ภาพรวมเศรษฐกิจ
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news18/07/07
โพสต์ที่ 91
การเตือนภัยส่งออก เอสเอ็มอี รายสาขาจำแนกตามภูมิภาค
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 15:36:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : สรุปสถานการณ์ 2549 และแนวโน้ม 2550
ในปี 2549 ที่ผ่านมา แม้ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ต้องเผชิญกับ อัตราเงินเฟ้อ ราคาน้ำมัน อัตราดอกเบี้ย ค่าเงินบาท ไข้หวัดนก ภัยธรรมชาติ และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่คาดเดาลำบาก แต่ก็ยังพบว่า ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 2.269 ล้านราย หรือคิดเป็นสัดส่วนได้ 99.53% จากจำนวนวิสาหกิจทั้งหมดของไทย และมีการจ้างงานถึง 8.884 ล้านคน หรือ 75.44% จากการจ้างงานทั้งระบบ ยังสามารถสร้างรายได้จากยอดขายสุทธิ ได้กว่า 4.201 ล้านล้านบาท โดยแบ่งเป็นการส่งออก 1.434 ล้านล้านบาท หรือ 29.01% จากการส่งออกทั้งหมดของประเทศไทย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงิน หรือ Economic Value Added ได้ถึง 329,000 ล้านบาท โดยมีอัตราการขยายตัวจากปี 2548 ประมาณ 11.50% ตลอดจนมีผลตอบแทนจากการดำเนินงานเฉลี่ย 9.44%
แม้ว่าในครึ่งปีแรกของปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จะยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงเช่นเดียวกับปี 2549 แต่ด้วยรากฐานที่เข้มแข็งและการจัดการกับปัญหาที่มีความรอบครอบขึ้นของ เอสเอ็มอี โดยรวม ปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จึงน่าจะสามารถสร้างรายได้จากการขายสุทธิประมาณ 4.908 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 16.83% ตลอดจนสามารถเพิ่มผลกำไรจากการดำเนินงานได้ 4.12% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 4 แสนล้านบาท โดยมีมูลค่าด้านการส่งออกได้ถึง 1.623 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 13.15% ตลอดจนสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงินได้ถึง 399,000 ล้านบาทหรือขยายตัวกว่า 20% จากปี 2549
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน, สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม , สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง,สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตกรุงเทพมหานคร 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 19,796 ล้านบาท /จ้างงาน 264,547 คน/30,120 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 28,052 ล้านบาท/จ้างงาน 88,929 คน/11,611 กิจการ
3. สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน 1,658 ล้านบาท/จ้างงาน 56,569 คน/6,960 กิจการ
4. สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง 20,601 ล้านบาท/จ้างงาน 54,080 คน/5,012 กิจการ
5. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 34,823 ล้านบาท/จ้างงาน 53,400 คน/3,909 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 15,970 ล้านบาท/จ้างงาน 63,742 คน/3,433 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,117 ล้านบาท/จ้างงาน 29,913 คน/3,246 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 4,424 ล้านบาท/จ้างงาน 38,277 คน/2,521 กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 17,363 ล้านบาท/จ้างงาน 30,920 คน/2,414 กิจการ
10. สาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า 22,534 ล้านบาท/จ้างงาน 41,082 คน/1,963 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคกลาง ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเครื่องจักรกล, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขายานยนต์ และ สาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขา เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช และ สาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคกลาง 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 13,510 ล้านบาท /จ้างงาน 167,755 คน/20,556 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 24,585 ล้านบาท/จ้างงาน 125,998 คน/10,176 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 2,645 ล้านบาท/จ้างงาน 30,321 คน/7,357 กิจการ
4. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 5,306 ล้านบาท/จ้างงาน 27,134 คน/4,563 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 5,102 ล้านบาท/จ้างงาน 35,222 คน/2,908 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 10,893 ล้านบาท/จ้างงาน 69,136คน/2,342 กิจการ
7. สาขาเครื่องจักรกล 16,200 ล้านบาท/จ้างงาน 33,487 คน/2,252 กิจการ
8. สาขาอาหารจากธัญพืช 1,831 ล้านบาท/จ้างงาน 14,417 คน/2,158 กิจการ
9. สาขายานยนต์ 15,933 ล้านบาท/จ้างงาน 42,728 คน/1,885 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,674 ล้านบาท/จ้างงาน 33,223 คน/1,869 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาเครื่องสันทนาการ,สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผัก จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่ามีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 7 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม คือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผักและผลไม้
