังวลว่าการประชุมสุดยอดผู้นำอียูซึ่งจะมีขึ้นในวันนี้ อาจจะไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรปได้
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 134
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 26 ตุลาคม 2554 08:39:36 น.
การประชุมรัฐมนตรีคลังกลุ่มประเทศยูโรโซนซึ่งกำหนดจะมีขึ้นในช่วงเย็นวันนี้ (26 ต.ค.) ได้ถูกยกเลิกแล้ว เนื่องจากรัฐมนตรีคลังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับแผนการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรป แต่การประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ยังคงเป็นไปตามกำหนดการเดิมในวันนี้ โดยคาดว่าที่ประชุมจะหารือกันเกี่ยวกับการเพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์ในยุโรป และการเพิ่มศักยภาพในการปล่อยกู้ของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
อย่างไรก็ตาม การยกเลิกประชุมรัฐมนตรีคลังกลุ่มยูโรโซนได้สร้างความวิตกกังวลให้กับนักลงทุนในตลาดการเงินทั่วโลกว่า อาจจะทำให้ที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูในช่วงเย็นวันนี้ ไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรปได้
นอกจากนี้ ตลาดการเงินทั่วโลกยังได้รับแรงกดดันมากขึ้นเมื่อนางอังเกลา แมร์เคล นายกรัฐมนตรีเยอรมนีกล่าวว่า เยอรมนีไม่เห็นด้วยกับข้อความที่ระบุในแถลงการณ์การประชุมสุดยอดผู้นำอียูที่ระบุว่า ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ควรเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของประเทศที่มีเศรษฐกิจอ่อนแอต่อไปในตลาดรอง
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/สุนิตา โทร.02-2535000 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--
การประชุมรัฐมนตรีคลังกลุ่มประเทศยูโรโซนซึ่งกำหนดจะมีขึ้นในช่วงเย็นวันนี้ (26 ต.ค.) ได้ถูกยกเลิกแล้ว เนื่องจากรัฐมนตรีคลังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับแผนการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรป แต่การประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ยังคงเป็นไปตามกำหนดการเดิมในวันนี้ โดยคาดว่าที่ประชุมจะหารือกันเกี่ยวกับการเพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์ในยุโรป และการเพิ่มศักยภาพในการปล่อยกู้ของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
อย่างไรก็ตาม การยกเลิกประชุมรัฐมนตรีคลังกลุ่มยูโรโซนได้สร้างความวิตกกังวลให้กับนักลงทุนในตลาดการเงินทั่วโลกว่า อาจจะทำให้ที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูในช่วงเย็นวันนี้ ไม่สามารถสรุปมาตรการขั้นเด็ดขาดในการแก้ไขปัญหาหนี้ยุโรปได้
นอกจากนี้ ตลาดการเงินทั่วโลกยังได้รับแรงกดดันมากขึ้นเมื่อนางอังเกลา แมร์เคล นายกรัฐมนตรีเยอรมนีกล่าวว่า เยอรมนีไม่เห็นด้วยกับข้อความที่ระบุในแถลงการณ์การประชุมสุดยอดผู้นำอียูที่ระบุว่า ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ควรเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของประเทศที่มีเศรษฐกิจอ่อนแอต่อไปในตลาดรอง
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/สุนิตา โทร.02-2535000 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 135
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 26 ตุลาคม 2554 12:14:00 น.
นางอังเกลา แมร์เคล นายกรัฐมนตรีเยอรมนีกล่าวกับผู้สื่อข่าวที่กรุงเบอร์ลินว่า รัฐบาลของประเทศต่างๆในสหภาพยุโรป (อียู) ไม่ควรตัดสินใจให้ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) เข้ามามีบทบาทในการจัดการกับวิกฤตหนี้ยูโรโซน
"เราต้องการให้อีซีบีแสดงออกอย่างชัดเจนมากกว่านี้ว่า อีซีบีต้องการอะไรจากมุมมองของตนเอง และจากนั้นเราจะแสดงความคิดเห็นในเรื่องดังกล่าว เราไม่ต้องการสร้างความเข้าใจผิดว่านักการเมืองคาดหวังบางสิ่งบางอย่างจากอีซีบี" นางแมร์เคลกล่าว
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า การแสดงความคิดเห็นของนางแมร์เคลมีขึ้นหลังจากมีการเปิดเผยร่างแถลงการณ์การประชุมของอียูเมื่อวันอาทิตย์ว่า รัฐบาลอียูให้การสนับสนุนอีซีบี "อย่างเต็มที่" ให้เดินหน้าใช้ "มาตรการพิเศษ" เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านราคาในยูโรโซน
ผู้สื่อข่าวและตลาดเชื่อว่า "มาตรการพิเศษ" ดังกล่าวนั้น หมายถึงการที่อีซีบีเข้าซื้อพันธบัตรของประเทศต่างๆที่ประสบปัญหาหนี้ในตลาดรอง ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวถูกมองว่าอาจจะสร้างความเสียหายต่อความน่าเชื่อถือของอีซีบีในระยะยาว
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้น รัฐบาลของนางแมร์เคลได้ปกป้องความเป็นอิสระของอีซีบี โดยยืนกรานว่าอีซีบีไม่ควรถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการต่อสู้กับวิกฤตหนี้
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
นางอังเกลา แมร์เคล นายกรัฐมนตรีเยอรมนีกล่าวกับผู้สื่อข่าวที่กรุงเบอร์ลินว่า รัฐบาลของประเทศต่างๆในสหภาพยุโรป (อียู) ไม่ควรตัดสินใจให้ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) เข้ามามีบทบาทในการจัดการกับวิกฤตหนี้ยูโรโซน
"เราต้องการให้อีซีบีแสดงออกอย่างชัดเจนมากกว่านี้ว่า อีซีบีต้องการอะไรจากมุมมองของตนเอง และจากนั้นเราจะแสดงความคิดเห็นในเรื่องดังกล่าว เราไม่ต้องการสร้างความเข้าใจผิดว่านักการเมืองคาดหวังบางสิ่งบางอย่างจากอีซีบี" นางแมร์เคลกล่าว
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า การแสดงความคิดเห็นของนางแมร์เคลมีขึ้นหลังจากมีการเปิดเผยร่างแถลงการณ์การประชุมของอียูเมื่อวันอาทิตย์ว่า รัฐบาลอียูให้การสนับสนุนอีซีบี "อย่างเต็มที่" ให้เดินหน้าใช้ "มาตรการพิเศษ" เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านราคาในยูโรโซน
ผู้สื่อข่าวและตลาดเชื่อว่า "มาตรการพิเศษ" ดังกล่าวนั้น หมายถึงการที่อีซีบีเข้าซื้อพันธบัตรของประเทศต่างๆที่ประสบปัญหาหนี้ในตลาดรอง ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวถูกมองว่าอาจจะสร้างความเสียหายต่อความน่าเชื่อถือของอีซีบีในระยะยาว
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้น รัฐบาลของนางแมร์เคลได้ปกป้องความเป็นอิสระของอีซีบี โดยยืนกรานว่าอีซีบีไม่ควรถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการต่อสู้กับวิกฤตหนี้
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 136
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 06:47:22 น.
ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดพุ่งขึ้นเมื่อคืนนี้ (26 ต.ค.) ขานรับความคืบหน้าของการประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) โดยมีรายงานว่าผู้นำยุโรปตกลงกันว่าจะกดดันธนาคารพาณิชย์ให้เพิ่มทุนมากขึ้นภายในเดือนมิ.ย.ปีหน้า เพื่อป้องกันการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้กรีซ และข่าวที่ว่าเยอรมนีตกลงที่จะเพิ่มศักยภาพด้านการปล่อยกู้ให้กับกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) ซึ่งข่าวดังกล่าวทำให้นักลงทุนคาดว่าผู้นำอียูจะสามารถควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะได้
ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดพุ่ง 162.42 จุด หรือ 1.39% แตะที่ 11,869.04 จุด ดัชนี S&P 500 ปิดบวก 12.95 จุด หรือ 1.05% แตะที่ 1,242.00 และดัชนี Nasdaq ปิดปรับตัวขึ้น 12.25 จุด หรือ 0.46% แตะที่ 2,650.67 จุด
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า ในขณะที่ผู้นำอียูกำลังประชุมกันอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์นั้น ก็มีรายงานความคืบหน้าออกมาเป็นระยะๆ รวมถึงข่าวที่ว่าผู้นำยุโรปตกลงกันว่าจะดันธนาคารพาณิชย์ให้เพิ่มทุนมากขึ้นภายในเดือนมิ.ย.ปีหน้า เพื่อป้องกันการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้กรีซ และเพื่อพยายามที่จะควบคุมวิกฤติหนี้
ขณะเดียวกันมีรายงานว่า รัฐสภาเยอรมนีมีมติด้วยคะแนนเสียง 503 ต่อ 89 ให้เพิ่มขนาดของกองทุน EFSF ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการปล่อยกู้ให้กับกองทุน และยังทำให้นักลงทุนเชือมั่นว่าที่ประชุมอียูจะสามารถตกลงกันในเรื่องดังกล่าวได้ ในระหว่างการประชุมครั้งนี้
นอกจากนี้ ตลาดหุ้นนิวยอร์กยังได้แรงหนุนจากข่าวที่ว่า จีนได้ตกลงที่จะให้การสนับสนุนกองทุน EFSF รวมทั้งรายงานของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐที่ระบุว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนของสหรัฐพุ่งขึ้นแข็งแกร่ง 1.7% ในเดือนก.ย.
