FYI - For Your Information
- Paul VI
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 10538
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 32
เหมันต์กำลังจะผ่านพ้นไปจาก กทม.แล้วครับ พี่บู
เอาเพลงมาฝากพี่
เหมันต์ที่ผ่านพ้นไป - สุชาติ ชวางกูร
http://www.youtube.com/watch?v=_8agTJA3rbs
เอาเพลงมาฝากพี่
เหมันต์ที่ผ่านพ้นไป - สุชาติ ชวางกูร
http://www.youtube.com/watch?v=_8agTJA3rbs
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 38
CEO Blogs
กรุงเทพธุรกิจ
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554 03:00
ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ
คอลัมนิสต์ผู้เชี่ยวชาญด้านการเศรษฐกิจ คอลัมน์
อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นดาวเด่นของประเทศ ทั้งในเชิงของขนาดอุตสาหกรรม (ประมาณ 12% ของจีดีพีหรือ 1.2 ล้านล้านบาท)
และในเชิงของศักยภาพในอนาคต หมายความว่าเป็นอุตสาหกรรมที่จะขยายตัวได้ดี ดังนั้นจึงจะเป็นหัวจักรขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยนั่นเอง
อุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเมื่อปีที่แล้วผลิตรถยนต์ทั้งสิ้น 1.7 ล้านคันส่งออก 9 แสนคันและขายในประเทศ 8 แสนคัน คาดว่าปีนี้น่าจะผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 1.85 ล้านคัน โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเป็นใกล้ 1 ล้านคันและขายในประเทศเพิ่มเป็น 8.5 แสนคัน กล่าวคือมีแนวโน้มต่อเนื่องว่าจะเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศมากกว่าตลาดในไทย สะท้อนว่าประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกและปัจจุบันไทยน่าจะเป็นผู้ผลิตรถยนต์เป็นลำดับที่ 15 ของโลก ใกล้เคียงกับอังกฤษ แคนาดา เม็กซิโกและสาธารณรัฐเช็ก เป็นต้น แต่ก็ต้องยอมรับว่าการผลิตรถยนต์นั้นส่วนใหญ่จะมาจากจีน สหรัฐ ญี่ปุ่นและเยอรมนี กล่าวคือ 4 ประเทศดังกล่าวมีสัดส่วนการผลิตรถยนต์ประมาณ 55-60% ของการผลิตทั่วโลกโดยมีผู้ผลิตรายใหญ่ประมาณ 20 ประเทศ
ธนาคารโลกได้ทำการวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย ซึ่งผมเห็นว่ามีประโยชน์จึงขอนำมาสรุปดังนี้
1. ประเทศไทยไม่คิดจะพัฒนายี่ห้อรถของตนเอง (แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่ผิดเพราะบางประเทศที่พยายาม เช่น มาเลเซียก็ไม่ได้ประสบผลสำเร็จ) แต่นโยบายที่ค่อนข้างเปิดกว้างทำให้มีการลงทุนจากต่างประเทศ (โดยเฉพาะญี่ปุ่น) อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ทศวรรษ 60 แต่เน้นตลาดภายในจนกระทั่งปี 1997
2. วิกฤติเศรษฐกิจส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ทำให้เกิดการปฏิรูปโครงสร้างอุตสาหกรรมรถยนต์ 2 ประการคือ 1. การลดค่าเงินบาทและกำลังซื้อในประเทศที่ตกต่ำอย่างมาก (ยอดขายรถยนต์ในประเทศลดลงจากเกือบ 6 แสนคันในปี 1996 ก่อนวิกฤติเหลือยอดขายเพียงไม่ถึง 3 แสนคันในปี 1998) ผลักดันให้อุตสาหกรรมต้องหันมาเน้นการส่งออกเพื่อการฟื้นฟูยอดขายและ 2. วิกฤติเศรษฐกิจทำให้หุ้นส่วนคนไทยในบริษัทประกอบรถยนต์ต้องขายสัดส่วนของตนออกไปหมด ทำให้ต่างชาติเป็นเจ้าของอย่างเต็มที่ สำหรับผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เจ้าของเป็นคนไทยก็ต้องเลิกกิจการหรือขายให้ต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ เหลืออยู่แต่ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ระดับล่าง (ชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน) หมายความว่าชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงนั้นเป็นของต่างชาติเกือบหมด
3. ปัจจุบันอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยผลิตรถบรรทุกขนาดหนึ่งตัน (รถกระบะ) เป็นหลักคือคิดเป็นสัดส่วนเกือบ 70% ของการผลิตทั้งหมด แต่สัดส่วนของรถเก๋งได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะหลังและจะเพิ่มขึ้นได้อีกมากเพราะการผลิตรถยนต์อีโคคาร์ (รถยนต์ขนาดเล็กที่กินน้ำมันน้อยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า) น่าจะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดใน 3-4 ปีข้างหน้า ปีที่ผ่านมามีการผลิตอีโคคาร์ประมาณ 60,000 คันและปีนี้คาดว่าจะผลิตได้เพิ่มขึ้นอี 1 เท่าตัวเป็นอย่างน้อย ทั้งนี้หากไทยสามารถผลิตรถอีโคคาร์ได้สัก 2 แสนคันในอนาคตก็จะเป็นเพื่อการส่งออกประมาณ 2/3 หรือ 3/4 เพราะตลาดภายในมีขนาดที่จำกัด
4. ปัจจุบันไทยส่งออกรถกระบะเป็นหลักไปยัง 130 ประเทศ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อกำหนดของผู้ผลิต (ต่างชาติ) เอง โดยไทยส่งออกรถเก๋งเฉพาะอาเซียนและออสเตรเลียเป็นส่วนใหญ่ แต่การผลิตอีโคคาร์จะทำให้ยอดการส่งออกไปญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นในอนาคต กล่าวโดยสรุปคืออุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยมีความแข็งแกร่งและมีศักยภาพสูง โดยต่างชาติเป็นเจ้าของกิจกรรมการประกอบรถยนต์และการผลิตชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีสูง (first-tier auto part manufacturing) ซึ่งมีข้อดีคือมีการนำเข้าเทคโนโลยีชั้นสูงมายังประเทศไทย แต่มีข้อเสียคือธุรกิจของคนไทยนับวันจะมีบทบาทลดลงอุตสาหกรรมรถยนต์
5. ต่างชาติยังมีความกระตือรือร้นที่จะลงทุนเพิ่มเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยต่อไป แม้จะเกิดความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ ทั้งนี้นักลงทุนรายใหญ่ล่าสุดจะเป็นบริษัทจากสหรัฐ เช่น การประกาศลงทุนโดยฟอร์ด (15,000 ล้านบาท) การลงทุนร่วมระหว่างฟอร์ดกับมาสด้า (11,000 ล้านบาท) และการลงทุนของจีเอ็ม (15,000 ล้านบาท) เป็นต้น
6. ประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าอาเซียนและประเทศใกล้เคียง แต่ธนาคารโลกมีข้อสังเกตว่าผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เป็นของคนไทยนั้นมีการใช้สิทธิพิเศษทางการค้าที่ค่อนข้างต่ำมาก โดยประโยชน์จากการใช้สิทธิพิเศษจะตกกับผู้ประกอบรถยนต์และผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่เป็นยี่ห้อเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ทางการค้าที่ใกล้ชิดมาแต่ดั้งเดิมมากกว่าผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เป็นของคนไทย
7. สิ่งที่ท้าทายอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยคือการเพิ่มมูลค่าการผลิต (move up the value chain) โดยการเพิ่มบทบาทในการเป็นผู้ออกแบบชิ้นส่วนด้วยไม่เพียงแต่เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนอย่างเดียว ซึ่งเป็นสิ่งที่กำลังเป็นกระแสทั่วโลก การเพิ่มบทบาทและความรับผิดชอบดังกล่าวให้กับผู้ผลิตชิ้นส่วน โดยผู้ผลิตรถยนต์ย่อมกดดันผู้ผลิตที่ขาดศักยภาพดังกล่าวอย่างมาก โดยเฉพาะผู้ผลิตที่เป็นผู้ผลิตระดับล่าง (ซึ่งเป็นของคนไทยเป็นส่วนใหญ่) จะยิ่งถูกลดระดับลงไปอีกจากการที่จะมีผู้ผลิตระดับบนเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ธนาคารโลกประเมินว่าในกลุ่มบริษัทผลิตชิ้นส่วนระดับบน (first-tier supplies) 648 บริษัทนั้นมีบริษัทที่เป็นของคนไทยประมาณร้อยละ 23 ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตชิ้นส่วนที่ใช้แรงงานมาก (labour intensive) และต้องพึ่งพาเทคโนโลยีและการร่วมลงทุนจากต่างประเทศ หมายความว่าชิ้นส่วนรถยนต์ที่อาศัยเทคโนโลยีและความรู้ขั้นสูง (knowledge-intensive) นั้นล้วนแต่ผลิตโดยบริษัทต่างชาติหรือต้องนำเข้ามาทั้งสิ้น ดังนั้นการพัฒนาไปสู่การผลิตรถเก๋งซึ่งต้องพึ่งพาเทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้นนั้นก็อาจทำให้ธุรกิจคนไทยต้องลดบทบาทลงไปอีกหากไม่มีการเร่งปรับโครงสร้างและเพิ่มศักยภาพทางเทคโนโลยีของบริษัทคนไทย
กรุงเทพธุรกิจ
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554 03:00
ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ
คอลัมนิสต์ผู้เชี่ยวชาญด้านการเศรษฐกิจ คอลัมน์
อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นดาวเด่นของประเทศ ทั้งในเชิงของขนาดอุตสาหกรรม (ประมาณ 12% ของจีดีพีหรือ 1.2 ล้านล้านบาท)
และในเชิงของศักยภาพในอนาคต หมายความว่าเป็นอุตสาหกรรมที่จะขยายตัวได้ดี ดังนั้นจึงจะเป็นหัวจักรขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยนั่นเอง
อุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเมื่อปีที่แล้วผลิตรถยนต์ทั้งสิ้น 1.7 ล้านคันส่งออก 9 แสนคันและขายในประเทศ 8 แสนคัน คาดว่าปีนี้น่าจะผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 1.85 ล้านคัน โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเป็นใกล้ 1 ล้านคันและขายในประเทศเพิ่มเป็น 8.5 แสนคัน กล่าวคือมีแนวโน้มต่อเนื่องว่าจะเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศมากกว่าตลาดในไทย สะท้อนว่าประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกและปัจจุบันไทยน่าจะเป็นผู้ผลิตรถยนต์เป็นลำดับที่ 15 ของโลก ใกล้เคียงกับอังกฤษ แคนาดา เม็กซิโกและสาธารณรัฐเช็ก เป็นต้น แต่ก็ต้องยอมรับว่าการผลิตรถยนต์นั้นส่วนใหญ่จะมาจากจีน สหรัฐ ญี่ปุ่นและเยอรมนี กล่าวคือ 4 ประเทศดังกล่าวมีสัดส่วนการผลิตรถยนต์ประมาณ 55-60% ของการผลิตทั่วโลกโดยมีผู้ผลิตรายใหญ่ประมาณ 20 ประเทศ
ธนาคารโลกได้ทำการวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย ซึ่งผมเห็นว่ามีประโยชน์จึงขอนำมาสรุปดังนี้
1. ประเทศไทยไม่คิดจะพัฒนายี่ห้อรถของตนเอง (แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่ผิดเพราะบางประเทศที่พยายาม เช่น มาเลเซียก็ไม่ได้ประสบผลสำเร็จ) แต่นโยบายที่ค่อนข้างเปิดกว้างทำให้มีการลงทุนจากต่างประเทศ (โดยเฉพาะญี่ปุ่น) อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ทศวรรษ 60 แต่เน้นตลาดภายในจนกระทั่งปี 1997
2. วิกฤติเศรษฐกิจส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ทำให้เกิดการปฏิรูปโครงสร้างอุตสาหกรรมรถยนต์ 2 ประการคือ 1. การลดค่าเงินบาทและกำลังซื้อในประเทศที่ตกต่ำอย่างมาก (ยอดขายรถยนต์ในประเทศลดลงจากเกือบ 6 แสนคันในปี 1996 ก่อนวิกฤติเหลือยอดขายเพียงไม่ถึง 3 แสนคันในปี 1998) ผลักดันให้อุตสาหกรรมต้องหันมาเน้นการส่งออกเพื่อการฟื้นฟูยอดขายและ 2. วิกฤติเศรษฐกิจทำให้หุ้นส่วนคนไทยในบริษัทประกอบรถยนต์ต้องขายสัดส่วนของตนออกไปหมด ทำให้ต่างชาติเป็นเจ้าของอย่างเต็มที่ สำหรับผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เจ้าของเป็นคนไทยก็ต้องเลิกกิจการหรือขายให้ต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ เหลืออยู่แต่ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ระดับล่าง (ชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน) หมายความว่าชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงนั้นเป็นของต่างชาติเกือบหมด
3. ปัจจุบันอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยผลิตรถบรรทุกขนาดหนึ่งตัน (รถกระบะ) เป็นหลักคือคิดเป็นสัดส่วนเกือบ 70% ของการผลิตทั้งหมด แต่สัดส่วนของรถเก๋งได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะหลังและจะเพิ่มขึ้นได้อีกมากเพราะการผลิตรถยนต์อีโคคาร์ (รถยนต์ขนาดเล็กที่กินน้ำมันน้อยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า) น่าจะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดใน 3-4 ปีข้างหน้า ปีที่ผ่านมามีการผลิตอีโคคาร์ประมาณ 60,000 คันและปีนี้คาดว่าจะผลิตได้เพิ่มขึ้นอี 1 เท่าตัวเป็นอย่างน้อย ทั้งนี้หากไทยสามารถผลิตรถอีโคคาร์ได้สัก 2 แสนคันในอนาคตก็จะเป็นเพื่อการส่งออกประมาณ 2/3 หรือ 3/4 เพราะตลาดภายในมีขนาดที่จำกัด
4. ปัจจุบันไทยส่งออกรถกระบะเป็นหลักไปยัง 130 ประเทศ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อกำหนดของผู้ผลิต (ต่างชาติ) เอง โดยไทยส่งออกรถเก๋งเฉพาะอาเซียนและออสเตรเลียเป็นส่วนใหญ่ แต่การผลิตอีโคคาร์จะทำให้ยอดการส่งออกไปญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นในอนาคต กล่าวโดยสรุปคืออุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยมีความแข็งแกร่งและมีศักยภาพสูง โดยต่างชาติเป็นเจ้าของกิจกรรมการประกอบรถยนต์และการผลิตชิ้นส่วนที่ใช้เทคโนโลยีสูง (first-tier auto part manufacturing) ซึ่งมีข้อดีคือมีการนำเข้าเทคโนโลยีชั้นสูงมายังประเทศไทย แต่มีข้อเสียคือธุรกิจของคนไทยนับวันจะมีบทบาทลดลงอุตสาหกรรมรถยนต์
5. ต่างชาติยังมีความกระตือรือร้นที่จะลงทุนเพิ่มเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยต่อไป แม้จะเกิดความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ ทั้งนี้นักลงทุนรายใหญ่ล่าสุดจะเป็นบริษัทจากสหรัฐ เช่น การประกาศลงทุนโดยฟอร์ด (15,000 ล้านบาท) การลงทุนร่วมระหว่างฟอร์ดกับมาสด้า (11,000 ล้านบาท) และการลงทุนของจีเอ็ม (15,000 ล้านบาท) เป็นต้น
6. ประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าอาเซียนและประเทศใกล้เคียง แต่ธนาคารโลกมีข้อสังเกตว่าผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เป็นของคนไทยนั้นมีการใช้สิทธิพิเศษทางการค้าที่ค่อนข้างต่ำมาก โดยประโยชน์จากการใช้สิทธิพิเศษจะตกกับผู้ประกอบรถยนต์และผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่เป็นยี่ห้อเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ทางการค้าที่ใกล้ชิดมาแต่ดั้งเดิมมากกว่าผู้ผลิตชิ้นส่วนที่เป็นของคนไทย
7. สิ่งที่ท้าทายอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยคือการเพิ่มมูลค่าการผลิต (move up the value chain) โดยการเพิ่มบทบาทในการเป็นผู้ออกแบบชิ้นส่วนด้วยไม่เพียงแต่เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนอย่างเดียว ซึ่งเป็นสิ่งที่กำลังเป็นกระแสทั่วโลก การเพิ่มบทบาทและความรับผิดชอบดังกล่าวให้กับผู้ผลิตชิ้นส่วน โดยผู้ผลิตรถยนต์ย่อมกดดันผู้ผลิตที่ขาดศักยภาพดังกล่าวอย่างมาก โดยเฉพาะผู้ผลิตที่เป็นผู้ผลิตระดับล่าง (ซึ่งเป็นของคนไทยเป็นส่วนใหญ่) จะยิ่งถูกลดระดับลงไปอีกจากการที่จะมีผู้ผลิตระดับบนเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ธนาคารโลกประเมินว่าในกลุ่มบริษัทผลิตชิ้นส่วนระดับบน (first-tier supplies) 648 บริษัทนั้นมีบริษัทที่เป็นของคนไทยประมาณร้อยละ 23 ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตชิ้นส่วนที่ใช้แรงงานมาก (labour intensive) และต้องพึ่งพาเทคโนโลยีและการร่วมลงทุนจากต่างประเทศ หมายความว่าชิ้นส่วนรถยนต์ที่อาศัยเทคโนโลยีและความรู้ขั้นสูง (knowledge-intensive) นั้นล้วนแต่ผลิตโดยบริษัทต่างชาติหรือต้องนำเข้ามาทั้งสิ้น ดังนั้นการพัฒนาไปสู่การผลิตรถเก๋งซึ่งต้องพึ่งพาเทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้นนั้นก็อาจทำให้ธุรกิจคนไทยต้องลดบทบาทลงไปอีกหากไม่มีการเร่งปรับโครงสร้างและเพิ่มศักยภาพทางเทคโนโลยีของบริษัทคนไทย
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 43
China's National Museum to reopen on April 1
English.news.cn 2011-02-17 14:49:44
BEIJING, Feb. 17 (Xinhuanet) -- After three and a half years, the 2.5-billion-yuan expansion of the National Museum of China is winding down, and the museum plans to reopen on the first day of April, according to the Beijing Morning Post.