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 28,973 ล้านบาท /จ้างงาน 65,305 คน/44,082 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 9,068 ล้านบาท/จ้างงาน 36,409 คน/25,223 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 10,678 ล้านบาท/จ้างงาน 22,664 คน/12,584 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,634 ล้านบาท/จ้างงาน 14,719 คน/6,885 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 7,408 ล้านบาท/จ้างงาน 11,068 คน/4,222 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 4,363 ล้านบาท/จ้างงาน 14,505 คน/3,752 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,607 ล้านบาท/จ้างงาน 9,952 คน/3,442 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,337 ล้านบาท/จ้างงาน 5,907 คน/2,797 กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม 1,882 ล้านบาท/จ้างงาน 4,243 คน/2,620 กิจการ
10. สาขาอาหารประเภทผักและผลไม้ 12,430 ล้านบาท/จ้างงาน 7,838 คน/2,546 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขายานยนต์, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออก 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 3,660 ล้านบาท /จ้างงาน 25,892 คน/5,568 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,273 ล้านบาท/จ้างงาน 12,151 คน/3,540 กิจการ
3. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 7,458 ล้านบาท/จ้างงาน 31,536 คน/3,087 กิจการ
4. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 16,668 ล้านบาท/จ้างงาน 5,070 คน/1,871 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 2,576 ล้านบาท/จ้างงาน 11,470 คน/1,468 กิจการ
6. สาขาอาหารจากธัญพืช 975 ล้านบาท/จ้างงาน 4,490 คน/1,149 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 1,810 ล้านบาท/จ้างงาน 17,382 คน/724กิจการ
8. สาขายานยนต์ 4,750 ล้านบาท/จ้างงาน 17,040 คน/562กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 4,036 ล้านบาท/จ้างงาน 12,516 คน/561กิจการ
10. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 621 ล้านบาท/จ้างงาน 4,615 คน/534 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขายาสูบ และสาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง และสาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 70,319 ล้านบาท /จ้างงาน 143,034 คน/106,990 กิจการ
2. สาขาอาหารจากธัญพืช 59,553 ล้านบาท/จ้างงาน 102,099 คน/70,183 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 11,049 ล้านบาท/จ้างงาน 47,956 คน/30,733 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,040 ล้านบาท/จ้างงาน 16,165 คน/6,639 กิจการ
5. สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป 1,520 ล้านบาท/จ้างงาน 9,814 คน/4,346 กิจการ
6. สาขาเครื่องสันทนาการ 6,880 ล้านบาท/จ้างงาน 10,981 คน/3,921 กิจการ
7. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 3,846 ล้านบาท/จ้างงาน 13,462 คน/3,307 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,245 ล้านบาท/จ้างงาน 6,391 คน/2,749 กิจการ
9. สาขายาสูบ 121 ล้านบาท/จ้างงาน 2,471 คน/1,900 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,213 ล้านบาท/จ้างงาน 7,125 คน/1,685 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคใต้ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารประเภทอบกรอบ และสาขายานยนต์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทน
จากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาเครื่องสันทนาการ
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคใต้ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 8,222 ล้านบาท /จ้างงาน 14,024 คน/12,509 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,744 ล้านบาท/จ้างงาน 25,481 คน/4,851 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 3,734 ล้านบาท/จ้างงาน 7,591 คน/4,400 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 8,169 ล้านบาท/จ้างงาน 6,843 คน/3,381 กิจการ
5. สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ 33,505 ล้านบาท/จ้างงาน 21,617 คน/2,448 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 2,080 ล้านบาท/จ้างงาน 9,347 คน/1,789 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 3,343 ล้านบาท/จ้างงาน 6,161 คน/1,337 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 1,676 ล้านบาท/จ้างงาน 1,871 คน/955กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทอบกรอบ 325 ล้านบาท/จ้างงาน 1,948 คน/933 กิจการ
10. สาขายานยนต์ 7,481 ล้านบาท/จ้างงาน 1,760 คน/885กิจการ
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/1 ... wsid=84842
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 15:36:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : สรุปสถานการณ์ 2549 และแนวโน้ม 2550