หุ้นโบอิ้งพุ่งขึ้นเกือบ 4.5% หลังจากโบอิ้งรายงานผลประกอบการที่ดีเกินคาด ขณะที่หุ้นอเมซอนร่วงลงกว่า 12% หลังจากบริษัทปรับลดคาดการณ์ผลประกอบการในไตรมาส 4
นักลงทุนจับตาดูข้อมูลเศรษฐกิจที่สำคัญของสหรัฐในสัปดาห์นี้ โดยวันพฤหัสบดี กระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์, กระทรวงพาณิชย์สหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่แท้จริงประจำไตรมาส 3 และสมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติเปิดเผยยอดทำสัญญาซื้อบ้านที่รอปิดการขาย (pending home sales) เดือนก.ย. ส่วนวันศุกร์ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐจะเปิดเผยรายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย. และรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนจะเปิดเผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคช่วงท้ายเดือนต.ค.
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดพุ่งขึ้นเมื่อคืนนี้ (26 ต.ค.) ขานรับความคืบหน้าของการประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) โดยมีรายงานว่าผู้นำยุโรปตกลงกันว่าจะกดดันธนาคารพาณิชย์ให้เพิ่มทุนมากขึ้นภายในเดือนมิ.ย.ปีหน้า เพื่อป้องกันการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้กรีซ และข่าวที่ว่าเยอรมนีตกลงที่จะเพิ่มศักยภาพด้านการปล่อยกู้ให้กับกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) ซึ่งข่าวดังกล่าวทำให้นักลงทุนคาดว่าผู้นำอียูจะสามารถควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะได้
ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดพุ่ง 162.42 จุด หรือ 1.39% แตะที่ 11,869.04 จุด ดัชนี S&P 500 ปิดบวก 12.95 จุด หรือ 1.05% แตะที่ 1,242.00 และดัชนี Nasdaq ปิดปรับตัวขึ้น 12.25 จุด หรือ 0.46% แตะที่ 2,650.67 จุด
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า ในขณะที่ผู้นำอียูกำลังประชุมกันอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์นั้น ก็มีรายงานความคืบหน้าออกมาเป็นระยะๆ รวมถึงข่าวที่ว่าผู้นำยุโรปตกลงกันว่าจะดันธนาคารพาณิชย์ให้เพิ่มทุนมากขึ้นภายในเดือนมิ.ย.ปีหน้า เพื่อป้องกันการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้กรีซ และเพื่อพยายามที่จะควบคุมวิกฤติหนี้
ขณะเดียวกันมีรายงานว่า รัฐสภาเยอรมนีมีมติด้วยคะแนนเสียง 503 ต่อ 89 ให้เพิ่มขนาดของกองทุน EFSF ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการปล่อยกู้ให้กับกองทุน และยังทำให้นักลงทุนเชือมั่นว่าที่ประชุมอียูจะสามารถตกลงกันในเรื่องดังกล่าวได้ ในระหว่างการประชุมครั้งนี้
นอกจากนี้ ตลาดหุ้นนิวยอร์กยังได้แรงหนุนจากข่าวที่ว่า จีนได้ตกลงที่จะให้การสนับสนุนกองทุน EFSF รวมทั้งรายงานของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐที่ระบุว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนของสหรัฐพุ่งขึ้นแข็งแกร่ง 1.7% ในเดือนก.ย.
หุ้นโบอิ้งพุ่งขึ้นเกือบ 4.5% หลังจากโบอิ้งรายงานผลประกอบการที่ดีเกินคาด ขณะที่หุ้นอเมซอนร่วงลงกว่า 12% หลังจากบริษัทปรับลดคาดการณ์ผลประกอบการในไตรมาส 4
นักลงทุนจับตาดูข้อมูลเศรษฐกิจที่สำคัญของสหรัฐในสัปดาห์นี้ โดยวันพฤหัสบดี กระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์, กระทรวงพาณิชย์สหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่แท้จริงประจำไตรมาส 3 และสมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติเปิดเผยยอดทำสัญญาซื้อบ้านที่รอปิดการขาย (pending home sales) เดือนก.ย. ส่วนวันศุกร์ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐจะเปิดเผยรายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย. และรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนจะเปิดเผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคช่วงท้ายเดือนต.ค.
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 137
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 07:48:42 น.
ดัชนี FTSE 100 ตลาดหุ้นลอนดอนปิดบวกเมื่อคืนนี้ (26 ต.ค.) เนื่องจากนักลงทุนเข้าซื้อหุ้น ก่อนที่จะรับทราบผลการประชุมผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ขณะที่มีข่าวความคืบหน้าว่าที่ประชุมพยายามที่จะใช้มาตรการควบคุมปัญหาหนี้ รวมถึงการผลักดันให้มีการเพิ่มทุนให้กับกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
ดัชนี FTSE 100 ปิดบวก 27.70 จุด แตะที่ 5553.24 จุด
นักลงทุนเข้าซื้อหุ้นก่อนที่จะรับทราบผลการประชุมผู้นำอียูที่กรุงบรัสเซลส์ แต่ก็มีข่าวคืบหน้าว่าผู้นำอียูพยายามที่จะใช้มาตรการควบคุมปัญหาหนี้ รวมถึงการผลักดันให้มีการเพิ่มทุนให้กับกองทุน EFSF โดยหุ้นบีจี กรุ๊ปที่เป็นผู้ผลิตก๊าซพุ่งขึ้น 1.2% หุ้นบริติช อเมริกัน โทแบคโค ซึ่งเป็นผู้ผลิตบุหรี่รายใหญ่อันดับสองของโลกพุ่งขึ้น 1.5% หลังจากทางบริษัทรายงานว่ายอดขายเพิ่มขึ้น 7 % ในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้
ดัชนี FTSE 100 ตลาดหุ้นลอนดอนปิดบวกเมื่อคืนนี้ (26 ต.ค.) เนื่องจากนักลงทุนเข้าซื้อหุ้น ก่อนที่จะรับทราบผลการประชุมผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ขณะที่มีข่าวความคืบหน้าว่าที่ประชุมพยายามที่จะใช้มาตรการควบคุมปัญหาหนี้ รวมถึงการผลักดันให้มีการเพิ่มทุนให้กับกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
ดัชนี FTSE 100 ปิดบวก 27.70 จุด แตะที่ 5553.24 จุด
นักลงทุนเข้าซื้อหุ้นก่อนที่จะรับทราบผลการประชุมผู้นำอียูที่กรุงบรัสเซลส์ แต่ก็มีข่าวคืบหน้าว่าผู้นำอียูพยายามที่จะใช้มาตรการควบคุมปัญหาหนี้ รวมถึงการผลักดันให้มีการเพิ่มทุนให้กับกองทุน EFSF โดยหุ้นบีจี กรุ๊ปที่เป็นผู้ผลิตก๊าซพุ่งขึ้น 1.2% หุ้นบริติช อเมริกัน โทแบคโค ซึ่งเป็นผู้ผลิตบุหรี่รายใหญ่อันดับสองของโลกพุ่งขึ้น 1.5% หลังจากทางบริษัทรายงานว่ายอดขายเพิ่มขึ้น 7 % ในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 138
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 09:43:29 น.
สื่อต่างประเทศรายงานว่า ที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปสามารถบรรลุข้อตกลงแก้ไขวิกฤตหนี้ได้ โดยประธานาธิบดีนิโคลาส์ ซาร์โกซี ของฝรั่งเศส เผยกับผู้สื่อข่าวภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมในกรุงบรัสเซลส์ว่า กองทุนกู้วิกฤตยูโรโซนจะขยายวงเงินเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.4 ล้านล้านดอลลาร์) ขณะที่แบงก์เอกชนซึ่งถือตราสารหนี้กรีซยอมที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
นายซาร์โกซีประเมินว่า กองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ หลังจากที่รัฐบาลของประเทศต่างๆในยุโรปเห็นชอบมาตรการเพิ่มวงเงินค้ำประกันถึง 5 เท่า
สื่อต่างประเทศรายงานว่า ที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปสามารถบรรลุข้อตกลงแก้ไขวิกฤตหนี้ได้ โดยประธานาธิบดีนิโคลาส์ ซาร์โกซี ของฝรั่งเศส เผยกับผู้สื่อข่าวภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมในกรุงบรัสเซลส์ว่า กองทุนกู้วิกฤตยูโรโซนจะขยายวงเงินเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.4 ล้านล้านดอลลาร์) ขณะที่แบงก์เอกชนซึ่งถือตราสารหนี้กรีซยอมที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
นายซาร์โกซีประเมินว่า กองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ หลังจากที่รัฐบาลของประเทศต่างๆในยุโรปเห็นชอบมาตรการเพิ่มวงเงินค้ำประกันถึง 5 เท่า
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 139
เริ่มมีข่าวดีเข้ามาแล้วครับ
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 140
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 12:17:21 น.