The National Museum will join hands with three major German museums, including the Berlin National Museum, the Dresden National Art Collection Museum and the Bavarian State Picture Galleries, to hold its first exhibition after reopening. The theme of the exhibition is "Illuminative Arts." A large number of famous art works of Germany will come to China at that time, and the exhibition will last 12 months.
In addition, an exhibition about ancient Peru from the first century to the seventh century will be shown from April 28 to Oct. 28 at the America Room, and a total of 180 cultural relics, including potteries, textiles, metal objects and stones, will be there.
The museum nearly tripled in size from 65,000 square meters to almost 200,000 square meters, and the number of exhibition rooms increased to 49, including an Asia room, Africa room, Europe room and America rooms for international exhibitions.
Last February, the State Administration of Cultural Heritage transferred more than 390,000 cultural relics to the National Museum, bringing its total collection up to 1.05 million.
The current National Museum has already become one of the top museums in the world. It is not merely a public place for exhibition but also an important location that provides high-grade cultural enjoyment for the public. It will bring great spiritual pleasure for Chinese and global visitors.
Lv Zhang, the director of the National Museum, said the new National Museum could receive 8 million to 10 million visitors every year, about three times the amount it has seen in the past. Basic exhibitions in the museum will be free to the public, while some special exhibitions will charge a relatively small amount for a ticket due to preparation expenses.
(Source: People's Daily Online)
English.news.cn 2011-02-17 14:49:44
BEIJING, Feb. 17 (Xinhuanet) -- After three and a half years, the 2.5-billion-yuan expansion of the National Museum of China is winding down, and the museum plans to reopen on the first day of April, according to the Beijing Morning Post.
The National Museum will join hands with three major German museums, including the Berlin National Museum, the Dresden National Art Collection Museum and the Bavarian State Picture Galleries, to hold its first exhibition after reopening. The theme of the exhibition is "Illuminative Arts." A large number of famous art works of Germany will come to China at that time, and the exhibition will last 12 months.
In addition, an exhibition about ancient Peru from the first century to the seventh century will be shown from April 28 to Oct. 28 at the America Room, and a total of 180 cultural relics, including potteries, textiles, metal objects and stones, will be there.
The museum nearly tripled in size from 65,000 square meters to almost 200,000 square meters, and the number of exhibition rooms increased to 49, including an Asia room, Africa room, Europe room and America rooms for international exhibitions.
Last February, the State Administration of Cultural Heritage transferred more than 390,000 cultural relics to the National Museum, bringing its total collection up to 1.05 million.
The current National Museum has already become one of the top museums in the world. It is not merely a public place for exhibition but also an important location that provides high-grade cultural enjoyment for the public. It will bring great spiritual pleasure for Chinese and global visitors.
Lv Zhang, the director of the National Museum, said the new National Museum could receive 8 million to 10 million visitors every year, about three times the amount it has seen in the past. Basic exhibitions in the museum will be free to the public, while some special exhibitions will charge a relatively small amount for a ticket due to preparation expenses.
(Source: People's Daily Online)
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 46
การเงิน - การลงทุน
เตือน4ปัจจัยเสี่ยงเร่งเงินเฟ้อพุ่งฉุดจีดีพี
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 09:09
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
"บัณฑิต นิจถาวร" ยอมรับแรงกดดันเงินเฟ้อถือเป็นโจทย์สำคัญของนโยบายการเงินปีนี้ เตือน 4 ปัจจัยเสี่ยงเร่งเงินเฟ้อปรับขึ้น
นายบัณฑิต นิจถาวร อดีตรองผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า แรงกดดันด้านเงินเฟ้อถือเป็นโจทย์สำคัญ และเป็นความท้าทายของการดำเนินนโยบายการเงินในปีนี้ เพื่อคุมให้เงินเฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพราะหากเงินเฟ้อยังปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง ก็อาจส่งผลต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไทยได้ ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายจึงควรต้องปรับให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อดูแลความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อ และควรต้องทำล่วงหน้า
สำหรับการปรับขึ้นของเงินเฟ้อในช่วงที่ผ่านมา เป็นผลจาก 4 ปัจจัยหลัก คือ ปัจจัยที่ 1 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ ซึ่งทำให้ความต้องการสินค้าบริการมีมากขึ้น ปัจจัยที่ 2 ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกปรับเพิ่มขึ้นตามความต้องการจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะในส่วนของราคาน้ำมันที่ปัจจุบันปรับขึ้นมาแล้วกว่า 8.5% เมื่อเทียบกับช่วงต้นปีที่ผ่านมา
ส่วนปัจจัยที่ 3 คือ สภาพคล่องที่มีอยู่มากในระบบเศรษฐกิจโลก ทำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ เร่งตัวขึ้น และปัจจัยที่ 4 คือ ราคาอาหารที่ปรับตัวขึ้นอันเป็นผลจากภัยธรรมชาติ โดยตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ดัชนีราคาอาหารในตลาดโลกปรับขึ้นมาแล้วประมาณ 9.5% ซึ่งทั้งหมดนี้ ล้วนเป็นปัจจัยเร่งให้เงินเฟ้อปรับตัวเพิ่มขึ้น
"ทั้ง 4 เครื่องยนต์ที่ทำงานอยู่ ล้วนแต่สร้างแรงกดดันให้ราคาสินค้าปรับตัวสูงขึ้น และ 3 ใน 4 ของปัจจัยเหล่านี้ เป็นปัจจัยภายนอก ซึ่งอยู่เหนือการควบคุมของเรา ดังนั้น หากไม่มีวิธีลดแรงกดดันในเรื่องเหล่านี้ ปัญหาเงินเฟ้อย่อมตามมา ดังนั้น นโยบายการเงินในปีนี้ จึงต้องให้ความสำคัญกับเงินเฟ้อเป็นพิเศษ" นายบัณฑิตกล่าว
เขากล่าวด้วยว่า ถ้าดูเงินเฟ้อจากดัชนีราคาผู้บริโภคของเดือน ม.ค. 2554 จะเห็นว่าเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ 3% เทียบกับเงินเฟ้อในส่วนของดัชนีผู้ผลิต ณ เดือนเดียวกันที่อยู่ประมาณ 6% หรือสูงเกือบ 2 เท่าของดัชนีราคาผู้บริโภค ทำให้ภาครัฐต้องเข้าไปมาดูแลเรื่องราคา แต่การดูแลดังกล่าวคงทำได้เพียงระยะสั้น เพราะต้องอาศัยทรัพยากรทางการเงิน ซึ่งทรัพยากรทางการเงินก็มีข้อจำกัด ดังนั้น หากราคาสินค้าในตลาดโลกยังปรับขึ้นต่อเนื่อง การอุดหนุนก็คงต้องหยุดลง และทำให้ราคาสินค้าเหล่านี้อาจปรับตัวขึ้นแรงได้ ซึ่งก็ส่งผลต่อเงินเฟ้อในท้ายที่สุด
"อาหารถือเป็น 1 ใน 3 ของการบริโภคของผู้มีรายได้น้อย การที่ราคาเหล่านี้ปรับเพิ่มขึ้นก็อาจกระทบต่อภาพรวมเศรษฐกิจได้ ซึ่งปัจจุบันคนมีรายได้น้อยประมาณ 9-10 ล้านคนในประเทศ ถูกกระทบโดยตรงจากราคาอาหารที่สูงขึ้น ดังนั้น การดูแลต้องไม่ใช่การเข้าอุดหนุนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีเป้าหมายชัดเจนในการช่วยเหลือ เช่น การลดค่าครองชีพของคนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง" นายบัณฑิตกล่าว
นายบัณฑิต กล่าวว่า เชื่อว่านโยบายการเงินของ ธปท. จะเน้นในเรื่องของการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมโดยเร็ว และเชื่อว่าการขึ้นดอกเบี้ยจะไม่ส่งผลต่อการไหลเข้าของทุนต่างประเทศ เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยไม่ใช่ปัจจัยหลักในการดึงดูดเงินทุน
ส่วนความเสี่ยงจากเงินทุนเคลื่อนย้ายนั้น เขากล่าวว่า ปีนี้ถือเป็นปีที่แตกต่างจากรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งคาดเดาเรื่องการไหลเข้าออกของเงินทุนค่อนข้างยาก เพราะขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศอุตสาหกรรมหลัก รวมไปถึงความชัดเจนในด้านนโยบายและสถานการณ์ในประเทศของไทยเอง
นายบัณฑิต ยังกล่าวด้วยว่า ถ้าดูในช่วงต้นปีที่ผ่านมา จะเห็นว่าเงินทุนเริ่มไหลออกไปบ้าง ซึ่งก็เป็นผลจากการที่นักลงทุนประเมินว่าเศรษฐกิจเอเชียเติบโตน้อยกว่าที่คาดการณ์กันไว้ ทั้งยังมีความเสี่ยงจากเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้น ขณะที่เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาก็เริ่มดูดี ทำให้มีเงินทุนบางส่วนไหลกลับไปบ้าง
สำหรับแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปีนี้ เชื่อว่ายังเป็นไปตามที่ ธปท. ได้ประเมินว่าน่าจะเติบโตได้ในระดับ 3-5% โดยมีแรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายในประเทศ และการส่งออกเป็นสำคัญ
ส่วนสถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบันนั้น เริ่มฟื้นตัวขึ้นบ้าง เพียงแต่การฟื้นตัวขณะนี้ไม่มีความสมดุล จึงนำไปสู่ความแตกต่างในทิศทางด้านนโยบายการเงินและอัตราเงินเฟ้อระหว่างประเทศอุตสาหกรรมและตลาดเกิดใหม่ จนนำไปสู่ปัญหาเงินทุนเคลื่อนย้ายที่เกิดขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีช่องว่างระหว่างสิ่งที่ทำในระยะสั้น เพื่อฟื้นเศรษฐกิจ และปัญหาโครงสร้างที่ยังไม่ได้แก้ไข คือ ปัญหาหนี้สาธารณะและระบบสถาบันการเงินในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลัก ขณะที่การประสานนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างประเทศทำได้ยากขึ้น ส่งผลให้ไม่มีผู้นำตัวจริงในการแก้ไขปัญหา
เตือน4ปัจจัยเสี่ยงเร่งเงินเฟ้อพุ่งฉุดจีดีพี
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 09:09
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
"บัณฑิต นิจถาวร" ยอมรับแรงกดดันเงินเฟ้อถือเป็นโจทย์สำคัญของนโยบายการเงินปีนี้ เตือน 4 ปัจจัยเสี่ยงเร่งเงินเฟ้อปรับขึ้น
นายบัณฑิต นิจถาวร อดีตรองผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า แรงกดดันด้านเงินเฟ้อถือเป็นโจทย์สำคัญ และเป็นความท้าทายของการดำเนินนโยบายการเงินในปีนี้ เพื่อคุมให้เงินเฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพราะหากเงินเฟ้อยังปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง ก็อาจส่งผลต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไทยได้ ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายจึงควรต้องปรับให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อดูแลความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อ และควรต้องทำล่วงหน้า
สำหรับการปรับขึ้นของเงินเฟ้อในช่วงที่ผ่านมา เป็นผลจาก 4 ปัจจัยหลัก คือ ปัจจัยที่ 1 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ ซึ่งทำให้ความต้องการสินค้าบริการมีมากขึ้น ปัจจัยที่ 2 ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกปรับเพิ่มขึ้นตามความต้องการจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะในส่วนของราคาน้ำมันที่ปัจจุบันปรับขึ้นมาแล้วกว่า 8.5% เมื่อเทียบกับช่วงต้นปีที่ผ่านมา
ส่วนปัจจัยที่ 3 คือ สภาพคล่องที่มีอยู่มากในระบบเศรษฐกิจโลก ทำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ เร่งตัวขึ้น และปัจจัยที่ 4 คือ ราคาอาหารที่ปรับตัวขึ้นอันเป็นผลจากภัยธรรมชาติ โดยตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ดัชนีราคาอาหารในตลาดโลกปรับขึ้นมาแล้วประมาณ 9.5% ซึ่งทั้งหมดนี้ ล้วนเป็นปัจจัยเร่งให้เงินเฟ้อปรับตัวเพิ่มขึ้น
"ทั้ง 4 เครื่องยนต์ที่ทำงานอยู่ ล้วนแต่สร้างแรงกดดันให้ราคาสินค้าปรับตัวสูงขึ้น และ 3 ใน 4 ของปัจจัยเหล่านี้ เป็นปัจจัยภายนอก ซึ่งอยู่เหนือการควบคุมของเรา ดังนั้น หากไม่มีวิธีลดแรงกดดันในเรื่องเหล่านี้ ปัญหาเงินเฟ้อย่อมตามมา ดังนั้น นโยบายการเงินในปีนี้ จึงต้องให้ความสำคัญกับเงินเฟ้อเป็นพิเศษ" นายบัณฑิตกล่าว
เขากล่าวด้วยว่า ถ้าดูเงินเฟ้อจากดัชนีราคาผู้บริโภคของเดือน ม.ค. 2554 จะเห็นว่าเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ 3% เทียบกับเงินเฟ้อในส่วนของดัชนีผู้ผลิต ณ เดือนเดียวกันที่อยู่ประมาณ 6% หรือสูงเกือบ 2 เท่าของดัชนีราคาผู้บริโภค ทำให้ภาครัฐต้องเข้าไปมาดูแลเรื่องราคา แต่การดูแลดังกล่าวคงทำได้เพียงระยะสั้น เพราะต้องอาศัยทรัพยากรทางการเงิน ซึ่งทรัพยากรทางการเงินก็มีข้อจำกัด ดังนั้น หากราคาสินค้าในตลาดโลกยังปรับขึ้นต่อเนื่อง การอุดหนุนก็คงต้องหยุดลง และทำให้ราคาสินค้าเหล่านี้อาจปรับตัวขึ้นแรงได้ ซึ่งก็ส่งผลต่อเงินเฟ้อในท้ายที่สุด
"อาหารถือเป็น 1 ใน 3 ของการบริโภคของผู้มีรายได้น้อย การที่ราคาเหล่านี้ปรับเพิ่มขึ้นก็อาจกระทบต่อภาพรวมเศรษฐกิจได้ ซึ่งปัจจุบันคนมีรายได้น้อยประมาณ 9-10 ล้านคนในประเทศ ถูกกระทบโดยตรงจากราคาอาหารที่สูงขึ้น ดังนั้น การดูแลต้องไม่ใช่การเข้าอุดหนุนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีเป้าหมายชัดเจนในการช่วยเหลือ เช่น การลดค่าครองชีพของคนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง" นายบัณฑิตกล่าว
นายบัณฑิต กล่าวว่า เชื่อว่านโยบายการเงินของ ธปท. จะเน้นในเรื่องของการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมโดยเร็ว และเชื่อว่าการขึ้นดอกเบี้ยจะไม่ส่งผลต่อการไหลเข้าของทุนต่างประเทศ เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยไม่ใช่ปัจจัยหลักในการดึงดูดเงินทุน