ในปี 2549 ที่ผ่านมา แม้ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ต้องเผชิญกับ อัตราเงินเฟ้อ ราคาน้ำมัน อัตราดอกเบี้ย ค่าเงินบาท ไข้หวัดนก ภัยธรรมชาติ และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่คาดเดาลำบาก แต่ก็ยังพบว่า ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 2.269 ล้านราย หรือคิดเป็นสัดส่วนได้ 99.53% จากจำนวนวิสาหกิจทั้งหมดของไทย และมีการจ้างงานถึง 8.884 ล้านคน หรือ 75.44% จากการจ้างงานทั้งระบบ ยังสามารถสร้างรายได้จากยอดขายสุทธิ ได้กว่า 4.201 ล้านล้านบาท โดยแบ่งเป็นการส่งออก 1.434 ล้านล้านบาท หรือ 29.01% จากการส่งออกทั้งหมดของประเทศไทย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงิน หรือ Economic Value Added ได้ถึง 329,000 ล้านบาท โดยมีอัตราการขยายตัวจากปี 2548 ประมาณ 11.50% ตลอดจนมีผลตอบแทนจากการดำเนินงานเฉลี่ย 9.44%
แม้ว่าในครึ่งปีแรกของปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จะยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงเช่นเดียวกับปี 2549 แต่ด้วยรากฐานที่เข้มแข็งและการจัดการกับปัญหาที่มีความรอบครอบขึ้นของ เอสเอ็มอี โดยรวม ปี 2550 นี้ เอสเอ็มอี จึงน่าจะสามารถสร้างรายได้จากการขายสุทธิประมาณ 4.908 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 16.83% ตลอดจนสามารถเพิ่มผลกำไรจากการดำเนินงานได้ 4.12% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 4 แสนล้านบาท โดยมีมูลค่าด้านการส่งออกได้ถึง 1.623 ล้านล้านบาท หรือมีอัตราการขยายตัวประมาณ 13.15% ตลอดจนสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเงินได้ถึง 399,000 ล้านบาทหรือขยายตัวกว่า 20% จากปี 2549
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน, สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม , สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง,สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ และสาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตกรุงเทพมหานคร 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 19,796 ล้านบาท /จ้างงาน 264,547 คน/30,120 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 28,052 ล้านบาท/จ้างงาน 88,929 คน/11,611 กิจการ
3. สาขาสิ่งพิมพ์และพิมพ์สกรีน 1,658 ล้านบาท/จ้างงาน 56,569 คน/6,960 กิจการ
4. สาขาหนังและผลิตภัณฑ์หนัง 20,601 ล้านบาท/จ้างงาน 54,080 คน/5,012 กิจการ
5. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 34,823 ล้านบาท/จ้างงาน 53,400 คน/3,909 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 15,970 ล้านบาท/จ้างงาน 63,742 คน/3,433 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,117 ล้านบาท/จ้างงาน 29,913 คน/3,246 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 4,424 ล้านบาท/จ้างงาน 38,277 คน/2,521 กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 17,363 ล้านบาท/จ้างงาน 30,920 คน/2,414 กิจการ
10. สาขาเครื่องใช้ไฟฟ้า 22,534 ล้านบาท/จ้างงาน 41,082 คน/1,963 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคกลาง ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก, สาขาเครื่องจักรกล, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขายานยนต์ และ สาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขา เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช และ สาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคกลาง 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 13,510 ล้านบาท /จ้างงาน 167,755 คน/20,556 กิจการ
2. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 24,585 ล้านบาท/จ้างงาน 125,998 คน/10,176 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 2,645 ล้านบาท/จ้างงาน 30,321 คน/7,357 กิจการ
4. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 5,306 ล้านบาท/จ้างงาน 27,134 คน/4,563 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 5,102 ล้านบาท/จ้างงาน 35,222 คน/2,908 กิจการ
6. สาขาผลิตภัณฑ์พลาสติก 10,893 ล้านบาท/จ้างงาน 69,136คน/2,342 กิจการ
7. สาขาเครื่องจักรกล 16,200 ล้านบาท/จ้างงาน 33,487 คน/2,252 กิจการ
8. สาขาอาหารจากธัญพืช 1,831 ล้านบาท/จ้างงาน 14,417 คน/2,158 กิจการ
9. สาขายานยนต์ 15,933 ล้านบาท/จ้างงาน 42,728 คน/1,885 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,674 ล้านบาท/จ้างงาน 33,223 คน/1,869 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาเครื่องสันทนาการ,สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผัก จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่ามีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 7 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม คือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม และสาขาอาหารประเภทผักและผลไม้
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 28,973 ล้านบาท /จ้างงาน 65,305 คน/44,082 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 9,068 ล้านบาท/จ้างงาน 36,409 คน/25,223 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 10,678 ล้านบาท/จ้างงาน 22,664 คน/12,584 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,634 ล้านบาท/จ้างงาน 14,719 คน/6,885 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 7,408 ล้านบาท/จ้างงาน 11,068 คน/4,222 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 4,363 ล้านบาท/จ้างงาน 14,505 คน/3,752 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 8,607 ล้านบาท/จ้างงาน 9,952 คน/3,442 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,337 ล้านบาท/จ้างงาน 5,907 คน/2,797 กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทเครื่องดื่ม 1,882 ล้านบาท/จ้างงาน 4,243 คน/2,620 กิจการ