สื่อต่างประเทศรายงานว่า ที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปสามารถบรรลุข้อตกลงแก้ไขวิกฤตหนี้ได้ โดยประธานาธิบดีนิโคลาส์ ซาร์โกซี ของฝรั่งเศส เผยกับผู้สื่อข่าวภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมในกรุงบรัสเซลส์ว่า กองทุนกู้วิกฤตยูโรโซนจะขยายวงเงินเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.4 ล้านล้านดอลลาร์) ขณะที่แบงก์เอกชนซึ่งถือตราสารหนี้กรีซยอมที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
นายซาร์โกซีประเมินว่า กองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1 ล้านล้านยูโร หลังจากที่รัฐบาลของประเทศต่างๆในยุโรปเห็นชอบมาตรการเพิ่มวงเงินค้ำประกันถึง 4-5 เท่า
ด้านนายเฮอร์แมน ฟาน รอมปุย ประธานสภายุโรป กล่าวในการแถลงข่าวภายหลังการประชุมที่กินเวลานานตั้งแต่เย็นวันพุธมาจนถึงช่วงเช้าวันนี้ว่า เราสามารถตกลงกันเรื่องแนวทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนให้กับกรีซได้แล้ว
ภายใต้ข้อตกลงที่การประชุมสุดยอดยูโรโซนนั้น กองทุนกู้วิกฤต EFSF วงเงิน 1 ล้านล้านยูโร จะพร้อมดำเนินการได้ภายในช่วงสิ้นปีนี้ เพื่อช่วยให้กรีซลดหนี้สาธารณะลงเหลือ 120% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในปี 2563
นายรอมปุยกล่าวกับผู้สื่อข่าวว่า เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวนั้น ความร่วมมือโดยสมัครใจของเจ้าหนี้เอกชนที่ปล่อยกู้ให้กับกรีซถือเป็นเรื่องที่จำเป็น ซึ่งภาคเอกชนที่ถือครองพันธบัตรรัฐบาลกรีซได้เห็นชอบที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
สื่อต่างประเทศรายงานว่า ที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปสามารถบรรลุข้อตกลงแก้ไขวิกฤตหนี้ได้ โดยประธานาธิบดีนิโคลาส์ ซาร์โกซี ของฝรั่งเศส เผยกับผู้สื่อข่าวภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมในกรุงบรัสเซลส์ว่า กองทุนกู้วิกฤตยูโรโซนจะขยายวงเงินเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.4 ล้านล้านดอลลาร์) ขณะที่แบงก์เอกชนซึ่งถือตราสารหนี้กรีซยอมที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
นายซาร์โกซีประเมินว่า กองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1 ล้านล้านยูโร หลังจากที่รัฐบาลของประเทศต่างๆในยุโรปเห็นชอบมาตรการเพิ่มวงเงินค้ำประกันถึง 4-5 เท่า
ด้านนายเฮอร์แมน ฟาน รอมปุย ประธานสภายุโรป กล่าวในการแถลงข่าวภายหลังการประชุมที่กินเวลานานตั้งแต่เย็นวันพุธมาจนถึงช่วงเช้าวันนี้ว่า เราสามารถตกลงกันเรื่องแนวทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนให้กับกรีซได้แล้ว
ภายใต้ข้อตกลงที่การประชุมสุดยอดยูโรโซนนั้น กองทุนกู้วิกฤต EFSF วงเงิน 1 ล้านล้านยูโร จะพร้อมดำเนินการได้ภายในช่วงสิ้นปีนี้ เพื่อช่วยให้กรีซลดหนี้สาธารณะลงเหลือ 120% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในปี 2563
นายรอมปุยกล่าวกับผู้สื่อข่าวว่า เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวนั้น ความร่วมมือโดยสมัครใจของเจ้าหนี้เอกชนที่ปล่อยกู้ให้กับกรีซถือเป็นเรื่องที่จำเป็น ซึ่งภาคเอกชนที่ถือครองพันธบัตรรัฐบาลกรีซได้เห็นชอบที่จะปรับลดมูลค่าหนี้กรีซลง 50%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 141
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 15:08:25 น.
ตลาดหุ้นยุโรปเปิดตลาดวันนี้พุ่งสูงขึ้น หลังจากที่ผู้นำสหภาพยุโรปเห็นชอบข้อตกลงในการคลี่คลายวิกฤตหนี้ที้เกิดขึ้นในภูมิภาค โดยให้มีการขยายกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป ขณะที่ภาคธนาคารยอมรับการปรับลดมูลค่าพันธบัตรรัฐบาลกรีซลงเพื่อแลกเปลี่ยนกับการปรับโครงสร้างเงินทุน
หุ้นในตลาดลอนดอนดีดตัวขึ้น 1.9% ส่วนหุ้นในตลาดเยอรมนีพุ่ง 3.5% และตลาดหุ้นฝรั่งเศสดีดตัว 2.55
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
ตลาดหุ้นยุโรปเปิดตลาดวันนี้พุ่งสูงขึ้น หลังจากที่ผู้นำสหภาพยุโรปเห็นชอบข้อตกลงในการคลี่คลายวิกฤตหนี้ที้เกิดขึ้นในภูมิภาค โดยให้มีการขยายกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป ขณะที่ภาคธนาคารยอมรับการปรับลดมูลค่าพันธบัตรรัฐบาลกรีซลงเพื่อแลกเปลี่ยนกับการปรับโครงสร้างเงินทุน
หุ้นในตลาดลอนดอนดีดตัวขึ้น 1.9% ส่วนหุ้นในตลาดเยอรมนีพุ่ง 3.5% และตลาดหุ้นฝรั่งเศสดีดตัว 2.55
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 142
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม 2554 16:21:09 น.
บรรดาผู้นำทั้งในและนอกยุโรปต่างขานรับข้อตกลงครั้งสำคัญในที่ประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ที่บรัสเซลส์ เพื่อจัดการวิกฤตหนี้สาธารณะในกรีซ
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า นายกรัฐมนตรีจอร์จ ปาปันนเดรอูของกรีซเรียกข้อตกลงฉบับใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นหลังการประชุมมาราธอนของสุดยอดผู้นำอียูนี้ว่าเป็น “ยุคใหม่ บทใหม่" ของกรีซ ซึ่งมีหนี้สินท่วมท้น
“จะเป็นจุดเริ่มต้นใหม่สำหรับเรา แต่ก็ยังคงต้องทำงานกันต่อไป" นายกฯกรีซกล่าว
สำหรับข้อตกลงดังกล่าวเป็นการหารือร่วมกันกับตัวแทนเจรจาจากธนาคาร โดยระบุว่า หนี้สินของกรีซ ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ 3.50 แสนล้านยูโร (4.90 แสนล้านดอลลาร์)นั้น คาดว่าจะลดลงไปได้ 1 แสนล้านยูโร (1.40 แสนล้านดอลลาร์) และอัตราส่วนหนี้สินต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) จะลดลงจาก 160% เหลือ 120% ภายในปี 2563
หลังเสร็จสิ้นการประชุม ซึ่งกินเวลามาตั้งแต่ช่วงเย็นวันพุธล่วงเข้าสู่เช้าวันพฤหัสบดี นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคลของเยอรมนีกล่าวว่า “ฉันคิดว่าเราจะสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ และเราก็ได้ลงมือทำในเรื่องที่จำเป็นแล้ว"
ขณะที่ประธานาธิบดีนิโกลาส์ ซาร์โกซีกล่าวว่า “เราได้นำองค์ประกอบจากมาตราการต่างๆมาปรับใช้เพื่อตอบโต้กับวิกฤตกำลังคืบคลานไปทั่วยูโรโซน"
ด้านนายกรัฐมนตรีเดวิด คาเมรอน ของอังกฤษแสดงความเห็นพ้องกันว่า “การเพิ่มเงินทุนให้กับธนาคารนั้นคืบหน้าไปอย่างดี ไม่ใช่แค่การประนีประนอม แต่พวกเราเห็นพ้องต้องกันเลยทีเดียว"
นายกรัฐมนตรีจูเลีย กิลลาร์ด ของออสเตรเลียขานรับข้อตกลงนี้เช่นกัน แต่เตือนว่าเศรษฐกิจโลกอาจผันผวนยิ่งขึ้นจนกว่าจะมีการนำแผนการไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาติ ชื่นชม/สุนิตา โทร.02-2535000 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--
บรรดาผู้นำทั้งในและนอกยุโรปต่างขานรับข้อตกลงครั้งสำคัญในที่ประชุมสุดยอดผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) ที่บรัสเซลส์ เพื่อจัดการวิกฤตหนี้สาธารณะในกรีซ
สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า นายกรัฐมนตรีจอร์จ ปาปันนเดรอูของกรีซเรียกข้อตกลงฉบับใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นหลังการประชุมมาราธอนของสุดยอดผู้นำอียูนี้ว่าเป็น “ยุคใหม่ บทใหม่" ของกรีซ ซึ่งมีหนี้สินท่วมท้น
“จะเป็นจุดเริ่มต้นใหม่สำหรับเรา แต่ก็ยังคงต้องทำงานกันต่อไป" นายกฯกรีซกล่าว
สำหรับข้อตกลงดังกล่าวเป็นการหารือร่วมกันกับตัวแทนเจรจาจากธนาคาร โดยระบุว่า หนี้สินของกรีซ ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ 3.50 แสนล้านยูโร (4.90 แสนล้านดอลลาร์)นั้น คาดว่าจะลดลงไปได้ 1 แสนล้านยูโร (1.40 แสนล้านดอลลาร์) และอัตราส่วนหนี้สินต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) จะลดลงจาก 160% เหลือ 120% ภายในปี 2563
หลังเสร็จสิ้นการประชุม ซึ่งกินเวลามาตั้งแต่ช่วงเย็นวันพุธล่วงเข้าสู่เช้าวันพฤหัสบดี นายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคลของเยอรมนีกล่าวว่า “ฉันคิดว่าเราจะสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ และเราก็ได้ลงมือทำในเรื่องที่จำเป็นแล้ว"
ขณะที่ประธานาธิบดีนิโกลาส์ ซาร์โกซีกล่าวว่า “เราได้นำองค์ประกอบจากมาตราการต่างๆมาปรับใช้เพื่อตอบโต้กับวิกฤตกำลังคืบคลานไปทั่วยูโรโซน"
ด้านนายกรัฐมนตรีเดวิด คาเมรอน ของอังกฤษแสดงความเห็นพ้องกันว่า “การเพิ่มเงินทุนให้กับธนาคารนั้นคืบหน้าไปอย่างดี ไม่ใช่แค่การประนีประนอม แต่พวกเราเห็นพ้องต้องกันเลยทีเดียว"
นายกรัฐมนตรีจูเลีย กิลลาร์ด ของออสเตรเลียขานรับข้อตกลงนี้เช่นกัน แต่เตือนว่าเศรษฐกิจโลกอาจผันผวนยิ่งขึ้นจนกว่าจะมีการนำแผนการไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาติ ชื่นชม/สุนิตา โทร.02-2535000 ต่อ 315 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 143
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 28 ตุลาคม 2554 09:43:30 น.