ส่วนความเสี่ยงจากเงินทุนเคลื่อนย้ายนั้น เขากล่าวว่า ปีนี้ถือเป็นปีที่แตกต่างจากรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งคาดเดาเรื่องการไหลเข้าออกของเงินทุนค่อนข้างยาก เพราะขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศอุตสาหกรรมหลัก รวมไปถึงความชัดเจนในด้านนโยบายและสถานการณ์ในประเทศของไทยเอง
นายบัณฑิต ยังกล่าวด้วยว่า ถ้าดูในช่วงต้นปีที่ผ่านมา จะเห็นว่าเงินทุนเริ่มไหลออกไปบ้าง ซึ่งก็เป็นผลจากการที่นักลงทุนประเมินว่าเศรษฐกิจเอเชียเติบโตน้อยกว่าที่คาดการณ์กันไว้ ทั้งยังมีความเสี่ยงจากเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้น ขณะที่เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาก็เริ่มดูดี ทำให้มีเงินทุนบางส่วนไหลกลับไปบ้าง
สำหรับแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปีนี้ เชื่อว่ายังเป็นไปตามที่ ธปท. ได้ประเมินว่าน่าจะเติบโตได้ในระดับ 3-5% โดยมีแรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายในประเทศ และการส่งออกเป็นสำคัญ
ส่วนสถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบันนั้น เริ่มฟื้นตัวขึ้นบ้าง เพียงแต่การฟื้นตัวขณะนี้ไม่มีความสมดุล จึงนำไปสู่ความแตกต่างในทิศทางด้านนโยบายการเงินและอัตราเงินเฟ้อระหว่างประเทศอุตสาหกรรมและตลาดเกิดใหม่ จนนำไปสู่ปัญหาเงินทุนเคลื่อนย้ายที่เกิดขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีช่องว่างระหว่างสิ่งที่ทำในระยะสั้น เพื่อฟื้นเศรษฐกิจ และปัญหาโครงสร้างที่ยังไม่ได้แก้ไข คือ ปัญหาหนี้สาธารณะและระบบสถาบันการเงินในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลัก ขณะที่การประสานนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างประเทศทำได้ยากขึ้น ส่งผลให้ไม่มีผู้นำตัวจริงในการแก้ไขปัญหา
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 47
การเงิน - การลงทุน
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 11:03
เตือนบจ.รับมือน้ำมันพุ่ง-เงินทุนเคลื่อนย้าย
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
(Update) ก.ล.ต.เตือนบจ.รับมือน้ำมันพุ่ง!-เงินทุนไหลเข้าผันผวน ปัจจัยเสี่ยงการดำเนินธุรกิจปี"54 แนะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาธิการ ก.ล.ต. กล่าวในงานสัมมนา "ความท้าทายในการบริหารความเสี่ยงปี 2554" จัดโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทยว่า วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาขนาดใหญ่และมีผลกระทบไปทั่วทั้งโลกอย่างที่ไม่เคยมีใครนึกถึง ดังนั้น ผู้มีหน้าที่บริหารความเสี่ยงจึงมีหน้าที่หลักที่จะต้องสามารถมองภาพลวงตาให้ทะลุ และติดตามประเด็นความเสี่ยงที่สำคัญโดยเฉพาะปัจจัยด้านเศรษฐกิจในต่างประเทศ
โดยภาพลวงตาในอดีตมี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ภาพลวงตาของความมั่งคั่ง ซึ่งนำไปสู่การดำเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนปรนเกินไปเป็นเวลานานในสหรัฐอเมริกา จนเกิดภาวะฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ 2) ภาพลวงตาสภาพคล่อง จากการที่ตราสารประเภทที่ซับซ้อนได้อันดับเครดิตที่สูงเกินควร ทำให้ผู้ซื้อตราสารดังกล่าวไม่คำนึงถึงปัญหาสภาพคล่องของตราสารนั้น 3) ภาพลวงตาของความมั่นคง โดยเชื่อมั่นว่าสถาบันการเงินยิ่งมีขนาดใหญ่ยิ่งมีความมั่นคง แต่ภายหลังเมื่อประสบปัญหา รัฐบาลต้องเข้าไปประกันเงินฝาก พบว่าธนาคารมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่รัฐบาลจะเข้ามาแบกรับภาระ
และ 4) ภาพลวงตาของการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจในยุโรป ซึ่งคนทั่วไปเข้าใจว่ามีการรวมตัวอย่างแน่นแฟ้น ทำให้ประเทศขนาดเล็กได้อันดับเครดิตที่สูงเกินจริง แต่ภายกลังพบว่าเมื่อประเทศหนึ่งประสบปัญหา จะไม่มีการช่วยเหลือด้านงบประมาณจากประเทศอื่น
สำหรับประเด็นความเสี่ยงจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจในต่างประเทศที่ผู้มีหน้าที่บริหารความเสี่ยงต้องติดตาม 4 ปัจจัยได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการเมืองในตะวันออกกลาง ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร การปรับตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจีน และวิธีการแก้ปัญหาหนี้ภาครัฐในยุโรป
ผู้บริหารความเสี่ยงจะต้องคำนึงถึงปัญหาความผันผวนของราคาน้ำมัน ที่จะเกิดขึ้นจากการเมืองในตะวันออกกลาง และของสินค้าเกษตรที่มีสาเหตุมาจากภาวะโลกร้อน ซึ่งทำให้ผลผลิตลดลงและราคาเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการปรับตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจีน ซึ่งในอนาคตภาคแรงงานน่าจะมีอำนาจต่อรองค่าจ้างมากขึ้น อาจจะส่งผลให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจชะลอตัวลง และอัตรากำไรของบริษัทในภาคอุตสาหกรรมลดต่ำลง และทำให้เกิดความผันผวนของกระแสเงินทุนเข้าไปยังประเทศเอเชีย
ประการสำคัญ ผู้บริหารความเสี่ยงควรจะติดตามการแก้ปัญหาหนี้ภาครัฐในยุโรปว่าจะออกมาในรูปแบบใด ซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดคือ การปรับโครงสร้างหนี้ด้วยการลดหนี้ (haircut) ให้แก่ประเทศที่มีฐานะอ่อนแอ อย่างไรก็ดี วิธีการนี้อาจทำให้เกิดความปั่นป่วนในตลาดพันธบัตร เนื่องจากนักลงทุนจะเร่งเทขายพันธบัตรเพราะคาดได้ว่าจะมีการใช้วิธีการเช่นเดียวกันนี้กับประเทศอื่น ๆ นอกจากนี้ วิธีการดังกล่าวจะทำให้ธนาคารพาณิชย์ในยุโรป ซึ่งถือครองพันธบัตรรัฐบาลของประเทศกรีซ ไอร์แลนด์ โปรตุเกส และสเปน กว่าร้อยละ 78 ของหนี้ทั้งหมด 2.6 ล้านล้านยูโร ต้องประสบผลขาดทุนจนทำให้รัฐบาลต้องเข้าไปช่วยเพิ่มทุนอีกรอบหนึ่ง
"เชื่อว่าท้ายที่สุดแล้วประเทศต่าง ๆ ในยุโรปจะสามารถตกลงกันได้ โดยประเทศที่แข็งแรงอาจจะต้องเข้ามาช่วยเหลือประเทศที่อ่อนแอมากขึ้น เพียงแต่ว่าการเจรจาตกลงกันอาจจะใช้เวลานานและสถานการณ์ก็อาจจะคืบคลานเข้าไปใกล้วิกฤตหนักเสียก่อน ซึ่งสามารถทำให้เกิดความผันผวนในตลาดเงินและตลาดทุนได้มาก จึงเป็นความเสี่ยงที่ควรติดตามอย่างใกล้ชิด ทั้งในปีนี้และในปีต่อ ๆ ไป"นายธีระชัย กล่าว
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 11:03
เตือนบจ.รับมือน้ำมันพุ่ง-เงินทุนเคลื่อนย้าย
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
(Update) ก.ล.ต.เตือนบจ.รับมือน้ำมันพุ่ง!-เงินทุนไหลเข้าผันผวน ปัจจัยเสี่ยงการดำเนินธุรกิจปี"54 แนะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาธิการ ก.ล.ต. กล่าวในงานสัมมนา "ความท้าทายในการบริหารความเสี่ยงปี 2554" จัดโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทยว่า วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาขนาดใหญ่และมีผลกระทบไปทั่วทั้งโลกอย่างที่ไม่เคยมีใครนึกถึง ดังนั้น ผู้มีหน้าที่บริหารความเสี่ยงจึงมีหน้าที่หลักที่จะต้องสามารถมองภาพลวงตาให้ทะลุ และติดตามประเด็นความเสี่ยงที่สำคัญโดยเฉพาะปัจจัยด้านเศรษฐกิจในต่างประเทศ
โดยภาพลวงตาในอดีตมี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ภาพลวงตาของความมั่งคั่ง ซึ่งนำไปสู่การดำเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนปรนเกินไปเป็นเวลานานในสหรัฐอเมริกา จนเกิดภาวะฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ 2) ภาพลวงตาสภาพคล่อง จากการที่ตราสารประเภทที่ซับซ้อนได้อันดับเครดิตที่สูงเกินควร ทำให้ผู้ซื้อตราสารดังกล่าวไม่คำนึงถึงปัญหาสภาพคล่องของตราสารนั้น 3) ภาพลวงตาของความมั่นคง โดยเชื่อมั่นว่าสถาบันการเงินยิ่งมีขนาดใหญ่ยิ่งมีความมั่นคง แต่ภายหลังเมื่อประสบปัญหา รัฐบาลต้องเข้าไปประกันเงินฝาก พบว่าธนาคารมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่รัฐบาลจะเข้ามาแบกรับภาระ
และ 4) ภาพลวงตาของการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจในยุโรป ซึ่งคนทั่วไปเข้าใจว่ามีการรวมตัวอย่างแน่นแฟ้น ทำให้ประเทศขนาดเล็กได้อันดับเครดิตที่สูงเกินจริง แต่ภายกลังพบว่าเมื่อประเทศหนึ่งประสบปัญหา จะไม่มีการช่วยเหลือด้านงบประมาณจากประเทศอื่น
สำหรับประเด็นความเสี่ยงจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจในต่างประเทศที่ผู้มีหน้าที่บริหารความเสี่ยงต้องติดตาม 4 ปัจจัยได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการเมืองในตะวันออกกลาง ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร การปรับตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจีน และวิธีการแก้ปัญหาหนี้ภาครัฐในยุโรป
ผู้บริหารความเสี่ยงจะต้องคำนึงถึงปัญหาความผันผวนของราคาน้ำมัน ที่จะเกิดขึ้นจากการเมืองในตะวันออกกลาง และของสินค้าเกษตรที่มีสาเหตุมาจากภาวะโลกร้อน ซึ่งทำให้ผลผลิตลดลงและราคาเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการปรับตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจีน ซึ่งในอนาคตภาคแรงงานน่าจะมีอำนาจต่อรองค่าจ้างมากขึ้น อาจจะส่งผลให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจชะลอตัวลง และอัตรากำไรของบริษัทในภาคอุตสาหกรรมลดต่ำลง และทำให้เกิดความผันผวนของกระแสเงินทุนเข้าไปยังประเทศเอเชีย
ประการสำคัญ ผู้บริหารความเสี่ยงควรจะติดตามการแก้ปัญหาหนี้ภาครัฐในยุโรปว่าจะออกมาในรูปแบบใด ซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดคือ การปรับโครงสร้างหนี้ด้วยการลดหนี้ (haircut) ให้แก่ประเทศที่มีฐานะอ่อนแอ อย่างไรก็ดี วิธีการนี้อาจทำให้เกิดความปั่นป่วนในตลาดพันธบัตร เนื่องจากนักลงทุนจะเร่งเทขายพันธบัตรเพราะคาดได้ว่าจะมีการใช้วิธีการเช่นเดียวกันนี้กับประเทศอื่น ๆ นอกจากนี้ วิธีการดังกล่าวจะทำให้ธนาคารพาณิชย์ในยุโรป ซึ่งถือครองพันธบัตรรัฐบาลของประเทศกรีซ ไอร์แลนด์ โปรตุเกส และสเปน กว่าร้อยละ 78 ของหนี้ทั้งหมด 2.6 ล้านล้านยูโร ต้องประสบผลขาดทุนจนทำให้รัฐบาลต้องเข้าไปช่วยเพิ่มทุนอีกรอบหนึ่ง
"เชื่อว่าท้ายที่สุดแล้วประเทศต่าง ๆ ในยุโรปจะสามารถตกลงกันได้ โดยประเทศที่แข็งแรงอาจจะต้องเข้ามาช่วยเหลือประเทศที่อ่อนแอมากขึ้น เพียงแต่ว่าการเจรจาตกลงกันอาจจะใช้เวลานานและสถานการณ์ก็อาจจะคืบคลานเข้าไปใกล้วิกฤตหนักเสียก่อน ซึ่งสามารถทำให้เกิดความผันผวนในตลาดเงินและตลาดทุนได้มาก จึงเป็นความเสี่ยงที่ควรติดตามอย่างใกล้ชิด ทั้งในปีนี้และในปีต่อ ๆ ไป"นายธีระชัย กล่าว
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 48
น้ำจิ้มอาหารสมอง :
เวลามีศุขล้น เหลือเหลิง
ปล่อยจิตรคิดละเลิง โล่งแล้ว
ถึงทุกข์แทบป่นเปิง เปลืองชีพ
เฟ้อนักมักไม่แคล้ว เหตุร้ายเร็วถึง
(พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 จากลิลิตนิทราชาคริต)
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
มติชนสุดสัปดาห์
วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554
เวลามีศุขล้น เหลือเหลิง
ปล่อยจิตรคิดละเลิง โล่งแล้ว
ถึงทุกข์แทบป่นเปิง เปลืองชีพ
เฟ้อนักมักไม่แคล้ว เหตุร้ายเร็วถึง
(พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 จากลิลิตนิทราชาคริต)
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
มติชนสุดสัปดาห์
วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 49
มติชนสุดสัปดาห์
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เวลา 14:38:14 น.
เครื่องเคียงอาหารสมอง :
ผมได้พบหนังสือแปลชื่อ "เมื่อคิดให้ดีโลกนี้มีแต่สัตว์ประหลาด" (The Book of Animal Ignorance) ของสำนักพิมพ์ We LEARN ซึ่งเพิ่งวางตลาดสดๆ ร้อนๆ พลิกอ่านดูแล้วชอบมากเพราะให้ความรู้ใหม่ๆ อย่างน่าสนใจ
ขอยกเอาเรื่องจิงโจ้มาถ่ายทอด
"...ทั้งกระเพาะและลำไส้ขนาดใหญ่ของจิงโจ้เป็นเสมือนถังหมักแบคทีเรียและเอ็นไซม์ แต่มันไม่เหมือนวัวตรงที่มันไม่ผลิตก๊าซเรือนกระจกอย่างมีเทน แต่จะผลิตสารประกอบคาร์บอนไฮโดรเจนที่เรียกว่าอะซีเตต (acetate) ออกมาแทน ซึ่งสามารถนำกลับไปใช้เป็นพลังงานได้ แบคทีเรียในลำไส้ของจิงโจ้อาจเป็นกุญแจสำคัญที่ช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนด้วยการไม่ผลิตวัวที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การเอาตัวรอดท่ามกลางพื้นที่ห่างไกลที่ทั้งร้อนและแห้งแล้งต้องอาศัยการประหยัดพลังงาน มันไม่เพียงกระโดดได้อย่างรวดเร็ว แต่การกระโดดยังใช้พลังงานต่ำกว่าการเคลื่อนที่แบบอื่นด้วย
จิงโจ้เลือกที่จะออกหากินในเวลากลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงความร้อนในเวลากลางวัน (ส่งผลให้ตาของมันมีขนาดใหญ่) และใช้เวลาในช่วงกลางวันนอนอยู่ในที่ร่มคอยเลียขาหน้าของตัวเองเพื่อทำให้ตัวเย็นลง แม้แต่ระบบสืบพันธุ์ที่น่าทึ่งก็ยังมีส่วนช่วยด้วย
จิงโจ้มีชื่อเสียงในเรื่องการตั้งครรภ์ที่ใช้เวลาสั้นๆ ตัวอ่อนมีขนาดเท่ากับเยลลี่ชิ้นเล็กๆ จะปีนขึ้นไปอยู่ในหน้าท้องของแม่ตั้งแต่ตอนที่มีอายุครรภ์เพียงหนึ่งเดือน
สิ่งที่คนไม่ค่อยรู้กันก็คือ จิงโจ้ตัวเมียสามารถเก็บตัวอ่อนหรือเอ็มบริโอไว้ภายในมดลูกชุดหนึ่งจากสองชุดได้นานหลายเดือน นั่นหมายความว่า นอกจากสามารถผลิตลูกจิงโจ้ขึ้นมาทดแทนตัวที่ตายไปได้อย่างรวดเร็วแล้ว มันยังสามารถเลือกระยะเวลาในการให้กำเนิดเพื่อหลีกเลี่ยงฤดูแล้ง ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงานและน้ำ
...ตัวอ่อนขนาดเล็กของจิงโจ้อาจดูเหมือนมีพัฒนาการที่ต่ำ แต่มันก็มีสิ่งที่จำเป็นต้องมีอยู่กับตัวพร้อมสรรพ นั่นคือโพรงจมูกที่ใช้ในการดมกลิ่นหัวนมและขาหน้าที่แข็งแรงสองข้างที่ช่วยให้มันสามารถปีนขึ้นไปยังถุงหน้าท้องได้ภายในเวลาไม่ถึง 3 นาที
เมื่อปลอดภัยอยู่ในถุงหน้าท้องแล้ว ลูกจิงโจ้จะยังคงอยู่ในนั้น แต่ยังอ่อนแอเกินกว่าจะดูดนมได้ กล้ามเนื้อของหัวนมจะจัดการกับปัญหานี้โดยการพ่นน้ำนมที่อุดมด้วยสารอาหารเข้าไปในปากของลูกจิงโจ้ในปริมาณที่พอเหมาะ ตัวแม่จะคอยทำความสะอาดถุงหน้าท้องด้วยการเลียนมส่วนที่หก นมทั้งหมดที่มันผลิตออกมาจะมาจากกระบวนการทำซ้ำมากถึง 1 ใน 3
เมื่อลูกจิงโจ้เติบโตเต็มที่ในอีก 8 เดือนต่อมา มันจะกระโดดออกมาจากถุงหน้าท้องเพื่อหลีกทางให้กับน้องที่เกิดใหม่ แต่มันยังคงดูดนมจากแม่ไปอีกหลายเดือนในระหว่างที่แม่จิงโจ้ให้ความสนใจกับนมส่วนที่หก เต้านมของมันก็จะผลิตนมที่เป็นครีมข้นและนมปราศจากไขมันออกมาในเวลาเดียวกัน..."