ดัชนีนิกเกอิตลาดหุ้นโตเกียวปิดตลาดภาคเช้าพุ่งขึ้น 121.81 จุด หรือ 1.36% แตะที่ 9,048.35 จุดในวันนี้ (28 ต.ค.) โดยดชนีทะยานขึ้นเหนือระดับ 9,000 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 8 สัปดาห์ เนื่องจากนักลงทุนคลายความวิตกกังวลหลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรป (อียู) ลงมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
ราคาหุ้นพุ่งขึ้นเกือบทุกกลุ่มจากทั้งหมด 33 กลุ่ม โดยหุ้นกลุ่มประกัน กลุ่มเหล็กและเหล็กกล้า และกลุ่มสารสนเทศ พุ่งขึ้นแข็งแกร่งสุด ขณะที่หุ้นกลุ่มกระดาษและเยื่อกระดาษ กลุ่มขนส่งทางอากาศ กลุ่มไฟฟ้าและก๊าซ ปรับตัวลดลง
โบรกเกอร์กล่าวว่า บรรยากาศการซื้อขายในตลาดหุ้นโตเกียวเป็นไปอย่างคึกคัก หลังจากดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์พุ่งขึ้น 339.51 จุด หรือ 2.86% ปิดที่ 12,208.55 จุดเมื่อคืนนี้ เพราะได้แรงหนุนจากข่าวที่ว่าที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะไม่ให้ลุกลามไปยังประเทศอื่นๆที่มีความสำคัญในเชิงระบบของยูโรโซน เช่นอิตาลี โดยมาตรการดังกล่าวครอบคลุมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
นอกจากนี้ ตลาดยังได้ปัจจัยบวกจากรายงานที่ระบุว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ไตรมาส 3 ของสหรัฐขยายตัว 2.5% เพิ่มขึ้นจากไตรมาส 2 ที่ขยายตัวเพียง 1.3%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
ดัชนีนิกเกอิตลาดหุ้นโตเกียวปิดตลาดภาคเช้าพุ่งขึ้น 121.81 จุด หรือ 1.36% แตะที่ 9,048.35 จุดในวันนี้ (28 ต.ค.) โดยดชนีทะยานขึ้นเหนือระดับ 9,000 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 8 สัปดาห์ เนื่องจากนักลงทุนคลายความวิตกกังวลหลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรป (อียู) ลงมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)
ราคาหุ้นพุ่งขึ้นเกือบทุกกลุ่มจากทั้งหมด 33 กลุ่ม โดยหุ้นกลุ่มประกัน กลุ่มเหล็กและเหล็กกล้า และกลุ่มสารสนเทศ พุ่งขึ้นแข็งแกร่งสุด ขณะที่หุ้นกลุ่มกระดาษและเยื่อกระดาษ กลุ่มขนส่งทางอากาศ กลุ่มไฟฟ้าและก๊าซ ปรับตัวลดลง
โบรกเกอร์กล่าวว่า บรรยากาศการซื้อขายในตลาดหุ้นโตเกียวเป็นไปอย่างคึกคัก หลังจากดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์พุ่งขึ้น 339.51 จุด หรือ 2.86% ปิดที่ 12,208.55 จุดเมื่อคืนนี้ เพราะได้แรงหนุนจากข่าวที่ว่าที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะไม่ให้ลุกลามไปยังประเทศอื่นๆที่มีความสำคัญในเชิงระบบของยูโรโซน เช่นอิตาลี โดยมาตรการดังกล่าวครอบคลุมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
นอกจากนี้ ตลาดยังได้ปัจจัยบวกจากรายงานที่ระบุว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ไตรมาส 3 ของสหรัฐขยายตัว 2.5% เพิ่มขึ้นจากไตรมาส 2 ที่ขยายตัวเพียง 1.3%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 144
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 28 ตุลาคม 2554 14:00:14 น.
นักวิเคราะห์มองว่า การประชุมสุดยอดยูโรโซนครั้งที่ 2 ซึ่งยืดเยื้อมาจนกระทั่งถึงเช้าวันพฤหัสบดีนั้น ถือเป็นอีกครั้งที่ผู้นำยุโรปไม่สามารถนำเสนอมาตรการกู้วิกฤตที่ชัดเจนและเด็ดขาดในการสกัดวิกฤตไม่ให้ลุกลามออกไปได้
ความหวังที่ว่า จีนและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อื่นๆ อาจจะเข้ามาช่วยกอบกู้วิกฤตนั้น ถือเป็นเรื่องเก่าที่นำมาเล่าใหม่ ในขณะที่ ผู้เชี่ยวชาญบางรายแนะให้ระมัดระวัง เนื่องจากข้อตกลงจากการประชุมสุดยอดอาจจะเป็นการยัดเยียดข้อเสนอให้ประเทศเหล่านี้เข้าร่วมในมาตรการกู้วิกฤต มากกว่าที่จะเป็นเข้ามามีส่วนร่วมโดยสมัครใจ
ภายใต้แผนการที่ผู้นำยูโรโซนได้ให้ความเห็นชอบเมื่อช่วงเช้าวันพฤหัสบดีที่ผ่านมานั้น หนี้ของกรีซจะลดลง ขณะที่ธนาคารของยุโรปจะได้รับการปรับโครงสร้างเงินทุน และกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีวงเงินเพิ่มขึ้นเพื่อให้กองทุนมีศักยภาพมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ใบสั่งยาที่ผู้นำยุโรปจ่ายมานี้ ดูเหมือนว่าจะก่อให้เกิดปัญหามากกว่าที่จะแก้ปัญหา
การลดมูลค่าพันธบัตรรัฐบาลกรีซที่เจ้าหนี้ภาคเอกชนถือครองอยู่ลง 50% นั้น จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อธนาคารที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตอยู่แล้ว ดังนั้น จึงมีการคาดการณ์กันว่าผู้นำของยุโรปคงจะต้องมางัดข้อกันอีกในเรื่องรายละเอียดของการปรับโครงสร้างเงินทุน ซึ่งเป็นประเด็นที่ยังไม่ได้มีการตัดสินใจ
การที่แต่ละฝ่ายยังคงลังเลและรีรอที่จะแบ่งปันทรัพยากรในส่วนของตนเพื่อแก้ปัญหานั้น ไม่เพียงแต่จะเป็นภัยคุกคามความอยู่รอดของยุโรปเท่านั้น แต่ยังรวมถึงเศรษฐกิจโลกโดยรวมด้วย ทั้งนี้ ยูโรโซนกำลังพิจารณาที่จะหันไปพึ่งเงินทุนจากจีนและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อื่นๆ ด้วยการจัดตั้งนิติบุคคลเฉพาะกิจ (SPV) ขึ้นมาแห่งหนึ่ง หรือมากกว่านั้น
การสร้างเสถียรภาพในยูโรโซนถือเป็นเรื่องของจีนด้วยเช่นกัน เนื่องจากยุโรปเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่ที่สุดของจีน และจีนก็ได้แสดงความเชื่อมั่นมาโดยตลอดว่า ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (อียู) จะมีปัญญาและความสามารถในการคลี่คลายวิกฤตได้ในที่สุด
อย่างไรก็ตาม เซียง โหว นักวิจัยของสถาบันสังคมศาสตร์จีน (CASS) ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยชั้นนำของประเทศ กล่าวว่า การที่จีนจะเสนอตัวเข้าช่วยหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับมาตรการกู้วิกฤตว่าเป็นเช่นไร
"จะเป็นอย่างไรถ้าหากมีการผิดนัดชำระหนี้ขึ้นในอนาคต หรือหากประเทศอื่นๆเผชิญวิกฤตซ้ำรอยกรีซ ผู้คนจำนวนมากก็คงจะตั้งคำถามทำไมเราจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานการณ์ที่ยุ่งเหยิงเช่นนี้ด้วย" นายเซียงกล่าว "กุญแจที่จะแก้ไขวิกฤตหนี้และเส้นชีวิตของเศรษฐกิจยุโรปนั้น อยู่ในกำมือของยุโรปเอง มากกว่าที่จะอยู่ในกำมือของจีน"
เขากล่าวต่อไปว่า คงจะเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้หากปล่อยให้ประเทศกำลังพัฒนาอย่างจีนมาคอยตามล้างตามเช็ด ในขณะที่ยุโรปนั่งอยู่เฉยๆ "มันก็เหมือนกับการที่ใครคนหนึ่งทำให้เกิดรูขนาดใหญ่ขึ้นมา แล้วต้องขอให้อีกคนเข้าอุดรูโหว่นั้น"
ในระยะสั้นนั้น ยูโรโซนจะต้องสรุปแผนการที่ชัดเจนกว่านี้ เพื่อฟื้นความเชื่อมั่นของนักลงทุน และป้องกันไม่ให้วิกฤตหนี้ลุกลามออกไปอีก สำหรับในระยะยาว "ยูโรโซนควรจะจัดระเบียบภายในบ้านของตัวเองด้วยการปฏิรูปแม้ว่าเป็นเรื่องที่เจ็บปวดก็ตาม รวมทั้งใช้นโยบายการเงินและการคลังอย่างรับผิดชอบ" นายเซียงกล่าว
ในขณะเดียวกัน นักเศรษฐศาสตร์ของยุโรปบางรายก็มองว่า ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ควรจะเข้ามาช่วยเหลือ เพราะการป้องกันไม่ให้เศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ภาวะถดถอยนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เมื่อพิจารณาจากการฟื้นตัวที่เปราะบางของเศรษฐกิจโลก
ฟาเบียน ซูลีก หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของศูนย์นโยบายยุโรป ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยที่ตั้งอยู่ในกรุงบรัสเซลส์ กล่าวกับซินหัวผ่านทางอีเมลว่า ประเทศในกลุ่ม BRICS ซึ่งประกอบด้วยบราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้นั้น ควรจะมองในระยะยาว รวมถึงซื้อพันธบัตรและเข้าลงทุนในประเทศเหล่านี้
ซูลีกกล่าวว่า เศรษฐกิจโลกไม่สมควรจะได้รับความบอบช้ำจากภาคการเงินอีกแล้วในช่วงเวลานี้ นอกจากนี้ กองทุนความมั่งคั่งก็มีเงินทุนจำนวนมหาศาลที่จะลงทุนในทางเลือกที่มีอยู่ไม่มากนักในขณะนี้
อย่างไรก็ตาม เซียงกล่าวว่า การตัดสินใจเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ลำบาก และนักลงทุนก็ต้องการความเชื่อมั่นว่า สิ่งที่ตัวเองลงทุนไปนั้นปลอดภัย และให้ผลตอบแทนกลับคืนมา
จาง เจิงฟู จากสำนักข่าวซินหัวรายงาน
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
นักวิเคราะห์มองว่า การประชุมสุดยอดยูโรโซนครั้งที่ 2 ซึ่งยืดเยื้อมาจนกระทั่งถึงเช้าวันพฤหัสบดีนั้น ถือเป็นอีกครั้งที่ผู้นำยุโรปไม่สามารถนำเสนอมาตรการกู้วิกฤตที่ชัดเจนและเด็ดขาดในการสกัดวิกฤตไม่ให้ลุกลามออกไปได้
ความหวังที่ว่า จีนและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อื่นๆ อาจจะเข้ามาช่วยกอบกู้วิกฤตนั้น ถือเป็นเรื่องเก่าที่นำมาเล่าใหม่ ในขณะที่ ผู้เชี่ยวชาญบางรายแนะให้ระมัดระวัง เนื่องจากข้อตกลงจากการประชุมสุดยอดอาจจะเป็นการยัดเยียดข้อเสนอให้ประเทศเหล่านี้เข้าร่วมในมาตรการกู้วิกฤต มากกว่าที่จะเป็นเข้ามามีส่วนร่วมโดยสมัครใจ
ภายใต้แผนการที่ผู้นำยูโรโซนได้ให้ความเห็นชอบเมื่อช่วงเช้าวันพฤหัสบดีที่ผ่านมานั้น หนี้ของกรีซจะลดลง ขณะที่ธนาคารของยุโรปจะได้รับการปรับโครงสร้างเงินทุน และกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) จะมีวงเงินเพิ่มขึ้นเพื่อให้กองทุนมีศักยภาพมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ใบสั่งยาที่ผู้นำยุโรปจ่ายมานี้ ดูเหมือนว่าจะก่อให้เกิดปัญหามากกว่าที่จะแก้ปัญหา
การลดมูลค่าพันธบัตรรัฐบาลกรีซที่เจ้าหนี้ภาคเอกชนถือครองอยู่ลง 50% นั้น จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อธนาคารที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตอยู่แล้ว ดังนั้น จึงมีการคาดการณ์กันว่าผู้นำของยุโรปคงจะต้องมางัดข้อกันอีกในเรื่องรายละเอียดของการปรับโครงสร้างเงินทุน ซึ่งเป็นประเด็นที่ยังไม่ได้มีการตัดสินใจ
การที่แต่ละฝ่ายยังคงลังเลและรีรอที่จะแบ่งปันทรัพยากรในส่วนของตนเพื่อแก้ปัญหานั้น ไม่เพียงแต่จะเป็นภัยคุกคามความอยู่รอดของยุโรปเท่านั้น แต่ยังรวมถึงเศรษฐกิจโลกโดยรวมด้วย ทั้งนี้ ยูโรโซนกำลังพิจารณาที่จะหันไปพึ่งเงินทุนจากจีนและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อื่นๆ ด้วยการจัดตั้งนิติบุคคลเฉพาะกิจ (SPV) ขึ้นมาแห่งหนึ่ง หรือมากกว่านั้น
การสร้างเสถียรภาพในยูโรโซนถือเป็นเรื่องของจีนด้วยเช่นกัน เนื่องจากยุโรปเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่ที่สุดของจีน และจีนก็ได้แสดงความเชื่อมั่นมาโดยตลอดว่า ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (อียู) จะมีปัญญาและความสามารถในการคลี่คลายวิกฤตได้ในที่สุด
อย่างไรก็ตาม เซียง โหว นักวิจัยของสถาบันสังคมศาสตร์จีน (CASS) ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยชั้นนำของประเทศ กล่าวว่า การที่จีนจะเสนอตัวเข้าช่วยหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับมาตรการกู้วิกฤตว่าเป็นเช่นไร
"จะเป็นอย่างไรถ้าหากมีการผิดนัดชำระหนี้ขึ้นในอนาคต หรือหากประเทศอื่นๆเผชิญวิกฤตซ้ำรอยกรีซ ผู้คนจำนวนมากก็คงจะตั้งคำถามทำไมเราจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานการณ์ที่ยุ่งเหยิงเช่นนี้ด้วย" นายเซียงกล่าว "กุญแจที่จะแก้ไขวิกฤตหนี้และเส้นชีวิตของเศรษฐกิจยุโรปนั้น อยู่ในกำมือของยุโรปเอง มากกว่าที่จะอยู่ในกำมือของจีน"
เขากล่าวต่อไปว่า คงจะเป็นเรื่องที่ไม่สามารถยอมรับได้หากปล่อยให้ประเทศกำลังพัฒนาอย่างจีนมาคอยตามล้างตามเช็ด ในขณะที่ยุโรปนั่งอยู่เฉยๆ "มันก็เหมือนกับการที่ใครคนหนึ่งทำให้เกิดรูขนาดใหญ่ขึ้นมา แล้วต้องขอให้อีกคนเข้าอุดรูโหว่นั้น"
ในระยะสั้นนั้น ยูโรโซนจะต้องสรุปแผนการที่ชัดเจนกว่านี้ เพื่อฟื้นความเชื่อมั่นของนักลงทุน และป้องกันไม่ให้วิกฤตหนี้ลุกลามออกไปอีก สำหรับในระยะยาว "ยูโรโซนควรจะจัดระเบียบภายในบ้านของตัวเองด้วยการปฏิรูปแม้ว่าเป็นเรื่องที่เจ็บปวดก็ตาม รวมทั้งใช้นโยบายการเงินและการคลังอย่างรับผิดชอบ" นายเซียงกล่าว
ในขณะเดียวกัน นักเศรษฐศาสตร์ของยุโรปบางรายก็มองว่า ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ควรจะเข้ามาช่วยเหลือ เพราะการป้องกันไม่ให้เศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ภาวะถดถอยนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เมื่อพิจารณาจากการฟื้นตัวที่เปราะบางของเศรษฐกิจโลก
ฟาเบียน ซูลีก หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของศูนย์นโยบายยุโรป ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยที่ตั้งอยู่ในกรุงบรัสเซลส์ กล่าวกับซินหัวผ่านทางอีเมลว่า ประเทศในกลุ่ม BRICS ซึ่งประกอบด้วยบราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้นั้น ควรจะมองในระยะยาว รวมถึงซื้อพันธบัตรและเข้าลงทุนในประเทศเหล่านี้
ซูลีกกล่าวว่า เศรษฐกิจโลกไม่สมควรจะได้รับความบอบช้ำจากภาคการเงินอีกแล้วในช่วงเวลานี้ นอกจากนี้ กองทุนความมั่งคั่งก็มีเงินทุนจำนวนมหาศาลที่จะลงทุนในทางเลือกที่มีอยู่ไม่มากนักในขณะนี้
อย่างไรก็ตาม เซียงกล่าวว่า การตัดสินใจเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ลำบาก และนักลงทุนก็ต้องการความเชื่อมั่นว่า สิ่งที่ตัวเองลงทุนไปนั้นปลอดภัย และให้ผลตอบแทนกลับคืนมา
จาง เจิงฟู จากสำนักข่าวซินหัวรายงาน
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 145
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 28 ตุลาคม 2554 16:43:06 น.