น้ำจิ้มอาหารสมอง :
Age does not protect you from love. But love, to some extent, protects you from age.
(Anais Nin นักเขียนบันทึกมีชื่อชาวฝรั่งเศส
ค.ศ.1903-1977)
อายุไม่ขีดกั้นคุณจากความรัก แต่ความรักอาจคุ้มกันคุณจากความแก่ได้
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เวลา 14:38:14 น.
เครื่องเคียงอาหารสมอง :
ผมได้พบหนังสือแปลชื่อ "เมื่อคิดให้ดีโลกนี้มีแต่สัตว์ประหลาด" (The Book of Animal Ignorance) ของสำนักพิมพ์ We LEARN ซึ่งเพิ่งวางตลาดสดๆ ร้อนๆ พลิกอ่านดูแล้วชอบมากเพราะให้ความรู้ใหม่ๆ อย่างน่าสนใจ
ขอยกเอาเรื่องจิงโจ้มาถ่ายทอด
"...ทั้งกระเพาะและลำไส้ขนาดใหญ่ของจิงโจ้เป็นเสมือนถังหมักแบคทีเรียและเอ็นไซม์ แต่มันไม่เหมือนวัวตรงที่มันไม่ผลิตก๊าซเรือนกระจกอย่างมีเทน แต่จะผลิตสารประกอบคาร์บอนไฮโดรเจนที่เรียกว่าอะซีเตต (acetate) ออกมาแทน ซึ่งสามารถนำกลับไปใช้เป็นพลังงานได้ แบคทีเรียในลำไส้ของจิงโจ้อาจเป็นกุญแจสำคัญที่ช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนด้วยการไม่ผลิตวัวที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การเอาตัวรอดท่ามกลางพื้นที่ห่างไกลที่ทั้งร้อนและแห้งแล้งต้องอาศัยการประหยัดพลังงาน มันไม่เพียงกระโดดได้อย่างรวดเร็ว แต่การกระโดดยังใช้พลังงานต่ำกว่าการเคลื่อนที่แบบอื่นด้วย
จิงโจ้เลือกที่จะออกหากินในเวลากลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงความร้อนในเวลากลางวัน (ส่งผลให้ตาของมันมีขนาดใหญ่) และใช้เวลาในช่วงกลางวันนอนอยู่ในที่ร่มคอยเลียขาหน้าของตัวเองเพื่อทำให้ตัวเย็นลง แม้แต่ระบบสืบพันธุ์ที่น่าทึ่งก็ยังมีส่วนช่วยด้วย
จิงโจ้มีชื่อเสียงในเรื่องการตั้งครรภ์ที่ใช้เวลาสั้นๆ ตัวอ่อนมีขนาดเท่ากับเยลลี่ชิ้นเล็กๆ จะปีนขึ้นไปอยู่ในหน้าท้องของแม่ตั้งแต่ตอนที่มีอายุครรภ์เพียงหนึ่งเดือน
สิ่งที่คนไม่ค่อยรู้กันก็คือ จิงโจ้ตัวเมียสามารถเก็บตัวอ่อนหรือเอ็มบริโอไว้ภายในมดลูกชุดหนึ่งจากสองชุดได้นานหลายเดือน นั่นหมายความว่า นอกจากสามารถผลิตลูกจิงโจ้ขึ้นมาทดแทนตัวที่ตายไปได้อย่างรวดเร็วแล้ว มันยังสามารถเลือกระยะเวลาในการให้กำเนิดเพื่อหลีกเลี่ยงฤดูแล้ง ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงานและน้ำ
...ตัวอ่อนขนาดเล็กของจิงโจ้อาจดูเหมือนมีพัฒนาการที่ต่ำ แต่มันก็มีสิ่งที่จำเป็นต้องมีอยู่กับตัวพร้อมสรรพ นั่นคือโพรงจมูกที่ใช้ในการดมกลิ่นหัวนมและขาหน้าที่แข็งแรงสองข้างที่ช่วยให้มันสามารถปีนขึ้นไปยังถุงหน้าท้องได้ภายในเวลาไม่ถึง 3 นาที
เมื่อปลอดภัยอยู่ในถุงหน้าท้องแล้ว ลูกจิงโจ้จะยังคงอยู่ในนั้น แต่ยังอ่อนแอเกินกว่าจะดูดนมได้ กล้ามเนื้อของหัวนมจะจัดการกับปัญหานี้โดยการพ่นน้ำนมที่อุดมด้วยสารอาหารเข้าไปในปากของลูกจิงโจ้ในปริมาณที่พอเหมาะ ตัวแม่จะคอยทำความสะอาดถุงหน้าท้องด้วยการเลียนมส่วนที่หก นมทั้งหมดที่มันผลิตออกมาจะมาจากกระบวนการทำซ้ำมากถึง 1 ใน 3
เมื่อลูกจิงโจ้เติบโตเต็มที่ในอีก 8 เดือนต่อมา มันจะกระโดดออกมาจากถุงหน้าท้องเพื่อหลีกทางให้กับน้องที่เกิดใหม่ แต่มันยังคงดูดนมจากแม่ไปอีกหลายเดือนในระหว่างที่แม่จิงโจ้ให้ความสนใจกับนมส่วนที่หก เต้านมของมันก็จะผลิตนมที่เป็นครีมข้นและนมปราศจากไขมันออกมาในเวลาเดียวกัน..."
น้ำจิ้มอาหารสมอง :
Age does not protect you from love. But love, to some extent, protects you from age.
(Anais Nin นักเขียนบันทึกมีชื่อชาวฝรั่งเศส
ค.ศ.1903-1977)
อายุไม่ขีดกั้นคุณจากความรัก แต่ความรักอาจคุ้มกันคุณจากความแก่ได้
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 50
China to make public government officials' assets step by step
English.news.cn 2011-03-02 15:41:02
BEIJING, Mar. 2 (Xinhua) -- China will make public government officials' assets in a gradual manner, Zhao Qizheng, spokesman for the annual session of the National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference (CPPCC), said here Wednesday.
The disclosure of officials' assets takes time as China has nearly 10 million civil servants and a large number of people working in government-affiliated institutions, Zhao told reporters at a press conference.
Currently, government officials are required to report not only about their income, property and investment, but also about whether their spouses or children live abroad, to the departments or institutions they work in, he said.
"Many things have to be done, step by step, before the definition of assets are made clear," he said.
Members of the CPPCC would do more research and make proposals to help improve the current regulation governing the disclosure of government officials' asset, Zhao said.
Related:
China needs to be cautious of "Internet mercenaries": CPPCC spokesman
BEIJING, March 2 (Xinhua) -- China should be cautious about "Internet mercenaries", a group of people posting comments online to manipulate public opinion, Zhao Qizheng, spokesman for the annual session of the National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference (CPPCC), told reporters here Wednesday.
China to take stronger measures to ensure food safety: political adviser
BEIJING, March 2 (Xinhua) -- China has become increasingly aware of food safety issues, as indicated by the stricter penalty meted out for offenders in food-related crimes, a member of the country's top political advisory body said Wednesday.
Zhao Qizheng, spokesman for the Fourth Session of the 11th National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference(CPPCC), made the remarks at a press conference.
English.news.cn 2011-03-02 15:41:02
BEIJING, Mar. 2 (Xinhua) -- China will make public government officials' assets in a gradual manner, Zhao Qizheng, spokesman for the annual session of the National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference (CPPCC), said here Wednesday.
The disclosure of officials' assets takes time as China has nearly 10 million civil servants and a large number of people working in government-affiliated institutions, Zhao told reporters at a press conference.
Currently, government officials are required to report not only about their income, property and investment, but also about whether their spouses or children live abroad, to the departments or institutions they work in, he said.
"Many things have to be done, step by step, before the definition of assets are made clear," he said.
Members of the CPPCC would do more research and make proposals to help improve the current regulation governing the disclosure of government officials' asset, Zhao said.
Related:
China needs to be cautious of "Internet mercenaries": CPPCC spokesman
BEIJING, March 2 (Xinhua) -- China should be cautious about "Internet mercenaries", a group of people posting comments online to manipulate public opinion, Zhao Qizheng, spokesman for the annual session of the National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference (CPPCC), told reporters here Wednesday.
China to take stronger measures to ensure food safety: political adviser
BEIJING, March 2 (Xinhua) -- China has become increasingly aware of food safety issues, as indicated by the stricter penalty meted out for offenders in food-related crimes, a member of the country's top political advisory body said Wednesday.
Zhao Qizheng, spokesman for the Fourth Session of the 11th National Committee of the Chinese People's Political Consultative Conference(CPPCC), made the remarks at a press conference.
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 51
China prepares to end GDP obsession
English.news.cn 2011-03-06 16:20:15
BEIJING, March 6 (Xinhua) -- China will seek lower economic growth in the coming five years as the constant pursuit of rapid expansion in past years has brought about unbalanced economic and social development.
China is targeting an annual average growth rate of seven percent in the next five years to 2015, Premier Wen Jiabao told nearly 3,000 national legislators Saturday.
The move is meant to bring a "significant improvement in the quality and performance of economic growth," Wen said.
The new target is quite impressive for the developed nations still struggling to stimulate economic growth after the international financial crisis. However, it seems modest in comparison with the target of 7.5 percent five years ago.
During the 11th Five-Year Plan period (2006-2010), in fact, China's economy expanded at an annual average of 11.2 percent despite impacts of the global economic turmoil.
It's true that official targets often underestimate actual economic growth, however, economists believe the new target for the 12th Five-Year Plan reflects the government's determination to shift the focus from speed to quality.
Such a message was also signaled in Wen's remarks on Feb. 27 during an online chat with netizens. The premier said the government must no longer sacrifice the environment for the sake of rapid growth
LITERAL READING?
The decision is made as the international financial crisis has exerted deep impacts, global economic growth remains slow, and China's development is unbalanced, uncoordinated and unsustainable, according to the draft 12th Five-Year Plan submitted to the annual parliamentary session Saturday.
"The target does not mean China's economic rise will slow down to seven percent," noted He Qiang, a financial expert with the Central University of Finance and Economics. One consideration is that it is conducive to prevent an overheating of the economy, he said.
Also, the continuous elimination of outdated industrial capacity will put pressures on economic growth, he said.
"A lower growth rate leaves room for possible economic fluctuations during the five years in case global or regional economic crisis bites again," said Wang Jun, a macro-economic researcher with the China Center for International Economic Exchanges, a government think tank.
The move also indicates the government has become more tolerant of slower growth, and policy-making can become more flexible in the next five years, he said.
Other economists see the voluntary abandonment of addiction to fast growth marks the government's firm determination to revamp the economy by reducing dependence on exports and capital- and energy-intensive industries. Instead, conditions for more domestic demand will be built.
A RELIEF FOR LOCAL GOVERNMENTS?
China's stunning economic rise in recent years, always exceeding annual targets, has been pushed by local governments' racing to boost regional GDP growth by putting huge investments in capital- and energy-intensive industries.
The annual growth rate of over nine percent in the past three decades has enabled China to take the place of Japan as the world's second largest economy after the United States.
However, that success comes with heavy costs: pollution, yawning wealth gap and corruption. Premier Wen defined the development model as "unbalanced, uncoordinated and unsustainable".
With a lower economic target, the central government intends to make it clear to local leaders that property investment and energy-intensive industries should not be key drivers of economic growth, Wang Jun said.
It also helps ease local governments' pressure on seeking high GDP growth and competing for rankings in an effort to meet the official evaluation system which places great emphasis on economic growth, he added.
The central government's decision to scale down the economic growth target is a guide to lower expectations for fast GDP increase, said Liu Zhiyan, an expert with the Chinese Academy of Social Sciences, a government think tank.
The government wants a slower growth speed in exchange for an upgrade in economic quality, he said. "It is hard to improve economic quality amid expectations of fast economic increase," he added.
However, it seems local governments do not feel comfortable with slowing regional growth. According to their five-year growth targets unveiled prior to the central government's plan, 25 provincial regions out of 31 in the Chinese mainland set double digit growth rates for the 2011-2015 period.
Local governments tend to set their goals higher than seven percent to ensure their jobs are accomplished, said Tang Shibao, a senior executive of the Guangxi Beibu Gulf Bank. He called for the central government to reduce the weighing of GDP growth in assessing local governments.
A report from the ANZ Bank said that, as history indicated, China's economy is expected to grow 9.6 percent in 2011.
FINE WITH SLOWDOWN?
Wen also announced in his government work report that the 2011 economic growth was set at around 8 percent.
This is the seventh consecutive year that the government eyes the same growth figure, which authorities feel is the minimum figure to secure employment and improve the people's living standard.
"It is necessary to maintain an appropriate pace of economic growth in order to expand employment, improve the people's well-being and consolidate and expand on our achievements in response to the global financial crisis," according to the 2011 draft plan for national economic and social development, just released by the National Development and Reform Commission (NDRC).
"As a developing nation with a huge population, China can not afford no growth or slow growth," warned Wang Yiming, deputy head of the Academy of Macroeconomic Research under the NDRC.
China should keep a "certain pace of growth", otherwise company profits, governmental fiscal revenue and employment will not be ensured, he said.
Commenting the government's target of creating 45 million new job opportunities in urban areas in the next five years, Wang Jun said that if the service industry can be substantially expanded amid economic restructuring, it will create enormous employment.
The government is also seeking growth in new areas, such as new strategic sectors, which are part of the efforts in economic restructuring, he said.
The draft 12th Five-Year Plan aims to develop new strategic industries, such as alternative energy and bio-technology to make these sector's value-added output account for eight percent of the country's GDP by 2015.
CONCERN OR BENEFIT FOR THE WORLD?
The slower speed of China's growth has caused concerns from the outside world, as it indicates that China will reduce its demand for goods and commodities from other countries, which are struggling for recovery from economic recession.
China has a huge appetite for foreign products, such as soybeans, clothes, iron ore and cell phones. Its economic boom has benefited many foreign companies.
"For China, the broader official agenda makes sense, especially if the government works on developing its own competence. The implications for foreigners are less clear," according to an article on the website of the Financial Times on Wednesday.
The article noted that a slower growth rate might reduce trading opportunities and calm demand for commodities.
"A slower economic increase will affect the global economy, since China's demand is tremendous," Wang Jun said. It is understandable that foreign nations have such concerns.
However, China's push on improving economic quality will keep its growth more sustainable, which means more opportunities for the world will continue for a longer time, he added.
He expected China's rapid growth to continue for the next 20 to 30 years as there are huge growth potentials in its industrialization, globalization and urbanization.
The growth potentials will also serve as a great boost to the world's economy, he added.
English.news.cn 2011-03-06 16:20:15
BEIJING, March 6 (Xinhua) -- China will seek lower economic growth in the coming five years as the constant pursuit of rapid expansion in past years has brought about unbalanced economic and social development.
China is targeting an annual average growth rate of seven percent in the next five years to 2015, Premier Wen Jiabao told nearly 3,000 national legislators Saturday.
The move is meant to bring a "significant improvement in the quality and performance of economic growth," Wen said.
The new target is quite impressive for the developed nations still struggling to stimulate economic growth after the international financial crisis. However, it seems modest in comparison with the target of 7.5 percent five years ago.
During the 11th Five-Year Plan period (2006-2010), in fact, China's economy expanded at an annual average of 11.2 percent despite impacts of the global economic turmoil.
It's true that official targets often underestimate actual economic growth, however, economists believe the new target for the 12th Five-Year Plan reflects the government's determination to shift the focus from speed to quality.
Such a message was also signaled in Wen's remarks on Feb. 27 during an online chat with netizens. The premier said the government must no longer sacrifice the environment for the sake of rapid growth
LITERAL READING?
The decision is made as the international financial crisis has exerted deep impacts, global economic growth remains slow, and China's development is unbalanced, uncoordinated and unsustainable, according to the draft 12th Five-Year Plan submitted to the annual parliamentary session Saturday.
"The target does not mean China's economic rise will slow down to seven percent," noted He Qiang, a financial expert with the Central University of Finance and Economics. One consideration is that it is conducive to prevent an overheating of the economy, he said.
Also, the continuous elimination of outdated industrial capacity will put pressures on economic growth, he said.
"A lower growth rate leaves room for possible economic fluctuations during the five years in case global or regional economic crisis bites again," said Wang Jun, a macro-economic researcher with the China Center for International Economic Exchanges, a government think tank.
The move also indicates the government has become more tolerant of slower growth, and policy-making can become more flexible in the next five years, he said.
Other economists see the voluntary abandonment of addiction to fast growth marks the government's firm determination to revamp the economy by reducing dependence on exports and capital- and energy-intensive industries. Instead, conditions for more domestic demand will be built.
A RELIEF FOR LOCAL GOVERNMENTS?
China's stunning economic rise in recent years, always exceeding annual targets, has been pushed by local governments' racing to boost regional GDP growth by putting huge investments in capital- and energy-intensive industries.
The annual growth rate of over nine percent in the past three decades has enabled China to take the place of Japan as the world's second largest economy after the United States.
However, that success comes with heavy costs: pollution, yawning wealth gap and corruption. Premier Wen defined the development model as "unbalanced, uncoordinated and unsustainable".