สำนักงานสถิติแห่งชาติสเปนเปิดเผยว่า อัตราว่างงานของประเทศขยายตัวขึ้นแตะ 21.5% ในไตรมาสสาม เทียบกับระดับ 20.9% ในไตรมาสสอง ซึ่งตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับสูงสุดในรอบ 15 ปี และสูงสุดในบรรดากลุ่มประเทศที่ใช้สกุลเงินยูโร
ขณะเดียวกัน สำนักงานสถิติรายงานว่า ราคาผู้บริโภคของสเปนขยายตัว 3% ในเดือนต.ค. จากปีที่แล้ว หลังจากที่ขยายตัว 3% ในเดือนก.ย.
ทั้งนี้ รัฐบาลสเปนได้ใช้มาตรการรัดเข็มขัดจนส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจปีนี้อาจจะไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ระดับ 1.3% ส่วนหนี้สินของประเทศ คาดว่าจะขยายตัวขึ้นแตะ 67% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ซึ่งสูงกว่าระดับหนี้สินในปี 2550 ถึงเกือบ 2 เท่า
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
สำนักงานสถิติแห่งชาติสเปนเปิดเผยว่า อัตราว่างงานของประเทศขยายตัวขึ้นแตะ 21.5% ในไตรมาสสาม เทียบกับระดับ 20.9% ในไตรมาสสอง ซึ่งตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับสูงสุดในรอบ 15 ปี และสูงสุดในบรรดากลุ่มประเทศที่ใช้สกุลเงินยูโร
ขณะเดียวกัน สำนักงานสถิติรายงานว่า ราคาผู้บริโภคของสเปนขยายตัว 3% ในเดือนต.ค. จากปีที่แล้ว หลังจากที่ขยายตัว 3% ในเดือนก.ย.
ทั้งนี้ รัฐบาลสเปนได้ใช้มาตรการรัดเข็มขัดจนส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจปีนี้อาจจะไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ระดับ 1.3% ส่วนหนี้สินของประเทศ คาดว่าจะขยายตัวขึ้นแตะ 67% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ซึ่งสูงกว่าระดับหนี้สินในปี 2550 ถึงเกือบ 2 เท่า
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 146
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- ศุกร์ที่ 28 ตุลาคม 2554 16:43:06 น.
สำนักงานสถิติแห่งชาติสเปนเปิดเผยว่า อัตราว่างงานของประเทศขยายตัวขึ้นแตะ 21.5% ในไตรมาสสาม เทียบกับระดับ 20.9% ในไตรมาสสอง ซึ่งตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับสูงสุดในรอบ 15 ปี และสูงสุดในบรรดากลุ่มประเทศที่ใช้สกุลเงินยูโร
ขณะเดียวกัน สำนักงานสถิติรายงานว่า ราคาผู้บริโภคของสเปนขยายตัว 3% ในเดือนต.ค. จากปีที่แล้ว หลังจากที่ขยายตัว 3% ในเดือนก.ย.
ทั้งนี้ รัฐบาลสเปนได้ใช้มาตรการรัดเข็มขัดจนส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจปีนี้อาจจะไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ระดับ 1.3% ส่วนหนี้สินของประเทศ คาดว่าจะขยายตัวขึ้นแตะ 67% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ซึ่งสูงกว่าระดับหนี้สินในปี 2550 ถึงเกือบ 2 เท่า
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
สำนักงานสถิติแห่งชาติสเปนเปิดเผยว่า อัตราว่างงานของประเทศขยายตัวขึ้นแตะ 21.5% ในไตรมาสสาม เทียบกับระดับ 20.9% ในไตรมาสสอง ซึ่งตัวเลขล่าสุดถือเป็นระดับสูงสุดในรอบ 15 ปี และสูงสุดในบรรดากลุ่มประเทศที่ใช้สกุลเงินยูโร
ขณะเดียวกัน สำนักงานสถิติรายงานว่า ราคาผู้บริโภคของสเปนขยายตัว 3% ในเดือนต.ค. จากปีที่แล้ว หลังจากที่ขยายตัว 3% ในเดือนก.ย.
ทั้งนี้ รัฐบาลสเปนได้ใช้มาตรการรัดเข็มขัดจนส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจปีนี้อาจจะไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ระดับ 1.3% ส่วนหนี้สินของประเทศ คาดว่าจะขยายตัวขึ้นแตะ 67% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ซึ่งสูงกว่าระดับหนี้สินในปี 2550 ถึงเกือบ 2 เท่า
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย สุนิตา พรรณรักษา/ปนัยดา โทร.02-2535000 ต่อ 323 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 147
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- เสาร์ที่ 29 ตุลาคม 2554 09:02:28 น.
สกุลเงินยูโรอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) หลังจากที่พุ่งขึ้นแข็งแกร่งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา โดยยูโรได้รับแรงกดดันจากรายงานที่ว่า รัฐบาลอิตาลีสามารถระดมทุนจากการประมูลพันธัตรได้น้อยเกินคาด ซึ่งข่าวดังกล่าวได้บดบังปัจจัยบวกจากข้อตกลงการใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้ของผู้นำสหภาพยุโรป
ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลง 0.20% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.4161 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับของวันพฤหัสบดีที่ 1.4190 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินปอนด์ขยับขึ้น 0.07% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.6113 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.6102 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง 0.30% เมื่อเทียบกับเงินเยนที่ระดับ 75.720 เยน จากระดับ 75.950 เยน แต่พุ่งขึ้น 0.31% เมื่อเทียบกับฟรังค์สวิสที่ระดับ 0.8623 ฟรังค์ จากระดับ 0.8596 ฟรังค์
ค่าเงินดอลลาร์ออสเตรเลียอ่อนตัวลง 0.13% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.0713 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.0727 ดอลลาร์สหรัฐ และค่าเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์อ่อนตัวลง 0.02% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.8223 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8225 ดอลลาร์สหรัฐ
เมื่อวันพฤหับดีที่ผ่านมา สกุลเงินยูโรพุ่งขึ้นแข็งแกร่งกว่า 2% หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
แต่ยูโรอ่อนแรงลงเมื่อคืนนี้ หลังจากมีรายงานว่ารัฐบาลอิตาลีสามารถระดมทุนจากการประมูลพันธัตรได้น้อยเกินคาด นอกจากนี้ นักลงทุนยังวิตกกังวลต่อรายงานของธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ที่ระบุว่า ปริมาณการปล่อยกู้ให้กับภาคเอกชนในยูโรโซนมีอัตราการเติบโตทรงตัวที่ 2.5 % ต่อปี สู่ระดับ 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือนก.ย. ซึ่งต่ำกว่าตัวเลขคาดการณ์ของนักเศรษฐศาสตร์ที่ระดับ 2.6% ต่อปี และคาดว่าริมาณการปล่อยกู้อาจลดลงอีกในขณะที่เศรษฐกิจยูโรโซนชะลอตัว
ค่าเงินเยนถอยร่นลงจากระดับสูงสุดในระหว่างวัน หลังจากนายจุน อาซุมิ รัฐมนตรีคลังญี่ปุ่นส่งสัญญาณว่าจะเข้าแทรกแซงตลาดปริวรรตเงินเตรา หากสกุลเงินเยนแข็งค่าขึ้นจนถึงระดับที่จะสร้างความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ
สำนักข่าวเกียวโดรายงานว่า นายอาซุมิกล่าวกับผู้สื่อข่าวที่กรุงโตเกียวเมื่อวานนี้ว่า อัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์-เยน ควรเปลี่ยนแปลงตามเศรษฐกิจสหรัฐที่ฟื้นจากภาวะชะลอตัว พร้อมกับเตือนว่าอาจมีการแทรกแซงตลาดเพื่อทำให้เงินเยนอ่อนค่าลง
"สถานการณ์ในสหรัฐดูเหมือนจะดีขึ้นกว่าที่คาดไว้ ดังนั้นอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศควรเปลี่ยนแปลงตามเศรษฐกิจที่แท้จริง เราจะจับตาดูตลาดปริวรรตเงินตราอย่างใกล้ชิด และรัฐบาลจะเข้าแทรกแซงเมื่อถึงคราวจำเป็นจริงๆ" เขากล่าว
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐได้แรงหนุนหลังจากธอมสัน รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนรายงานว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 60.9 จุด จากระดับ 59.4 ของเดือนก.ย. ขณะที่กระทรวงพาณิชย์สหรัฐรายงานว่า รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% และตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.6%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
สกุลเงินยูโรอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) หลังจากที่พุ่งขึ้นแข็งแกร่งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา โดยยูโรได้รับแรงกดดันจากรายงานที่ว่า รัฐบาลอิตาลีสามารถระดมทุนจากการประมูลพันธัตรได้น้อยเกินคาด ซึ่งข่าวดังกล่าวได้บดบังปัจจัยบวกจากข้อตกลงการใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้ของผู้นำสหภาพยุโรป
ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลง 0.20% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.4161 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับของวันพฤหัสบดีที่ 1.4190 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินปอนด์ขยับขึ้น 0.07% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.6113 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.6102 ดอลลาร์สหรัฐ
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง 0.30% เมื่อเทียบกับเงินเยนที่ระดับ 75.720 เยน จากระดับ 75.950 เยน แต่พุ่งขึ้น 0.31% เมื่อเทียบกับฟรังค์สวิสที่ระดับ 0.8623 ฟรังค์ จากระดับ 0.8596 ฟรังค์
ค่าเงินดอลลาร์ออสเตรเลียอ่อนตัวลง 0.13% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 1.0713 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 1.0727 ดอลลาร์สหรัฐ และค่าเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์อ่อนตัวลง 0.02% เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐที่ระดับ 0.8223 ดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 0.8225 ดอลลาร์สหรัฐ
เมื่อวันพฤหับดีที่ผ่านมา สกุลเงินยูโรพุ่งขึ้นแข็งแกร่งกว่า 2% หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
แต่ยูโรอ่อนแรงลงเมื่อคืนนี้ หลังจากมีรายงานว่ารัฐบาลอิตาลีสามารถระดมทุนจากการประมูลพันธัตรได้น้อยเกินคาด นอกจากนี้ นักลงทุนยังวิตกกังวลต่อรายงานของธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ที่ระบุว่า ปริมาณการปล่อยกู้ให้กับภาคเอกชนในยูโรโซนมีอัตราการเติบโตทรงตัวที่ 2.5 % ต่อปี สู่ระดับ 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือนก.ย. ซึ่งต่ำกว่าตัวเลขคาดการณ์ของนักเศรษฐศาสตร์ที่ระดับ 2.6% ต่อปี และคาดว่าริมาณการปล่อยกู้อาจลดลงอีกในขณะที่เศรษฐกิจยูโรโซนชะลอตัว
ค่าเงินเยนถอยร่นลงจากระดับสูงสุดในระหว่างวัน หลังจากนายจุน อาซุมิ รัฐมนตรีคลังญี่ปุ่นส่งสัญญาณว่าจะเข้าแทรกแซงตลาดปริวรรตเงินเตรา หากสกุลเงินเยนแข็งค่าขึ้นจนถึงระดับที่จะสร้างความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ
สำนักข่าวเกียวโดรายงานว่า นายอาซุมิกล่าวกับผู้สื่อข่าวที่กรุงโตเกียวเมื่อวานนี้ว่า อัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์-เยน ควรเปลี่ยนแปลงตามเศรษฐกิจสหรัฐที่ฟื้นจากภาวะชะลอตัว พร้อมกับเตือนว่าอาจมีการแทรกแซงตลาดเพื่อทำให้เงินเยนอ่อนค่าลง
"สถานการณ์ในสหรัฐดูเหมือนจะดีขึ้นกว่าที่คาดไว้ ดังนั้นอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศควรเปลี่ยนแปลงตามเศรษฐกิจที่แท้จริง เราจะจับตาดูตลาดปริวรรตเงินตราอย่างใกล้ชิด และรัฐบาลจะเข้าแทรกแซงเมื่อถึงคราวจำเป็นจริงๆ" เขากล่าว
ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐได้แรงหนุนหลังจากธอมสัน รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนรายงานว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 60.9 จุด จากระดับ 59.4 ของเดือนก.ย. ขณะที่กระทรวงพาณิชย์สหรัฐรายงานว่า รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% และตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.6%
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 148
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- เสาร์ที่ 29 ตุลาคม 2554 07:10:41 น.
ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดบวกเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) เพราะได้แรงหนุนจากการที่ผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) มีมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) อย่างไรก็ตาม ภาวะการซื้อขายเป็นไปอย่างผันผวนเนื่องจากนักลงทุนเริ่มไม่มั่นใจว่ามาตรการดังกล่าวจะสามารถแก้ไขวิกฤตหนี้ได้หรือไม่
ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดบวก 22.56 จุด หรือ 0.18% แตะที่ 12,231.11 จุด ดัชนี S&P 500 ปิดบวก 0.49 จุด หรือ 0.04% แตะที่ 1,285.08 จุด และดัชนี Nasdaq ปิดลบ 1.48 จุด หรือ 0.05% แตะที่ 2,737.15 จุด
ปริมาณการซื้อขายในตลาดหุ้นนิวยอร์กมีอยู่ราว 4.4 พันล้านหุ้น มีจำนวนหุ้นลบมากกว่าหุ้นบวกในอัตราส่วนเกือบ 1 ต่อ 1
ดัชนีดาวโจนส์ปิดบวกติดต่อกัน 3 วันทำการ หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะไม่ให้ลุกลามไปยังประเทศอื่นๆที่มีความสำคัญในเชิงระบบของยูโรโซน เช่นอิตาลี โดยมาตรการดังกล่าวครอบคลุมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
นอกจากนี้ ตลาดยังได้แรงหนุนจากรายงานของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐที่ระบุว่า ตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.6% ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าเมื่อเทียบกับอัตราการขยายตัวในเดือนส.ค. เพราะได้แรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของยอดการใช้จ่ายด้านสินค้าคงทน รวมถึงรถยนต์ ส่วนรายได้ส่วนบุคคลปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% ในเดือนก.ย. หลังจากที่ปรับตัวลดลง 0.1% ในเดือนส.ค.
อย่างไรก็ตาม ภาวะการซื้อขายเป็นไปอย่างผันผวนเนื่องจากนักลงทุนเริ่มไม่มั่นใจว่า กองทุน EFSF จะมีศักยภาพมากพอที่จะควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะได้ นอกจากนี้ ต้นทุนการกู้ยืมของสเปนและอิตาลีที่ปรับตัวสูงขึ้น ยังทำให้นักลงทุนวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานะการเงินของประเทศยูโรโซนมากขึ้นด้วย
หุ้นเวิร์ลพูล คอร์ป ร่วงลง 14% หลังจากบริษัทประกาศลดการจ้างงาน 5,000 ตำแหน่ง ขณะที่หุ้นเคเบิลเทเลวิชัน ซิสเต็มส์ คอร์ป ร่วงลง 12.2% หลังจากบริษัทเปิดเผยรายได้สุทธิร่วงลงอย่างหนักในไตรมาส 3
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดบวกเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) เพราะได้แรงหนุนจากการที่ผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) มีมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) อย่างไรก็ตาม ภาวะการซื้อขายเป็นไปอย่างผันผวนเนื่องจากนักลงทุนเริ่มไม่มั่นใจว่ามาตรการดังกล่าวจะสามารถแก้ไขวิกฤตหนี้ได้หรือไม่
ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดบวก 22.56 จุด หรือ 0.18% แตะที่ 12,231.11 จุด ดัชนี S&P 500 ปิดบวก 0.49 จุด หรือ 0.04% แตะที่ 1,285.08 จุด และดัชนี Nasdaq ปิดลบ 1.48 จุด หรือ 0.05% แตะที่ 2,737.15 จุด
ปริมาณการซื้อขายในตลาดหุ้นนิวยอร์กมีอยู่ราว 4.4 พันล้านหุ้น มีจำนวนหุ้นลบมากกว่าหุ้นบวกในอัตราส่วนเกือบ 1 ต่อ 1
ดัชนีดาวโจนส์ปิดบวกติดต่อกัน 3 วันทำการ หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียูมีมติให้ใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะไม่ให้ลุกลามไปยังประเทศอื่นๆที่มีความสำคัญในเชิงระบบของยูโรโซน เช่นอิตาลี โดยมาตรการดังกล่าวครอบคลุมถึงการเพิ่มขนาดให้กับกองทุน EFSF เป็น 1 ล้านล้านยูโร (1.37 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) และปรับลดมูลค่าพันธบัตร หรือการทำ haircut ของรัฐบาลกรีซซึ่งถือครองโดยธนาคารเอกชนลงในสัดส่วน 50%
นอกจากนี้ ตลาดยังได้แรงหนุนจากรายงานของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐที่ระบุว่า ตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.6% ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าเมื่อเทียบกับอัตราการขยายตัวในเดือนส.ค. เพราะได้แรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของยอดการใช้จ่ายด้านสินค้าคงทน รวมถึงรถยนต์ ส่วนรายได้ส่วนบุคคลปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% ในเดือนก.ย. หลังจากที่ปรับตัวลดลง 0.1% ในเดือนส.ค.