With a lower economic target, the central government intends to make it clear to local leaders that property investment and energy-intensive industries should not be key drivers of economic growth, Wang Jun said.
It also helps ease local governments' pressure on seeking high GDP growth and competing for rankings in an effort to meet the official evaluation system which places great emphasis on economic growth, he added.
The central government's decision to scale down the economic growth target is a guide to lower expectations for fast GDP increase, said Liu Zhiyan, an expert with the Chinese Academy of Social Sciences, a government think tank.
The government wants a slower growth speed in exchange for an upgrade in economic quality, he said. "It is hard to improve economic quality amid expectations of fast economic increase," he added.
However, it seems local governments do not feel comfortable with slowing regional growth. According to their five-year growth targets unveiled prior to the central government's plan, 25 provincial regions out of 31 in the Chinese mainland set double digit growth rates for the 2011-2015 period.
Local governments tend to set their goals higher than seven percent to ensure their jobs are accomplished, said Tang Shibao, a senior executive of the Guangxi Beibu Gulf Bank. He called for the central government to reduce the weighing of GDP growth in assessing local governments.
A report from the ANZ Bank said that, as history indicated, China's economy is expected to grow 9.6 percent in 2011.
FINE WITH SLOWDOWN?
Wen also announced in his government work report that the 2011 economic growth was set at around 8 percent.
This is the seventh consecutive year that the government eyes the same growth figure, which authorities feel is the minimum figure to secure employment and improve the people's living standard.
"It is necessary to maintain an appropriate pace of economic growth in order to expand employment, improve the people's well-being and consolidate and expand on our achievements in response to the global financial crisis," according to the 2011 draft plan for national economic and social development, just released by the National Development and Reform Commission (NDRC).
"As a developing nation with a huge population, China can not afford no growth or slow growth," warned Wang Yiming, deputy head of the Academy of Macroeconomic Research under the NDRC.
China should keep a "certain pace of growth", otherwise company profits, governmental fiscal revenue and employment will not be ensured, he said.
Commenting the government's target of creating 45 million new job opportunities in urban areas in the next five years, Wang Jun said that if the service industry can be substantially expanded amid economic restructuring, it will create enormous employment.
The government is also seeking growth in new areas, such as new strategic sectors, which are part of the efforts in economic restructuring, he said.
The draft 12th Five-Year Plan aims to develop new strategic industries, such as alternative energy and bio-technology to make these sector's value-added output account for eight percent of the country's GDP by 2015.
CONCERN OR BENEFIT FOR THE WORLD?
The slower speed of China's growth has caused concerns from the outside world, as it indicates that China will reduce its demand for goods and commodities from other countries, which are struggling for recovery from economic recession.
China has a huge appetite for foreign products, such as soybeans, clothes, iron ore and cell phones. Its economic boom has benefited many foreign companies.
"For China, the broader official agenda makes sense, especially if the government works on developing its own competence. The implications for foreigners are less clear," according to an article on the website of the Financial Times on Wednesday.
The article noted that a slower growth rate might reduce trading opportunities and calm demand for commodities.
"A slower economic increase will affect the global economy, since China's demand is tremendous," Wang Jun said. It is understandable that foreign nations have such concerns.
However, China's push on improving economic quality will keep its growth more sustainable, which means more opportunities for the world will continue for a longer time, he added.
He expected China's rapid growth to continue for the next 20 to 30 years as there are huge growth potentials in its industrialization, globalization and urbanization.
The growth potentials will also serve as a great boost to the world's economy, he added.
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 52
8 March 2011 BBC Last updated at 07:49 GMT
Subway overtakes McDonald's as biggest restaurant chain
Sandwich group Subway has overtaken McDonald's as the world's largest restaurant chain, the company has said.
Subway had 33,749 sites across the globe at the end of last year, compared with 32,737 for McDonald's.
In recent years, US-based Subway has made a major push into international markets with its successful franchised business model, which emphasises small, low-cost outlets.
t
The privately-owned company said it had been "on a great run".
McDonald's said it was still growing but was committed to "being better, not just bigger".
Subway, established in 1965, has restaurants in 95 countries.
McDonald's has restaurants in 117 countries around the world and employs 1.7 million people. More than 75% of its restaurants are franchised.
McDonald's made a profit of $1.24bn (£765m) in the final three months of last year on revenues of $6.2bn.
Subway overtakes McDonald's as biggest restaurant chain
Sandwich group Subway has overtaken McDonald's as the world's largest restaurant chain, the company has said.
Subway had 33,749 sites across the globe at the end of last year, compared with 32,737 for McDonald's.
In recent years, US-based Subway has made a major push into international markets with its successful franchised business model, which emphasises small, low-cost outlets.
t
The privately-owned company said it had been "on a great run".
McDonald's said it was still growing but was committed to "being better, not just bigger".
Subway, established in 1965, has restaurants in 95 countries.
McDonald's has restaurants in 117 countries around the world and employs 1.7 million people. More than 75% of its restaurants are franchised.
McDonald's made a profit of $1.24bn (£765m) in the final three months of last year on revenues of $6.2bn.
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 53
"หนุ่มเมืองจันท์"เล่าเรื่อง "หมอดูอีที"ทำนาย". "แน่ เมษาฯนี้
วันที่ 05 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 13:25:04 น.
ฟาสต์ฟู้ด ธุรกิจ
หนุ่มเมืองจันท์ [email protected]
เมื่อปลายสัปดาห์ก่อน ผมมีนัดที่ร้านสมบูรณ์โภชนา
คนทำนัดชื่อ "ธนา เธียรอัจฉริยะ"
ตอนนี้ยังเป็น "ธนา ดีแทค" แต่อีกไม่กี่เดือนก็จะเป็น "ธนา แม็คยีนส์"
วงสนทนาประกอบด้วย "พี่จิก" ประภาส ชลศรานนท์ "โน้ส" อุดม แต้พานิช "เอ๋" นิ้วกลม "ปิงปอง" อะเดย์ "ป๋อง" ดีแทค "กร" และ "กานต์" เวิร์คพอยท์
ขาดไป 1 คน คือ "โหน่ง" วงศ์ทนง เจ้าพ่อเด็กแนว
เขาอ้างว่า "ป่วย" แต่" ปิงปอง" เพื่อนสนิทยืนยันว่าตอนบ่ายยังแข็งแรงเป็นปกติ
การป่วยกะทันหันแบบนี้ ทุกคนฟันธงว่า "โหน่ง" ต้องมีนัดพิเศษกับคนสำคัญที่ไม่ใช่ "ผู้ชาย" อย่างแน่นอน
ครับ เป็นเรื่องธรรมดาของคนที่ไม่อยู่ในวง
ตัวย่อมเกรียมเป็นธรรมดา
เรานัดกันครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง
ครั้งแรกเมื่อประมาณเดือนกันยายนปีที่แล้ว
จำได้ว่าแต่ละคนเมื่อได้รับการติดต่อ และรู้ชื่อคนร่วมโต๊ะ
ทุกคนตั้งคำถามเดียวกันหมด
"นัดคุยกันเรื่องอะไร"
เพราะเห็นรายชื่อแล้วเหมือนจะชักชวนก่อการอะไรบางอย่าง
แต่พอรู้ "ที่มา" ทุกคนต่างส่ายหน้า
เรื่องของเรื่องก็คือ "ธนา" เจอกับ "โหน่ง" ทางทวิตเตอร์เป็นประจำ แต่ไม่เคยนั่งคุยกันเลย
พอจะนัดเจอกัน ก็มีคนเสนอว่านัดคนอื่นๆ บ้างดีกว่า
"ธนา" ก็เริ่มชักชวนคนที่คุ้นเคยกันมานั่งทานข้าวกัน
และนั่นคือที่มาของวงสนทนากลุ่มนี้
มี "รายชื่อ" แต่ไม่มีประเด็น
คุยกันครั้งแรกที่ร้านอาหารญี่ปุ่น แถวทองหล่อ
เม้าธ์กันกระจุย หัวเราะกันกระจาย
โธ่ มี "โน้ส" อยู่ร่วมโต๊ะ
ถ้าไม่ขำ "เดี่ยวไมโครโฟน" คงไม่มาถึงครั้งที่ 8
แต่ขำแบบ "โน้ส" เล่าเป็นตัวอักษรยาก
ไม่เหมือน "มุข" ของ "พี่จิก"
"พี่จิก" ตั้งปุจฉาว่าจังหวัดไหนดื่มเหล้ามากที่สุด
"สุรินทร์" ตอบกันหลายคน เพราะเป็นข้อมูลที่พอรู้กันอยู่แล้ว
"แต่มีอยู่ปีหนึ่ง ชลบุรีแย่งตำแหน่งแชมป์จากสุรินทร์ไปได้" พี่จิก หนุ่มเมืองชล เล่าด้วยความภูมิใจ "คนเมืองชลก็สงสัยว่าทำไมปีนี้เมืองชลกินเหล้าดุจัง"
"พอไปหาข้อมูลจึงรู้เหตุผล"
"ทำไมล่ะ" ผมถาม
"ปีนั้นคนสุรินทร์ไปตัดอ้อยที่เมืองชลเยอะกว่าปีที่ผ่านมา"
ฮา...
คุยกันตั้ง 4 ชั่วโมง
"โหน่ง" แซวขึ้นมาแบบขำ-ขำที่เหมือนเป็นบทสรุปของการคุยกัน
"ก่อนมา ผมคิดว่าจะต้องได้แรงบันดาลใจอะไรสักอย่าง แต่ไม่เห็นได้อะไรเลย"
ทั้งวงหัวเราะขึ้นมาพร้อมกัน
ครับ ทุกคนคงคิดเหมือนกัน
มันต้องมีอะไรสักอย่าง
ไม่รู้ว่าอะไร แต่มันต้องมี
สุดท้ายก็คือ ไม่มี
แต่ในความ "ไม่มี" แท้จริงมัน "มี"
มีอะไรก็ไม่รู้ รู้แต่ว่า "พี่จิก" เอ่ยปากเอง
"เอาไว้เรานัดกันสัก 2 เดือนครั้ง"
ทุกคนพยักหน้าพร้อมกัน
สนุกแบบนี้ใครจะไม่มา
ยิ่ง "ผู้ใหญ่" เอ่ยปากด้วย ใครจะกล้าปฏิเสธ
และนั่นคือเหตุผลของการนัดกันครั้งนี้
เพียงแต่ "เวลา" ไม่ใช่ 2 เดือน
แต่เป็น 5 เดือน
มาครั้งนี้ ทุกคนทำใจแล้วว่าอย่าหวัง "แรงบันดาลใจ" อะไรเลย
คุยกันสนุกๆ กินอาหารอร่อยๆ กันดีกว่า
ร้านสมบูรณ์โภชนาเจ้าเก่าที่บรรทัดทองร้านนี้ ผมได้ยินชื่อเสียง "ปูผัดผงกะหรี่" มานาน
ไม่ผิดหวังครับ
"เนื้อปูผัดผงกะหรี่" อร่อยสมคำร่ำลือ
"ปลาหิมะย่างเต้าเจี้ยว" ก็อร่อย
"กุ้งเสียบไม้ทอด" ก็เยี่ยม
สงสัยใช้ "น้ำมันปาล์ม"
"พี่จิก" มาเป็นคนสุดท้าย
ผมรีบยกมือไหว้ ทั้งสวัสดีและขอบคุณ
"ถ้าพี่จิกไม่มา ผมจะแก่ที่สุดในวงเลย"
นอกจากสมาชิกเดิมแล้ว ยังมี "ตัน ภาสกรนที" แวบเข้ามาตอนท้ายด้วย
"โน้ส" เพิ่งไปพม่ากับ "ตัน" และได้ไปดูหมอกับ "หมอดูอีที" มาด้วย
ไม่ได้ตั้งใจ แต่บังเอิญ
เพราะ "คุณอิง" ภรรยาของ "ตัน" ไม่ได้ไปดู "โน้ส" เลยได้คิวพิเศษแทน
"หมอดูอีที" เป็นหมอดูตาบอดชื่อดังของพม่า
คนดังในเมืองไทยแห่ไปดูกันเยอะมาก
"โน้ส" เล่าว่าหมอดูอีทีวันหนึ่งรับดูแค่ 5 คน และก่อนการทำนายดวงชะตา เธอจะเริ่มต้นด้วยการบอกหมายเลขธนบัตรในกระเป๋าของลูกค้าซึ่งจะขึ้นไปทีละคน
คนอื่นที่ไปดูก็คงจะมาเล่าเรื่องความแม่นยำธรรมดาๆ
แต่พอเข้าปาก "โน้ส"
เรื่องที่ธรรมดาย่อมไม่ธรรมดา
ขออนุญาตไม่เล่า เพราะไม่รู้ว่า "โน้ส" จะเอาไปเล่นใน "เดี่ยวฯ 9" หรือเปล่า
แต่ที่ต้องเล่าก็คือ "หมอดูอีที" ทำนายว่าเมืองไทยจะมีการรัฐประหารในเดือนเมษายนนี้
ตามประสานักข่าว ได้ยินปั๊บ หูผึ่งเลย
ส่วนคนทำธุรกิจได้แต่ส่ายหน้า
"อินเทลหายแน่"
"อินเทล" เขาผลิต "ชิป" ครับ
จากเรื่องหมอดู ก็โยงไปเรื่องการโชว์มายากล และการเล่นกลต่างๆ มากมาย
ตามมาด้วยเรื่อง "แคมฟร็อก"
วนไปได้ยังไงก็ไม่รู้ หรือว่ามันเป็นมายากลรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งคนในวงที่รู้เรื่องนี้ดี บอกชื่อไปก็ไม่มีใครเชื่อ
และเขาห้ามบอกด้วย
การคุยกันครั้งนี้จบลงด้วยความประทับใจกว่าครั้งก่อน
เมื่อ "ป๋อง" เดินมาบอกว่าเกิดปัญหาใหญ่ขึ้นมา
เพราะเจ้าของร้านไม่ยอมให้จ่ายค่าเสียหาย
เขาอยากจะเลี้ยง "โน้ส"
ครับ ครั้งหน้านัดกันใหม่เมื่อไรไม่รู้
แต่ทุกคนลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์
เจอกันที่ร้าน "สมบูรณ์โภชนา"
วันที่ 05 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 13:25:04 น.
ฟาสต์ฟู้ด ธุรกิจ
หนุ่มเมืองจันท์ [email protected]
เมื่อปลายสัปดาห์ก่อน ผมมีนัดที่ร้านสมบูรณ์โภชนา
คนทำนัดชื่อ "ธนา เธียรอัจฉริยะ"
ตอนนี้ยังเป็น "ธนา ดีแทค" แต่อีกไม่กี่เดือนก็จะเป็น "ธนา แม็คยีนส์"
วงสนทนาประกอบด้วย "พี่จิก" ประภาส ชลศรานนท์ "โน้ส" อุดม แต้พานิช "เอ๋" นิ้วกลม "ปิงปอง" อะเดย์ "ป๋อง" ดีแทค "กร" และ "กานต์" เวิร์คพอยท์
ขาดไป 1 คน คือ "โหน่ง" วงศ์ทนง เจ้าพ่อเด็กแนว
เขาอ้างว่า "ป่วย" แต่" ปิงปอง" เพื่อนสนิทยืนยันว่าตอนบ่ายยังแข็งแรงเป็นปกติ
การป่วยกะทันหันแบบนี้ ทุกคนฟันธงว่า "โหน่ง" ต้องมีนัดพิเศษกับคนสำคัญที่ไม่ใช่ "ผู้ชาย" อย่างแน่นอน
ครับ เป็นเรื่องธรรมดาของคนที่ไม่อยู่ในวง
ตัวย่อมเกรียมเป็นธรรมดา
เรานัดกันครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง
ครั้งแรกเมื่อประมาณเดือนกันยายนปีที่แล้ว
จำได้ว่าแต่ละคนเมื่อได้รับการติดต่อ และรู้ชื่อคนร่วมโต๊ะ
ทุกคนตั้งคำถามเดียวกันหมด
"นัดคุยกันเรื่องอะไร"
เพราะเห็นรายชื่อแล้วเหมือนจะชักชวนก่อการอะไรบางอย่าง
แต่พอรู้ "ที่มา" ทุกคนต่างส่ายหน้า
เรื่องของเรื่องก็คือ "ธนา" เจอกับ "โหน่ง" ทางทวิตเตอร์เป็นประจำ แต่ไม่เคยนั่งคุยกันเลย
พอจะนัดเจอกัน ก็มีคนเสนอว่านัดคนอื่นๆ บ้างดีกว่า
"ธนา" ก็เริ่มชักชวนคนที่คุ้นเคยกันมานั่งทานข้าวกัน
และนั่นคือที่มาของวงสนทนากลุ่มนี้
มี "รายชื่อ" แต่ไม่มีประเด็น
คุยกันครั้งแรกที่ร้านอาหารญี่ปุ่น แถวทองหล่อ
เม้าธ์กันกระจุย หัวเราะกันกระจาย
โธ่ มี "โน้ส" อยู่ร่วมโต๊ะ
ถ้าไม่ขำ "เดี่ยวไมโครโฟน" คงไม่มาถึงครั้งที่ 8
แต่ขำแบบ "โน้ส" เล่าเป็นตัวอักษรยาก
ไม่เหมือน "มุข" ของ "พี่จิก"
"พี่จิก" ตั้งปุจฉาว่าจังหวัดไหนดื่มเหล้ามากที่สุด
"สุรินทร์" ตอบกันหลายคน เพราะเป็นข้อมูลที่พอรู้กันอยู่แล้ว
"แต่มีอยู่ปีหนึ่ง ชลบุรีแย่งตำแหน่งแชมป์จากสุรินทร์ไปได้" พี่จิก หนุ่มเมืองชล เล่าด้วยความภูมิใจ "คนเมืองชลก็สงสัยว่าทำไมปีนี้เมืองชลกินเหล้าดุจัง"
"พอไปหาข้อมูลจึงรู้เหตุผล"
"ทำไมล่ะ" ผมถาม
"ปีนั้นคนสุรินทร์ไปตัดอ้อยที่เมืองชลเยอะกว่าปีที่ผ่านมา"
ฮา...