อย่างไรก็ตาม ภาวะการซื้อขายเป็นไปอย่างผันผวนเนื่องจากนักลงทุนเริ่มไม่มั่นใจว่า กองทุน EFSF จะมีศักยภาพมากพอที่จะควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะได้ นอกจากนี้ ต้นทุนการกู้ยืมของสเปนและอิตาลีที่ปรับตัวสูงขึ้น ยังทำให้นักลงทุนวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานะการเงินของประเทศยูโรโซนมากขึ้นด้วย
หุ้นเวิร์ลพูล คอร์ป ร่วงลง 14% หลังจากบริษัทประกาศลดการจ้างงาน 5,000 ตำแหน่ง ขณะที่หุ้นเคเบิลเทเลวิชัน ซิสเต็มส์ คอร์ป ร่วงลง 12.2% หลังจากบริษัทเปิดเผยรายได้สุทธิร่วงลงอย่างหนักในไตรมาส 3
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 149
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- เสาร์ที่ 29 ตุลาคม 2554 08:11:53 น.
สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดลบเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) ซึ่งเป็นการปรับตัวลงครั้งแรกในรอบ 6 วันทำการ เนื่องจากนักลงทุนลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย หลังจากสหรัฐเปิดเผยว่าตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคและดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคขยายตัวได้ดีเกินคาด และหลังจากที่ประชุมผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) มีมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้
สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนธ.ค.ปิดลบ 50 เซนต์ หรือ 0.03% แตะที่ 1,747.2 ดอลลาร์/ออนซ์
สัญญาโลหะเงินส่งมอบเดือนธ.ค.เพิ่มขึ้น 17.6 เซนต์ ปิดที่ 35.288 ดอลลาร์/ออนซ์ และสัญญาโลหะทองแดงส่งมอบเดือนธ.ค.เพิ่มขึ้น 1.4 เซนต์ ปิดที่ 3.706 ดอลลาร์/ปอนด์
ส่วนสัญญาพัลลาเดียมส่งมอบเดือนธ.ค.ร่วงลง 1.55 ดอลลาร์ ปิดที่ 668.35 ดอลลาร์/ออนซ์ และสัญญาพลาตินัมส่งมอบเดือนม.ค.พุ่งขึ้น 10.40 ดอลลาร์ ปิดที่ 1,651.80 ดอลลาร์/ออนซ์
สำนักข่าวซินหัวรายงานโดยอ้างความคิดเห็นของนักวิเคราะห์ในตลาดว่า นักลงทุนเทขายสัญญาทองคำหลังจากที่กระแสความวิตกกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มเศรษฐกิจโลกเริ่มลดน้อยลง หลังจากธอมสัน รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนรายงานว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 60.9 จุด จากระดับ 59.4 ของเดือนก.ย. ขณะที่กระทรวงพาณิชย์สหรัฐรายงานว่า รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% และตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.6%
นอกจากนี้ นักลงทุนยังลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียู ลงมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) และการเพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดลบเมื่อคืนนี้ (28 ต.ค.) ซึ่งเป็นการปรับตัวลงครั้งแรกในรอบ 6 วันทำการ เนื่องจากนักลงทุนลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย หลังจากสหรัฐเปิดเผยว่าตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคและดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคขยายตัวได้ดีเกินคาด และหลังจากที่ประชุมผู้นำสหภาพยุโรป (อียู) มีมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้
สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนธ.ค.ปิดลบ 50 เซนต์ หรือ 0.03% แตะที่ 1,747.2 ดอลลาร์/ออนซ์
สัญญาโลหะเงินส่งมอบเดือนธ.ค.เพิ่มขึ้น 17.6 เซนต์ ปิดที่ 35.288 ดอลลาร์/ออนซ์ และสัญญาโลหะทองแดงส่งมอบเดือนธ.ค.เพิ่มขึ้น 1.4 เซนต์ ปิดที่ 3.706 ดอลลาร์/ปอนด์
ส่วนสัญญาพัลลาเดียมส่งมอบเดือนธ.ค.ร่วงลง 1.55 ดอลลาร์ ปิดที่ 668.35 ดอลลาร์/ออนซ์ และสัญญาพลาตินัมส่งมอบเดือนม.ค.พุ่งขึ้น 10.40 ดอลลาร์ ปิดที่ 1,651.80 ดอลลาร์/ออนซ์
สำนักข่าวซินหัวรายงานโดยอ้างความคิดเห็นของนักวิเคราะห์ในตลาดว่า นักลงทุนเทขายสัญญาทองคำหลังจากที่กระแสความวิตกกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มเศรษฐกิจโลกเริ่มลดน้อยลง หลังจากธอมสัน รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชิแกนรายงานว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือนต.ค.เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 60.9 จุด จากระดับ 59.4 ของเดือนก.ย. ขณะที่กระทรวงพาณิชย์สหรัฐรายงานว่า รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% และตัวเลขการใช้จ่ายผู้บริโภคเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.6%
นอกจากนี้ นักลงทุนยังลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย หลังจากที่ประชุมสุดยอดผู้นำอียู ลงมติใช้มาตรการควบคุมวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขนาดของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF) และการเพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
- บูรพาไม่แพ้
- Verified User
- โพสต์: 2533
- ผู้ติดตาม: 0
Re: บทสรุป กรีซ กับตลาดหุ้น
โพสต์ที่ 150
ข่าวต่างประเทศ สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- เสาร์ที่ 29 ตุลาคม 2554 10:11:52 น.
กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ตัวเลขการใช้จ่ายส่วนบุคคล (PCE) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.6% ในเดือนก.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าเดือนส.ค.ถึง 3 เท่า เพราะได้แรงหนุนจากการพุ่งขึ้นของยอดการใช้จ่ายสินค้าคงทน รวมถึงรถยนต์ และยอดการใช้จ่ายของสินค้าที่ไม่คงทน รวมถึงอาหาร ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าผู้บริโภคเริ่มกลับมาจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น หลังจากเศรษฐกิจส่งสัญญาณการฟื้นตัว
ขณะที่รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.1% หลังจากที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% ในเดือนส.ค. ส่วนอัตราการออมเดือนก.ย.ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 3.6% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2550 จากเดือนส.ค.ที่ระดับ 4.5%
ตัวเลขการใช้จ่ายส่วนบุคคลและรายได้ส่วนบุคคลที่เพิ่มขึ้นในเดือนก.ย.บ่งชี้ถึงสภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวขึ้นของสหรัฐ โดยก่อนหน้านี้ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่แท้จริงประจำไตรมาส 3 ขยายตัว 2.5% ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดในรอบหนึ่งปี
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
ข่าวดีเริ่มเข้ามาเรื่อยๆแล้วครับ
กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ตัวเลขการใช้จ่ายส่วนบุคคล (PCE) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.6% ในเดือนก.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าเดือนส.ค.ถึง 3 เท่า เพราะได้แรงหนุนจากการพุ่งขึ้นของยอดการใช้จ่ายสินค้าคงทน รวมถึงรถยนต์ และยอดการใช้จ่ายของสินค้าที่ไม่คงทน รวมถึงอาหาร ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าผู้บริโภคเริ่มกลับมาจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น หลังจากเศรษฐกิจส่งสัญญาณการฟื้นตัว
ขณะที่รายได้ส่วนบุคคลเดือนก.ย.เพิ่มขึ้น 0.1% หลังจากที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1% ในเดือนส.ค. ส่วนอัตราการออมเดือนก.ย.ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 3.6% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2550 จากเดือนส.ค.ที่ระดับ 4.5%
ตัวเลขการใช้จ่ายส่วนบุคคลและรายได้ส่วนบุคคลที่เพิ่มขึ้นในเดือนก.ย.บ่งชี้ถึงสภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวขึ้นของสหรัฐ โดยก่อนหน้านี้ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่แท้จริงประจำไตรมาส 3 ขยายตัว 2.5% ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดในรอบหนึ่งปี
--อินโฟเควสท์ แปลและเรียบเรียงโดย รัตนา พงศ์ทวิช โทร.02-2535000 ต่อ 327 อีเมล์: [email protected]--
ข่าวดีเริ่มเข้ามาเรื่อยๆแล้วครับ