คุยกันตั้ง 4 ชั่วโมง
"โหน่ง" แซวขึ้นมาแบบขำ-ขำที่เหมือนเป็นบทสรุปของการคุยกัน
"ก่อนมา ผมคิดว่าจะต้องได้แรงบันดาลใจอะไรสักอย่าง แต่ไม่เห็นได้อะไรเลย"
ทั้งวงหัวเราะขึ้นมาพร้อมกัน
ครับ ทุกคนคงคิดเหมือนกัน
มันต้องมีอะไรสักอย่าง
ไม่รู้ว่าอะไร แต่มันต้องมี
สุดท้ายก็คือ ไม่มี
แต่ในความ "ไม่มี" แท้จริงมัน "มี"
มีอะไรก็ไม่รู้ รู้แต่ว่า "พี่จิก" เอ่ยปากเอง
"เอาไว้เรานัดกันสัก 2 เดือนครั้ง"
ทุกคนพยักหน้าพร้อมกัน
สนุกแบบนี้ใครจะไม่มา
ยิ่ง "ผู้ใหญ่" เอ่ยปากด้วย ใครจะกล้าปฏิเสธ
และนั่นคือเหตุผลของการนัดกันครั้งนี้
เพียงแต่ "เวลา" ไม่ใช่ 2 เดือน
แต่เป็น 5 เดือน
มาครั้งนี้ ทุกคนทำใจแล้วว่าอย่าหวัง "แรงบันดาลใจ" อะไรเลย
คุยกันสนุกๆ กินอาหารอร่อยๆ กันดีกว่า
ร้านสมบูรณ์โภชนาเจ้าเก่าที่บรรทัดทองร้านนี้ ผมได้ยินชื่อเสียง "ปูผัดผงกะหรี่" มานาน
ไม่ผิดหวังครับ
"เนื้อปูผัดผงกะหรี่" อร่อยสมคำร่ำลือ
"ปลาหิมะย่างเต้าเจี้ยว" ก็อร่อย
"กุ้งเสียบไม้ทอด" ก็เยี่ยม
สงสัยใช้ "น้ำมันปาล์ม"
"พี่จิก" มาเป็นคนสุดท้าย
ผมรีบยกมือไหว้ ทั้งสวัสดีและขอบคุณ
"ถ้าพี่จิกไม่มา ผมจะแก่ที่สุดในวงเลย"
นอกจากสมาชิกเดิมแล้ว ยังมี "ตัน ภาสกรนที" แวบเข้ามาตอนท้ายด้วย
"โน้ส" เพิ่งไปพม่ากับ "ตัน" และได้ไปดูหมอกับ "หมอดูอีที" มาด้วย
ไม่ได้ตั้งใจ แต่บังเอิญ
เพราะ "คุณอิง" ภรรยาของ "ตัน" ไม่ได้ไปดู "โน้ส" เลยได้คิวพิเศษแทน
"หมอดูอีที" เป็นหมอดูตาบอดชื่อดังของพม่า
คนดังในเมืองไทยแห่ไปดูกันเยอะมาก
"โน้ส" เล่าว่าหมอดูอีทีวันหนึ่งรับดูแค่ 5 คน และก่อนการทำนายดวงชะตา เธอจะเริ่มต้นด้วยการบอกหมายเลขธนบัตรในกระเป๋าของลูกค้าซึ่งจะขึ้นไปทีละคน
คนอื่นที่ไปดูก็คงจะมาเล่าเรื่องความแม่นยำธรรมดาๆ
แต่พอเข้าปาก "โน้ส"
เรื่องที่ธรรมดาย่อมไม่ธรรมดา
ขออนุญาตไม่เล่า เพราะไม่รู้ว่า "โน้ส" จะเอาไปเล่นใน "เดี่ยวฯ 9" หรือเปล่า
แต่ที่ต้องเล่าก็คือ "หมอดูอีที" ทำนายว่าเมืองไทยจะมีการรัฐประหารในเดือนเมษายนนี้
ตามประสานักข่าว ได้ยินปั๊บ หูผึ่งเลย
ส่วนคนทำธุรกิจได้แต่ส่ายหน้า
"อินเทลหายแน่"
"อินเทล" เขาผลิต "ชิป" ครับ
จากเรื่องหมอดู ก็โยงไปเรื่องการโชว์มายากล และการเล่นกลต่างๆ มากมาย
ตามมาด้วยเรื่อง "แคมฟร็อก"
วนไปได้ยังไงก็ไม่รู้ หรือว่ามันเป็นมายากลรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งคนในวงที่รู้เรื่องนี้ดี บอกชื่อไปก็ไม่มีใครเชื่อ
และเขาห้ามบอกด้วย
การคุยกันครั้งนี้จบลงด้วยความประทับใจกว่าครั้งก่อน
เมื่อ "ป๋อง" เดินมาบอกว่าเกิดปัญหาใหญ่ขึ้นมา
เพราะเจ้าของร้านไม่ยอมให้จ่ายค่าเสียหาย
เขาอยากจะเลี้ยง "โน้ส"
ครับ ครั้งหน้านัดกันใหม่เมื่อไรไม่รู้
แต่ทุกคนลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์
เจอกันที่ร้าน "สมบูรณ์โภชนา"
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 54
China reports $7.3 bln trade deficit in February
English.news.cn 2011-03-10 11:27:04
BEIJING, March 10 (Xinhua) -- China recorded a trade deficit of 7.3 billion U.S. dollars in February as the Lunar New Year holiday season dented exports, the General Administration of Customs (GAC) said Thursday.
This is China's second monthly trade deficit in a year, after the country announced a deficit of 7.24 billion U.S. dollars in March 2010, which was, at that time, the first time in six years.
In the first two months this year, China posted a trade deficit of 890 million U.S. dollars, as January's trade surplus shrank year on year by more than half to 6.45 billion U.S. dollars, said the GAC.
The GAC attributed the deficit to the week-long Spring Festival break in early February, saying the holiday had hindered export growth.
China's foreign trade rose by 10.6 percent year on year to 200.78 billion U.S. dollars last month, said the customs.
Exports grew by 2.4 percent year on year to 96.74 billion U.S. dollars in February while imports increased by 19.4 percent to 104.04 billion U.S. dollars.
For the first two months of the year, China's foreign trade totaled 495.83 billion U.S. dollars, representing a 28.3 percent growth from the same period last year.
The European Union remained China's largest trade partner in the period, with EU-China trade up 16.3 percent year on year to 76.2 billion U.S. dollars.
Meanwhile, trade with the United States rose 22.6 percent year on year to 60.5 billion U.S. dollars while China-Japan trade jumped 28.8 percent year on year to 48.85 billion U.S. dollars.
Chinese Commerce Minister Chen Deming said earlier this week during the ongoing annual parliamentary session, that it was possible that China would register trade deficits in some months, as the growth of imports would likely soon outpace that of exports.
There are still "uncertainties" in the global market that could hinder export recovery, together with increasing domestic factors that had driven up production costs, he said.
But economists said the seasonal factor had largely affected the February trade figure, as Chinese exporters rushed to finish all the orders before the Chinese Lunar New Year holiday.
The slump in February exports is merely "temporary and seasonal," said Liu Ligang, Head of Greater China Economics with the ANZ Bank, and he expected a strong rebound in exports in March.
Liu compared February's deficit with the previous one, when China witnessed the first monthly trade deficit in six years in March last year. But the trade deficit was short lived as exports rebounded in April.
Wang Qing, chief economist for Greater China with Morgan Stanley, said the February trade conditions shoud be reviewed together with the January figure.
The GAC figures had shown that exports grew 21.3 percent in the two-month period, reflecting "stable growth" in foreign trade, he said.
Rising imports partly due to higher international commodity prices, including crude oil and iron ore, had also attributed to the deficit said Li Jian, a researcher with the Chinese Academy of International Trade and Economic Cooperation, an affiliate of the Ministry of Commerce.
But more importantly, Li said, the deficit reflected a trend of declining trade surpluses, which was a result of China's foreign trade policy of "stabilizing exports, boosting imports while having a lower trade surplus."
"Overall, the country's imports growth is picking up while exports growth is slowing," he said.
China's trade surplus fell 6.4 percent year on year to 183.1 billion U.S. dollars in 2010, according to GAC figures.
Market observers said the sudden deficit was linked to a rising yuan, instabilities in external markets, and rising labor costs.
Tan Yalin, an expert at the China Institute for Financial Derivatives at Peking University, said the deficit could help reduce pressure for the yuan to appreciate, but it was not a positive sign for Chinese exporters.
The foreign markets are turning to other countries for manufacturing with the strengthening of the yuan, and China's exporters need to figure out how to maintain the competitive edge in future, she told Xinhua.
The Chinese currency renminbi (RMB), or the yuan, on Monday strengthened to an all-time high of 6.5651 per U.S. dollar. On Thursday, the central parity rate of yuan was set at 6.5713 per U.S. dollar.
The yuan has appreciated nearly 4 percent since June 19 last year when the People's Bank of China, the central bank, announced it would further reform the exchange rate formation mechanism to improve the yuan's flexibility.
Editor: An
English.news.cn 2011-03-10 11:27:04
BEIJING, March 10 (Xinhua) -- China recorded a trade deficit of 7.3 billion U.S. dollars in February as the Lunar New Year holiday season dented exports, the General Administration of Customs (GAC) said Thursday.
This is China's second monthly trade deficit in a year, after the country announced a deficit of 7.24 billion U.S. dollars in March 2010, which was, at that time, the first time in six years.
In the first two months this year, China posted a trade deficit of 890 million U.S. dollars, as January's trade surplus shrank year on year by more than half to 6.45 billion U.S. dollars, said the GAC.
The GAC attributed the deficit to the week-long Spring Festival break in early February, saying the holiday had hindered export growth.
China's foreign trade rose by 10.6 percent year on year to 200.78 billion U.S. dollars last month, said the customs.
Exports grew by 2.4 percent year on year to 96.74 billion U.S. dollars in February while imports increased by 19.4 percent to 104.04 billion U.S. dollars.
For the first two months of the year, China's foreign trade totaled 495.83 billion U.S. dollars, representing a 28.3 percent growth from the same period last year.
The European Union remained China's largest trade partner in the period, with EU-China trade up 16.3 percent year on year to 76.2 billion U.S. dollars.
Meanwhile, trade with the United States rose 22.6 percent year on year to 60.5 billion U.S. dollars while China-Japan trade jumped 28.8 percent year on year to 48.85 billion U.S. dollars.
Chinese Commerce Minister Chen Deming said earlier this week during the ongoing annual parliamentary session, that it was possible that China would register trade deficits in some months, as the growth of imports would likely soon outpace that of exports.
There are still "uncertainties" in the global market that could hinder export recovery, together with increasing domestic factors that had driven up production costs, he said.
But economists said the seasonal factor had largely affected the February trade figure, as Chinese exporters rushed to finish all the orders before the Chinese Lunar New Year holiday.
The slump in February exports is merely "temporary and seasonal," said Liu Ligang, Head of Greater China Economics with the ANZ Bank, and he expected a strong rebound in exports in March.
Liu compared February's deficit with the previous one, when China witnessed the first monthly trade deficit in six years in March last year. But the trade deficit was short lived as exports rebounded in April.
Wang Qing, chief economist for Greater China with Morgan Stanley, said the February trade conditions shoud be reviewed together with the January figure.
The GAC figures had shown that exports grew 21.3 percent in the two-month period, reflecting "stable growth" in foreign trade, he said.
Rising imports partly due to higher international commodity prices, including crude oil and iron ore, had also attributed to the deficit said Li Jian, a researcher with the Chinese Academy of International Trade and Economic Cooperation, an affiliate of the Ministry of Commerce.
But more importantly, Li said, the deficit reflected a trend of declining trade surpluses, which was a result of China's foreign trade policy of "stabilizing exports, boosting imports while having a lower trade surplus."
"Overall, the country's imports growth is picking up while exports growth is slowing," he said.
China's trade surplus fell 6.4 percent year on year to 183.1 billion U.S. dollars in 2010, according to GAC figures.
Market observers said the sudden deficit was linked to a rising yuan, instabilities in external markets, and rising labor costs.
Tan Yalin, an expert at the China Institute for Financial Derivatives at Peking University, said the deficit could help reduce pressure for the yuan to appreciate, but it was not a positive sign for Chinese exporters.
The foreign markets are turning to other countries for manufacturing with the strengthening of the yuan, and China's exporters need to figure out how to maintain the competitive edge in future, she told Xinhua.
The Chinese currency renminbi (RMB), or the yuan, on Monday strengthened to an all-time high of 6.5651 per U.S. dollar. On Thursday, the central parity rate of yuan was set at 6.5713 per U.S. dollar.
The yuan has appreciated nearly 4 percent since June 19 last year when the People's Bank of China, the central bank, announced it would further reform the exchange rate formation mechanism to improve the yuan's flexibility.
Editor: An
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 55
ข่าวเดียวกัน แต่คนละสำนัก เง็งจิงจิง
BUSINESS
10 March 2011 Last updated at 08:59 GMT
China posts a surprise trade deficit as exports slow
China has reported a surprise trade deficit for the first time since March last year, after exports slowed.
Shipments grew at a weaker-than-expected 2.4% in February from the same month a year ago, latest figures show.
Imports on the other hand increased by 19.4%, resulting in a trade deficit of $7.3bn (£4.5bn), the largest in seven years.
The news comes at a time when China has been facing criticism over its export-led growth policy.
Easing pressure
The US has led criticism of China, claiming it keeps the value of its currency, the yuan, artificially low so that it can boost foreign sales.
A weaker currency makes Chinese goods more affordable, giving the country's exporters an advantage over many competitors.
In recent years there have been repeated calls for China to let its currency appreciate against the US dollar.
Analysts say February's surprise deficit numbers may ease that pressure.
"A trade deficit offers relief to the international trade imbalance, and it may help to reduce pressure on the yuan to appreciate," said Wang Jianhui of Southwest Securities.
Mr Wang also said that as China works towards rebalancing its trade and increasing domestic demand, the slowdown in exports could continue in coming months.
"The Chinese government will be happy to see a modest trade deficit for a while," Mr Wang said.
Misfiring?
China's growth over the past years has been powered by its surging exports.
But as demand in its key markets such as the US and Europe has slowed, China has said it will focus on increasing domestic consumption in order to maintain economic growth.
However, analysts say that the latest numbers may point to deeper problems, not least the fact that domestic demand is not picking up as much as first hoped.
Imports are considered a good measure of domestic demand. In February, while they were expected to grow by more than 30%, they rose by 19.4%.
"It is definitely not a good sign," said Xu Biao of China Merchants Bank.
Mr Xu said that the latest figures may show that demand in mainland China is faltering.
"Imports have dropped significantly, and it points to a serious weakening in domestic economic activity," he said.
BBC © MMXI
BUSINESS
10 March 2011 Last updated at 08:59 GMT
China posts a surprise trade deficit as exports slow
China has reported a surprise trade deficit for the first time since March last year, after exports slowed.
Shipments grew at a weaker-than-expected 2.4% in February from the same month a year ago, latest figures show.
Imports on the other hand increased by 19.4%, resulting in a trade deficit of $7.3bn (£4.5bn), the largest in seven years.
The news comes at a time when China has been facing criticism over its export-led growth policy.
Easing pressure
The US has led criticism of China, claiming it keeps the value of its currency, the yuan, artificially low so that it can boost foreign sales.
A weaker currency makes Chinese goods more affordable, giving the country's exporters an advantage over many competitors.
In recent years there have been repeated calls for China to let its currency appreciate against the US dollar.
Analysts say February's surprise deficit numbers may ease that pressure.
"A trade deficit offers relief to the international trade imbalance, and it may help to reduce pressure on the yuan to appreciate," said Wang Jianhui of Southwest Securities.
Mr Wang also said that as China works towards rebalancing its trade and increasing domestic demand, the slowdown in exports could continue in coming months.
"The Chinese government will be happy to see a modest trade deficit for a while," Mr Wang said.
Misfiring?
China's growth over the past years has been powered by its surging exports.
But as demand in its key markets such as the US and Europe has slowed, China has said it will focus on increasing domestic consumption in order to maintain economic growth.
However, analysts say that the latest numbers may point to deeper problems, not least the fact that domestic demand is not picking up as much as first hoped.
Imports are considered a good measure of domestic demand. In February, while they were expected to grow by more than 30%, they rose by 19.4%.
"It is definitely not a good sign," said Xu Biao of China Merchants Bank.
Mr Xu said that the latest figures may show that demand in mainland China is faltering.
"Imports have dropped significantly, and it points to a serious weakening in domestic economic activity," he said.
BBC © MMXI
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 56
เงินเฟ้อราคาอาหารและน้ำมัน
วันที่ 08 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 13:20:35 น.
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
ในช่วงเวลาอันใกล้ต่อไป คนมีรายได้น้อยจะทนทุกข์ทรมานมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะมีทางโน้มที่ชัดเจนว่าราคาสินค้าจะขยับตัวเพิ่ม ยิ่งเหล่าเผด็จการในตะวันออกกลางกำลังจะกลายเป็นตัวโดมิโนร่วงหล่นกันไปทีละคน ความหวาดหวั่นว่าราคาน้ำมันจะพุ่งก็มีมากขึ้น
จะว่าไปแล้วเป็นคนจนมันก็ไม่ดีทั้งนั้นแหละ ไม่เพียงแต่รายได้ส่วนใหญ่จะหมดไปกับอาหารและสิ่งบริโภคอุปโภคแล้ว ยังมีแบบแผนการดำรงชีวิตที่ทำให้มีโอกาสตายสูงขึ้นอีกด้วย
ไม่ว่ามองไปทางไหนในเอเชีย ราคาอาหารก็สูงขึ้นทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นอินเดีย อินโดนีเซีย จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ หรือแม้แต่บ้านเรา
การที่ราคาอาหารสูงขึ้นทำให้อัตราเงินเฟ้อหรือราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้น เนื่องจากค่าแรงมักขยับตัวตามราคาอาหาร ราคาน้ำมันก็ผันแปรตามความไม่แน่นอนของความต้องการของตลาดโลกและสถานการณ์การเมืองของแหล่งผลิตน้ำมัน
ผู้ดำเนินนโยบายเศรษฐกิจของแต่ละประเทศต้องเผชิญกับสถานการณ์อยู่ระหว่าง เขาควาย กล่าวคือต้องจำต้องกำหนดอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นเพื่อปราบเชื้อไฟของเงินเฟ้อซึ่ง ได้แก่ สินเชื่อจากการกู้ยืม การใช้จ่ายของประชาชนเมื่อเห็นผลตอบแทนจากการออมต่ำ ฯลฯ
ในทางตรงกันข้ามถ้าหากปรับอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นเร็วเกินไปก็จะทำให้อัตราเจริญเติบโตของเศรษฐกิจช็อกไป การจ้างงานก็จะสูงขึ้น
แต่ถ้าปรับอัตราดอกเบี้ยช้าไปก็จะควบคุมสถานการณ์เงินเฟ้อไว้ไม่อยู่
ธนาคารโลกได้ประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ว่าราคาอาหารโลกได้สูงขึ้นถึงระดับที่เป็น "อันตราย" เพราะสูงขึ้นโดยเฉลี่ยถึงร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับปีก่อน ราคาที่สูงขึ้นของข้าวสาลี ข้าวโพด และน้ำมัน ผลักดันให้ประชากร 44 ล้านคน เข้าไปอยู่ในข่ายยากจนสุดๆ ตั้งแต่เดือนมิถุนายนของปี 2010 เป็นต้นมา
พวกเราคงยังจำสถานการณ์ราคาอาหารสูงขึ้นเพราะความขาดแคลนอาหารในปี 2008 กันได้ ครั้งนั้นถือได้ว่าหนักมากเพราะในบางประเทศเกิดความชุลมุนวุ่นวายแย่งชิงอาหารกัน แต่ครั้งนี้ยังดีเพราะฤดูเก็บเกี่ยวที่ผ่านไปมีปริมาณของพืชผลออกมามากพอควรจนทำให้ไม่เหมือนปี 2008
อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญบางส่วนเชื่อว่าสถานการณ์เลวร้ายกว่านี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่มีประชากรยากจนอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้น สถานการณ์จึงอ่อนไหวต่อเงินเฟ้อด้านอาหารมากกว่าที่อื่น ซึ่งถึงแม้บริเวณเหล่านั้น เช่น แอฟริกา มีสัดส่วน คนยากจนสูง แต่ก็มีขนาดประชากรต่ำกว่า
ทุกครั้งที่อาหารมีราคาสูงขึ้นคนยากจนจะเป็นคนกลุ่มแรกที่ถูกลงโทษ เพราะเมื่อเงินจำนวนเท่าเดิมซื้ออาหารได้น้อยลง (รายได้ที่แท้จริงลดลง) คุณภาพชีวิตก็ย่อมเลวลง
และอีกประการหนึ่งเมื่อคนจนไม่มีเงินออมหรือมีน้อยมากก็ขาดความคล่องตัวในการจัดการซื้ออาหารที่จำเป็นไว้ก่อนที่ราคาจะสูงขึ้น การมีทางเลือกที่น้อยจึงยิ่งทิ่มตำคนจนมากยิ่งขึ้น
ผู้คนถกเถียงกันมากว่าอะไรเป็นสาเหตุสำคัญของราคาอาหารที่พุ่งสูงขึ้นจนอยู่ในระดับที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์ คำอธิบายแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ แต่คำตอบร่วมกันประการหนึ่งก็คือสภาวะอากาศที่ผันแปรไปสุดโต่งอย่างบ่อยขึ้นจนทำลายพืชผลไปมากมาย ซัพพลายไหลเข้าตลาดน้อยลงจนมีผลทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น
น้ำท่วมหนักในออสเตรเลีย ปากีสถาน และอินเดีย มีผลทำให้พืชผลเสียหายเช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นกับสภาวะฝนแล้งในอาเจนตินา ยุโรปตะวันออก และจีน (เลวร้ายสุดในรอบ 6 ทศวรรษจนบีบให้ข้าวสาลีซึ่งจีนเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลกมีราคาสูงขึ้นกว่าร้อยละ 30 นับตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายน 2010 เป็นต้นมา)
นอกจากนี้ การที่จำนวนคนเอเชียชั้นกลางขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดความต้องการอาหารมากขึ้นกว่าเดิม เพราะคนพวกนี้มีการบริโภคอาหารหลากหลายชนิดขึ้น ซึ่งหมายถึงความต้องการพืชผลที่เพิ่มขึ้นในหลายประเภท
ราคาพลังงานก็มีส่วนทำให้อาหารมีราคาแพงขึ้นอย่างไม่อาจปฏิเสธได้ (ค่าเดินทาง ค่าปุ๋ย ค่าโสหุ้ยต่างๆ สูงขึ้น) และราคาพลังงานที่สูงขึ้นนี้จูงใจให้เกษตรกรปลูกพืชเพื่อเอาไปผลิตพลังงาน (Biofuels) ซึ่งมีส่วนทำให้เหลือพืชผลสำหรับใช้เป็นอาหารน้อยลง
ปัจจัยหลักของพลังงานก็คือน้ำมันดิบ (ซึ่งแปรเปลี่ยนมาเป็นน้ำมันเตา ก๊าซ ดีเซล เบนซิน ฯลฯ ด้วยการกลั่น) ซึ่งนับวันจะมีการบริโภคสูงขึ้นเป็นลำดับเนื่องจากยังคงเป็นพลังงานที่มีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานที่มาจากต้นกำเนิดอื่นๆ เช่น แสงอาทิตย์ ลม ฯลฯ
ในปี 2001 ทั้งโลกใช้น้ำมันดิบวันละ 76 ล้านบาเรล (1 บาเรลเท่ากับประมาณ 158.987 ลิตร) ในปี 2011 ใช้ 89 ล้านบาเรล และก่อนถึงปี 2015 คาดว่าจะมีการใช้ถึง 93.5 ล้านบาเรลต่อวัน
ในตัวเลขดังกล่าวซาอุดิอาระเบียมีสัดส่วนการผลิตสูงสุดคือวันละ 10.2 ล้านบาเรล ต่อวัน (ร้อยละ 11.7 ของโลก) อิหร่านวันละ 4.1 ล้านบาเรลต่อวัน (ร้อยละ 5.3 ของโลก) อิรัก 2.4 ล้านบาเรลต่อวัน (ร้อยละ 3.1 ของโลก)
หากโดมิโนตกการลุกฮือของประชาชนลามไปถึงสองประเทศคืออิหร่านและซาอุดีอาระเบียจึงเป็นสิ่งน่ากลัวในระยะสั้นสำหรับชาวโลก สำหรับอียิปต์นั้นไม่น่ากลัวเพราะวันหนึ่งผลิตได้เพียง 662,000 บาเรล (ร้อยละ 0.8) ซึ่งเกือบทั้งหมดใช้สำหรับการบริโภคในประเทศ
น้ำมันที่ผ่านคลองสุเอซ (อยู่ในอียิปต์เป็นคลองเชื่อมระหว่างทะเล Red Sea กับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน) นั้นปัจจุบันมีเพียงวันละ 1 ล้านบาเรล ส่วนอีก 1.1 ล้านบาเรลต่อวันข้ามอียิปต์โดยผ่านท่อที่มีชื่อว่า Suez-Mediterranean ซึ่งเชื่อมต่อ Gulf of Suez ไปยังทะเล Mediterranean
ถึงแม้การขึ้นลงของราคาอาหารส่วนใหญ่เป็นไปตามกลไกตลาด แต่เราก็ไม่สมควรยอมจำนนมันโดยดุษฎีภาพ การแทรกแซงโดยรัฐในรูปของการให้เงินอุดหนุนในการผลิต การช่วยลดต้นทุนในการผลิต ตลอดจนการสร้างแรงจูงใจในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผลผลิตไหลเข้าตลาดมากขึ้นเป็นสิ่งจำเป็น
เราไม่ยอมปล่อยให้คนจนล่องลอยตามยถากรรมฉันใด เราก็ไม่ควรปล่อยให้ราคาอาหารของประชาชนทั่วไปลอยตัวขึ้นไปอย่างไร้จุดหมายฉันนั้น
เครื่องเคียงอาหารสมอง
มนุษย์สับสนกับสัญลักษณ์ที่มีความหมายไม่ตรงกันหลายประการ ขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้
(1) เครื่องหมาย comma (,) ทั้งโลกใช้เครื่องหมายนี้หน้าตัวเลข 3 ตัว (หลักพัน) สุดท้ายและทุกๆ 3 ตัวตามที่มา เพื่อช่วยให้นับได้ง่ายขึ้น เช่น 3,000 คือ สามพัน 30,000 คือ สามหมื่น ฯ
อย่างไรก็ดี ในยุโรปบางประเทศใช้เครื่องหมาย comma นี้แทนจุด (.) เช่น 3,00 ยูโร หมายถึง 3.00 ยูโร/ หากมีคนเขียนว่า 3,050 ยูโร ก็มีความหมายว่าสามจุดศูนย์ห้ายูโร (หากเขียนแถมศูนย์อีกตัวตอนท้ายทศนิยม) ซึ่งในประเทศอื่นจะหมายถึงสามพันห้าสิบยูโร
(2) ในประเทศทั่วโลกเครื่องหมายหารในคณิตศาสตร์ คือ ? อย่างไรก็ดี ในอเมริกาใต้และยุโรปบางประเทศนั้นเครื่องหมายหารคือ : ซึ่งโดยทั่วไปหมายถึงสัดส่วน เช่น 2 : 1 คือสองต่อหนึ่ง ความสับสนเกิดขึ้นเมื่อเห็น 10 : 5 คนทั่วไปจะเข้าใจว่าเป็นสัดส่วน 10 ต่อ 5 มิใช่คำสั่งให้เอา 10 ตั้งและหารด้วย 5
(3) # ในสหรัฐอเมริกาหมายความถึง number หรือหมายเลข เช่น apartment # 3 (หมายเลข 3) ซึ่งต่างจาก เ ซึ่งคนไทยเรียกว่าดอกจันทร์ ต้องระวังความสับสนนี้ให้ดี (คล้ายกับความแตกต่างระหว่างประเทศ Austria และ Australia/Taiwan และ Thailand/Iceland และ Ireland
น้ำจิ้มอาหารสมอง : A man"s friendships are one of the best measures of his worth.
(Charles Darwin นักธรรมชาติวิทยาผู้ยิ่งใหญ่ของโลก ค.ศ.1809-1882)
ความเป็นมิตรเป็นสิ่งบ่งบอกที่ดีที่สุดตัวหนึ่งของความมีคุณค่าของมนุษย์คนหนึ่ง
วันที่ 08 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 13:20:35 น.
อาหารสมอง
วีรกร ตรีเศศ
ในช่วงเวลาอันใกล้ต่อไป คนมีรายได้น้อยจะทนทุกข์ทรมานมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะมีทางโน้มที่ชัดเจนว่าราคาสินค้าจะขยับตัวเพิ่ม ยิ่งเหล่าเผด็จการในตะวันออกกลางกำลังจะกลายเป็นตัวโดมิโนร่วงหล่นกันไปทีละคน ความหวาดหวั่นว่าราคาน้ำมันจะพุ่งก็มีมากขึ้น
จะว่าไปแล้วเป็นคนจนมันก็ไม่ดีทั้งนั้นแหละ ไม่เพียงแต่รายได้ส่วนใหญ่จะหมดไปกับอาหารและสิ่งบริโภคอุปโภคแล้ว ยังมีแบบแผนการดำรงชีวิตที่ทำให้มีโอกาสตายสูงขึ้นอีกด้วย
ไม่ว่ามองไปทางไหนในเอเชีย ราคาอาหารก็สูงขึ้นทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นอินเดีย อินโดนีเซีย จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ หรือแม้แต่บ้านเรา
การที่ราคาอาหารสูงขึ้นทำให้อัตราเงินเฟ้อหรือราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้น เนื่องจากค่าแรงมักขยับตัวตามราคาอาหาร ราคาน้ำมันก็ผันแปรตามความไม่แน่นอนของความต้องการของตลาดโลกและสถานการณ์การเมืองของแหล่งผลิตน้ำมัน
ผู้ดำเนินนโยบายเศรษฐกิจของแต่ละประเทศต้องเผชิญกับสถานการณ์อยู่ระหว่าง เขาควาย กล่าวคือต้องจำต้องกำหนดอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นเพื่อปราบเชื้อไฟของเงินเฟ้อซึ่ง ได้แก่ สินเชื่อจากการกู้ยืม การใช้จ่ายของประชาชนเมื่อเห็นผลตอบแทนจากการออมต่ำ ฯลฯ
ในทางตรงกันข้ามถ้าหากปรับอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นเร็วเกินไปก็จะทำให้อัตราเจริญเติบโตของเศรษฐกิจช็อกไป การจ้างงานก็จะสูงขึ้น
แต่ถ้าปรับอัตราดอกเบี้ยช้าไปก็จะควบคุมสถานการณ์เงินเฟ้อไว้ไม่อยู่
ธนาคารโลกได้ประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ว่าราคาอาหารโลกได้สูงขึ้นถึงระดับที่เป็น "อันตราย" เพราะสูงขึ้นโดยเฉลี่ยถึงร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับปีก่อน ราคาที่สูงขึ้นของข้าวสาลี ข้าวโพด และน้ำมัน ผลักดันให้ประชากร 44 ล้านคน เข้าไปอยู่ในข่ายยากจนสุดๆ ตั้งแต่เดือนมิถุนายนของปี 2010 เป็นต้นมา
พวกเราคงยังจำสถานการณ์ราคาอาหารสูงขึ้นเพราะความขาดแคลนอาหารในปี 2008 กันได้ ครั้งนั้นถือได้ว่าหนักมากเพราะในบางประเทศเกิดความชุลมุนวุ่นวายแย่งชิงอาหารกัน แต่ครั้งนี้ยังดีเพราะฤดูเก็บเกี่ยวที่ผ่านไปมีปริมาณของพืชผลออกมามากพอควรจนทำให้ไม่เหมือนปี 2008
อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญบางส่วนเชื่อว่าสถานการณ์เลวร้ายกว่านี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่มีประชากรยากจนอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้น สถานการณ์จึงอ่อนไหวต่อเงินเฟ้อด้านอาหารมากกว่าที่อื่น ซึ่งถึงแม้บริเวณเหล่านั้น เช่น แอฟริกา มีสัดส่วน คนยากจนสูง แต่ก็มีขนาดประชากรต่ำกว่า
ทุกครั้งที่อาหารมีราคาสูงขึ้นคนยากจนจะเป็นคนกลุ่มแรกที่ถูกลงโทษ เพราะเมื่อเงินจำนวนเท่าเดิมซื้ออาหารได้น้อยลง (รายได้ที่แท้จริงลดลง) คุณภาพชีวิตก็ย่อมเลวลง
และอีกประการหนึ่งเมื่อคนจนไม่มีเงินออมหรือมีน้อยมากก็ขาดความคล่องตัวในการจัดการซื้ออาหารที่จำเป็นไว้ก่อนที่ราคาจะสูงขึ้น การมีทางเลือกที่น้อยจึงยิ่งทิ่มตำคนจนมากยิ่งขึ้น
ผู้คนถกเถียงกันมากว่าอะไรเป็นสาเหตุสำคัญของราคาอาหารที่พุ่งสูงขึ้นจนอยู่ในระดับที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์ คำอธิบายแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ แต่คำตอบร่วมกันประการหนึ่งก็คือสภาวะอากาศที่ผันแปรไปสุดโต่งอย่างบ่อยขึ้นจนทำลายพืชผลไปมากมาย ซัพพลายไหลเข้าตลาดน้อยลงจนมีผลทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น
น้ำท่วมหนักในออสเตรเลีย ปากีสถาน และอินเดีย มีผลทำให้พืชผลเสียหายเช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นกับสภาวะฝนแล้งในอาเจนตินา ยุโรปตะวันออก และจีน (เลวร้ายสุดในรอบ 6 ทศวรรษจนบีบให้ข้าวสาลีซึ่งจีนเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลกมีราคาสูงขึ้นกว่าร้อยละ 30 นับตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายน 2010 เป็นต้นมา)
นอกจากนี้ การที่จำนวนคนเอเชียชั้นกลางขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดความต้องการอาหารมากขึ้นกว่าเดิม เพราะคนพวกนี้มีการบริโภคอาหารหลากหลายชนิดขึ้น ซึ่งหมายถึงความต้องการพืชผลที่เพิ่มขึ้นในหลายประเภท
ราคาพลังงานก็มีส่วนทำให้อาหารมีราคาแพงขึ้นอย่างไม่อาจปฏิเสธได้ (ค่าเดินทาง ค่าปุ๋ย ค่าโสหุ้ยต่างๆ สูงขึ้น) และราคาพลังงานที่สูงขึ้นนี้จูงใจให้เกษตรกรปลูกพืชเพื่อเอาไปผลิตพลังงาน (Biofuels) ซึ่งมีส่วนทำให้เหลือพืชผลสำหรับใช้เป็นอาหารน้อยลง
ปัจจัยหลักของพลังงานก็คือน้ำมันดิบ (ซึ่งแปรเปลี่ยนมาเป็นน้ำมันเตา ก๊าซ ดีเซล เบนซิน ฯลฯ ด้วยการกลั่น) ซึ่งนับวันจะมีการบริโภคสูงขึ้นเป็นลำดับเนื่องจากยังคงเป็นพลังงานที่มีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานที่มาจากต้นกำเนิดอื่นๆ เช่น แสงอาทิตย์ ลม ฯลฯ
ในปี 2001 ทั้งโลกใช้น้ำมันดิบวันละ 76 ล้านบาเรล (1 บาเรลเท่ากับประมาณ 158.987 ลิตร) ในปี 2011 ใช้ 89 ล้านบาเรล และก่อนถึงปี 2015 คาดว่าจะมีการใช้ถึง 93.5 ล้านบาเรลต่อวัน
ในตัวเลขดังกล่าวซาอุดิอาระเบียมีสัดส่วนการผลิตสูงสุดคือวันละ 10.2 ล้านบาเรล ต่อวัน (ร้อยละ 11.7 ของโลก) อิหร่านวันละ 4.1 ล้านบาเรลต่อวัน (ร้อยละ 5.3 ของโลก) อิรัก 2.4 ล้านบาเรลต่อวัน (ร้อยละ 3.1 ของโลก)
หากโดมิโนตกการลุกฮือของประชาชนลามไปถึงสองประเทศคืออิหร่านและซาอุดีอาระเบียจึงเป็นสิ่งน่ากลัวในระยะสั้นสำหรับชาวโลก สำหรับอียิปต์นั้นไม่น่ากลัวเพราะวันหนึ่งผลิตได้เพียง 662,000 บาเรล (ร้อยละ 0.8) ซึ่งเกือบทั้งหมดใช้สำหรับการบริโภคในประเทศ
น้ำมันที่ผ่านคลองสุเอซ (อยู่ในอียิปต์เป็นคลองเชื่อมระหว่างทะเล Red Sea กับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน) นั้นปัจจุบันมีเพียงวันละ 1 ล้านบาเรล ส่วนอีก 1.1 ล้านบาเรลต่อวันข้ามอียิปต์โดยผ่านท่อที่มีชื่อว่า Suez-Mediterranean ซึ่งเชื่อมต่อ Gulf of Suez ไปยังทะเล Mediterranean
ถึงแม้การขึ้นลงของราคาอาหารส่วนใหญ่เป็นไปตามกลไกตลาด แต่เราก็ไม่สมควรยอมจำนนมันโดยดุษฎีภาพ การแทรกแซงโดยรัฐในรูปของการให้เงินอุดหนุนในการผลิต การช่วยลดต้นทุนในการผลิต ตลอดจนการสร้างแรงจูงใจในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผลผลิตไหลเข้าตลาดมากขึ้นเป็นสิ่งจำเป็น
เราไม่ยอมปล่อยให้คนจนล่องลอยตามยถากรรมฉันใด เราก็ไม่ควรปล่อยให้ราคาอาหารของประชาชนทั่วไปลอยตัวขึ้นไปอย่างไร้จุดหมายฉันนั้น
เครื่องเคียงอาหารสมอง
มนุษย์สับสนกับสัญลักษณ์ที่มีความหมายไม่ตรงกันหลายประการ ขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้
(1) เครื่องหมาย comma (,) ทั้งโลกใช้เครื่องหมายนี้หน้าตัวเลข 3 ตัว (หลักพัน) สุดท้ายและทุกๆ 3 ตัวตามที่มา เพื่อช่วยให้นับได้ง่ายขึ้น เช่น 3,000 คือ สามพัน 30,000 คือ สามหมื่น ฯ
อย่างไรก็ดี ในยุโรปบางประเทศใช้เครื่องหมาย comma นี้แทนจุด (.) เช่น 3,00 ยูโร หมายถึง 3.00 ยูโร/ หากมีคนเขียนว่า 3,050 ยูโร ก็มีความหมายว่าสามจุดศูนย์ห้ายูโร (หากเขียนแถมศูนย์อีกตัวตอนท้ายทศนิยม) ซึ่งในประเทศอื่นจะหมายถึงสามพันห้าสิบยูโร
(2) ในประเทศทั่วโลกเครื่องหมายหารในคณิตศาสตร์ คือ ? อย่างไรก็ดี ในอเมริกาใต้และยุโรปบางประเทศนั้นเครื่องหมายหารคือ : ซึ่งโดยทั่วไปหมายถึงสัดส่วน เช่น 2 : 1 คือสองต่อหนึ่ง ความสับสนเกิดขึ้นเมื่อเห็น 10 : 5 คนทั่วไปจะเข้าใจว่าเป็นสัดส่วน 10 ต่อ 5 มิใช่คำสั่งให้เอา 10 ตั้งและหารด้วย 5
(3) # ในสหรัฐอเมริกาหมายความถึง number หรือหมายเลข เช่น apartment # 3 (หมายเลข 3) ซึ่งต่างจาก เ ซึ่งคนไทยเรียกว่าดอกจันทร์ ต้องระวังความสับสนนี้ให้ดี (คล้ายกับความแตกต่างระหว่างประเทศ Austria และ Australia/Taiwan และ Thailand/Iceland และ Ireland
น้ำจิ้มอาหารสมอง : A man"s friendships are one of the best measures of his worth.
(Charles Darwin นักธรรมชาติวิทยาผู้ยิ่งใหญ่ของโลก ค.ศ.1809-1882)
ความเป็นมิตรเป็นสิ่งบ่งบอกที่ดีที่สุดตัวหนึ่งของความมีคุณค่าของมนุษย์คนหนึ่ง
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 59
BBC NEWS BUSINESS
17 March 2011 Last updated at 16:15 GMT
Japan quake: Economic impact felt across Asia
By Saira Syed
Business reporter, BBC News, Singapore
When reconstruction begins, countries that export iron ore will be in high demand
It is almost a week since the deadly tsunami and earthquake hit northeast Japan, and the economic effects are starting to be felt across Asia.
While efforts to deal with the disaster continue, analysts are starting to look at the impact on various sectors and industries.
Some countries that export energy and raw materials could see a surge in demand from Japan.
But others that rely on Japan for manufacturing components will be bracing themselves for shortages in supply.
South Korea
In the short-term, South Korean companies are already benefiting from the shutdown in manufacturing in Japan.
"In terms of semiconductors, auto and steel companies, South Korean and Japanese companies are competitors," said Huh Jae-hwan from Daewoo Securities in Seoul.
"When Japanese companies shutdown factories and cannot produce their products, demand and orders will be on Korean manufacturers," he added.
But the benefits will only continue as long as the situation in Japan does not start to affect the components that Japan supplies to Korean companies.
"IT companies like Samsung Electronics and Hynix keep inventory so they can supply their products as long as the situation doesn't get worse. if it does they could have difficulty getting supply components from Japan," Mr Huh said.
Taiwan
It's a very similar situation in Taiwan.
Some countries rely on goods that would have been shipped through Sendai port
Manufacturers making display panels, semiconductor equipment, cars and their parts could suffer because their raw materials are mostly imported from Japan.
The BBC correspondent in Taipei, Cindy Sui, says Taiwanese chip makers have one-to-two month's worth of supply in their inventory.
If Japanese factories cannot return to normal operation soon, consumers could face shortages and price rises.
Sun Ming-Te, of the Macroeconomic Forecasting Centre in Tapei, said: "If the problem doesn't resolve in a few weeks the majorly impacted companies will be mobile phone producers like HTC, semiconductor companies like TSMC, and the factories built by Japanese automobile companies like Nissan, Toyota and Honda."
He also points out that the tourism industry has already been affected, with many Japanese visitors cancelling trips to Taiwan.
Taiwan gets the second-most tourists from Japan, about one million people a year.
China
Production in South Korea could suffer if there are delays in component shipments from Japan
High-tech electronics and components are important for industry in China and are likely to be affected by the disruption in supply.
The BBC's correspondent in Beijing, Martin Patience, says Japan is China's biggest source of imports accounting for roughly 13% of its purchases from abroad.
Much of what Japan sends to China is assembled into final products which are then exported around the globe.
Stephen Joske, of the Economist Intelligence Unit in Beijing, said: "The price of a Nikon camera has jumped already by 2,000 yuan ($304; £188.50)."
He pointed out that food and vegetable prices, which have already risen significantly in China, could remain high because of demand from Japan.
"China is already experiencing quite heavy food and vegetable inflation in recent months due to bad weather," said Mr Joske.
"What the events in Japan mean is that it will take a bit longer for those prices to come back down again."
Australia
The immediate concern in Japan right now is the extreme power shortages, and the need for alternative sources is immediate.
"Australia is well placed to meet Japan's increased demand for energy products given the significant disruptions to the Fukushima power plant," said Matthew Circosta of Moody's Analytics in Sydney.
Australia is a major exporter of thermal coal and liquefied natural gas (LNG).
"Thermal coal and LNG exports will certainly grow as Japan's energy needs increase," Mr Circosta added.
Over the next few months, as construction and rebuilding begins in Japan, Australia stands to gain further.
Australia exports iron-ore and coking coal which will be in high demand for steel making.
"When you have export benefit, that boost in national income will feed right through the economy," said Mr Circosta.
And while Australian markets have felt some of the volatility seen in the Japanese markets, Mr Circosta says the markets should eventually calm down and reverse their losses.
Indonesia
Indonesia could be another source of energy and raw materials for Japan.
"Indonesian exports to Japan are mainly commodities, iron ore, oil and gas. There will be an increase in demand during reconstruction," said Anton Gunawan of Bank Danamon.
The question is, however, can it boost production quickly.
Eric Sugandi, of Standard Chartered Bank in Jakarta, said: "Indonesia cannot increase oil export abruptly. In fact, domestic production of oil has decreased in recent months because of lack of exploration."
He added that even if Indonesia was able to boost production of LNG, the government has prioritised domestic demand.
India
The impact on India is much more indirect, as Japan is a major source of foreign direct investment into the country.
"Japan is a long-term investor, its sovereign entities have invested in Indian infrastructure such as the Delhi metro and the Delhi-Mumbai corridor," said Ajit Ranade of Aditya Birla Group in Mumbai.
He added that Japan was also a growth sector for Indian IT companies.
"If the Japanese economy suffers, then the long term investment into India could suffer."
17 March 2011 Last updated at 16:15 GMT
Japan quake: Economic impact felt across Asia
By Saira Syed
Business reporter, BBC News, Singapore
When reconstruction begins, countries that export iron ore will be in high demand
It is almost a week since the deadly tsunami and earthquake hit northeast Japan, and the economic effects are starting to be felt across Asia.
While efforts to deal with the disaster continue, analysts are starting to look at the impact on various sectors and industries.
Some countries that export energy and raw materials could see a surge in demand from Japan.
But others that rely on Japan for manufacturing components will be bracing themselves for shortages in supply.
South Korea
In the short-term, South Korean companies are already benefiting from the shutdown in manufacturing in Japan.
"In terms of semiconductors, auto and steel companies, South Korean and Japanese companies are competitors," said Huh Jae-hwan from Daewoo Securities in Seoul.
"When Japanese companies shutdown factories and cannot produce their products, demand and orders will be on Korean manufacturers," he added.
But the benefits will only continue as long as the situation in Japan does not start to affect the components that Japan supplies to Korean companies.
"IT companies like Samsung Electronics and Hynix keep inventory so they can supply their products as long as the situation doesn't get worse. if it does they could have difficulty getting supply components from Japan," Mr Huh said.
Taiwan
It's a very similar situation in Taiwan.
Some countries rely on goods that would have been shipped through Sendai port
Manufacturers making display panels, semiconductor equipment, cars and their parts could suffer because their raw materials are mostly imported from Japan.
The BBC correspondent in Taipei, Cindy Sui, says Taiwanese chip makers have one-to-two month's worth of supply in their inventory.
If Japanese factories cannot return to normal operation soon, consumers could face shortages and price rises.
Sun Ming-Te, of the Macroeconomic Forecasting Centre in Tapei, said: "If the problem doesn't resolve in a few weeks the majorly impacted companies will be mobile phone producers like HTC, semiconductor companies like TSMC, and the factories built by Japanese automobile companies like Nissan, Toyota and Honda."
He also points out that the tourism industry has already been affected, with many Japanese visitors cancelling trips to Taiwan.
Taiwan gets the second-most tourists from Japan, about one million people a year.
China
Production in South Korea could suffer if there are delays in component shipments from Japan
High-tech electronics and components are important for industry in China and are likely to be affected by the disruption in supply.
The BBC's correspondent in Beijing, Martin Patience, says Japan is China's biggest source of imports accounting for roughly 13% of its purchases from abroad.
Much of what Japan sends to China is assembled into final products which are then exported around the globe.
Stephen Joske, of the Economist Intelligence Unit in Beijing, said: "The price of a Nikon camera has jumped already by 2,000 yuan ($304; £188.50)."
He pointed out that food and vegetable prices, which have already risen significantly in China, could remain high because of demand from Japan.
"China is already experiencing quite heavy food and vegetable inflation in recent months due to bad weather," said Mr Joske.
"What the events in Japan mean is that it will take a bit longer for those prices to come back down again."
Australia
The immediate concern in Japan right now is the extreme power shortages, and the need for alternative sources is immediate.
"Australia is well placed to meet Japan's increased demand for energy products given the significant disruptions to the Fukushima power plant," said Matthew Circosta of Moody's Analytics in Sydney.
Australia is a major exporter of thermal coal and liquefied natural gas (LNG).
"Thermal coal and LNG exports will certainly grow as Japan's energy needs increase," Mr Circosta added.
Over the next few months, as construction and rebuilding begins in Japan, Australia stands to gain further.
Australia exports iron-ore and coking coal which will be in high demand for steel making.
"When you have export benefit, that boost in national income will feed right through the economy," said Mr Circosta.
And while Australian markets have felt some of the volatility seen in the Japanese markets, Mr Circosta says the markets should eventually calm down and reverse their losses.
Indonesia
Indonesia could be another source of energy and raw materials for Japan.
"Indonesian exports to Japan are mainly commodities, iron ore, oil and gas. There will be an increase in demand during reconstruction," said Anton Gunawan of Bank Danamon.
The question is, however, can it boost production quickly.
Eric Sugandi, of Standard Chartered Bank in Jakarta, said: "Indonesia cannot increase oil export abruptly. In fact, domestic production of oil has decreased in recent months because of lack of exploration."
He added that even if Indonesia was able to boost production of LNG, the government has prioritised domestic demand.
India
The impact on India is much more indirect, as Japan is a major source of foreign direct investment into the country.
"Japan is a long-term investor, its sovereign entities have invested in Indian infrastructure such as the Delhi metro and the Delhi-Mumbai corridor," said Ajit Ranade of Aditya Birla Group in Mumbai.
He added that Japan was also a growth sector for Indian IT companies.
"If the Japanese economy suffers, then the long term investment into India could suffer."
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
Re: FYI - For Your Information
โพสต์ที่ 60
Contestants compete for Myanmar Miss Tourism 2011
English.news.cn 2011-03-20 10:12:18 XinhuaNews
Contestants in traditional dresses take part in the Miss Tourism 2011 competition held at the Strand hotel in Yangon, Myanmar, March 19, 2011. Twenty Contestants aged between 16 and 25 took part in the competition which was under the supervision of the Union of Myanmar Travel Association (UMTA) to boost the tourism. (Xinhua/U Aung)
English.news.cn 2011-03-20 10:12:18 XinhuaNews
Contestants in traditional dresses take part in the Miss Tourism 2011 competition held at the Strand hotel in Yangon, Myanmar, March 19, 2011. Twenty Contestants aged between 16 and 25 took part in the competition which was under the supervision of the Union of Myanmar Travel Association (UMTA) to boost the tourism. (Xinhua/U Aung)
คุณไม่มีสิทธิ์ดูไฟล์ที่แนบมาในกระทู้
Rabbit VS. Turtle