10. สาขาอาหารประเภทผักและผลไม้ 12,430 ล้านบาท/จ้างงาน 7,838 คน/2,546 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมากได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขายานยนต์, สาขาเครื่องจักรกล และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 5 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออก 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 3,660 ล้านบาท /จ้างงาน 25,892 คน/5,568 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,273 ล้านบาท/จ้างงาน 12,151 คน/3,540 กิจการ
3. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 7,458 ล้านบาท/จ้างงาน 31,536 คน/3,087 กิจการ
4. สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ 16,668 ล้านบาท/จ้างงาน 5,070 คน/1,871 กิจการ
5. สาขาเครื่องสันทนาการ 2,576 ล้านบาท/จ้างงาน 11,470 คน/1,468 กิจการ
6. สาขาอาหารจากธัญพืช 975 ล้านบาท/จ้างงาน 4,490 คน/1,149 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 1,810 ล้านบาท/จ้างงาน 17,382 คน/724กิจการ
8. สาขายานยนต์ 4,750 ล้านบาท/จ้างงาน 17,040 คน/562กิจการ
9. สาขาเครื่องจักรกล 4,036 ล้านบาท/จ้างงาน 12,516 คน/561กิจการ
10. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 621 ล้านบาท/จ้างงาน 4,615 คน/534 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาเหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง, สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์, สาขายาสูบ และสาขาเฟอร์นิเจอร์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทนจากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง และสาขาเฟอร์นิเจอร์
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 70,319 ล้านบาท /จ้างงาน 143,034 คน/106,990 กิจการ
2. สาขาอาหารจากธัญพืช 59,553 ล้านบาท/จ้างงาน 102,099 คน/70,183 กิจการ
3. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 11,049 ล้านบาท/จ้างงาน 47,956 คน/30,733 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 16,040 ล้านบาท/จ้างงาน 16,165 คน/6,639 กิจการ
5. สาขาอาหารกึ่งสำเร็จรูป 1,520 ล้านบาท/จ้างงาน 9,814 คน/4,346 กิจการ
6. สาขาเครื่องสันทนาการ 6,880 ล้านบาท/จ้างงาน 10,981 คน/3,921 กิจการ
7. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 3,846 ล้านบาท/จ้างงาน 13,462 คน/3,307 กิจการ
8. สาขาอาหารจากเนื้อสัตว์ 5,245 ล้านบาท/จ้างงาน 6,391 คน/2,749 กิจการ
9. สาขายาสูบ 121 ล้านบาท/จ้างงาน 2,471 คน/1,900 กิจการ
10. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 4,213 ล้านบาท/จ้างงาน 7,125 คน/1,685 กิจการ
เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญในเขตพื้นที่ภาคใต้ ที่มีจำนวนผู้ประกอบการมาก ได้แก่ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์, สาขาเครื่องสันทนาการ, สาขาอาหารประเภทอบกรอบ และสาขายานยนต์ จากอุตสาหกรรมที่สำคัญทั้ง 10 สาขา พบว่า มีอุตสาหกรรมที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษถึง 6 สาขาเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการขยายตัวด้านการส่งออก และผลตอบแทน
จากการดำเนินงาน ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมคือสาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม, สาขาอาหารจากธัญพืช, สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ, สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง,สาขาเฟอร์นิเจอร์ และสาขาเครื่องสันทนาการ
มูลค่าการส่งออก เอสเอ็มอี 10 สาขาสำคัญ เขตภาคใต้ 2550
1. สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 8,222 ล้านบาท /จ้างงาน 14,024 คน/12,509 กิจการ
2. สาขาไม้และผลิตภัณฑ์ฯ 1,744 ล้านบาท/จ้างงาน 25,481 คน/4,851 กิจการ
3. สาขาอาหารจากธัญพืช 3,734 ล้านบาท/จ้างงาน 7,591 คน/4,400 กิจการ
4. สาขาเหล็กโลหะและผลติภัณฑ์ 8,169 ล้านบาท/จ้างงาน 6,843 คน/3,381 กิจการ
5. สาขาอาหารจากสัตว์น้ำ 33,505 ล้านบาท/จ้างงาน 21,617 คน/2,448 กิจการ
6. สาขาแร่อโลหะในการก่อสร้าง 2,080 ล้านบาท/จ้างงาน 9,347 คน/1,789 กิจการ
7. สาขาเฟอร์นิเจอร์ 3,343 ล้านบาท/จ้างงาน 6,161 คน/1,337 กิจการ
8. สาขาเครื่องสันทนาการ 1,676 ล้านบาท/จ้างงาน 1,871 คน/955กิจการ
9. สาขาอาหารประเภทอบกรอบ 325 ล้านบาท/จ้างงาน 1,948 คน/933 กิจการ
10. สาขายานยนต์ 7,481 ล้านบาท/จ้างงาน 1,760 คน/885กิจการ
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/1 ... wsid=84842
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news18/07/07
โพสต์ที่ 92
ตลาดหุ้นปรับตัวสู่แดนลบทันที หลังทราบผล กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25%
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 18 กรกฎาคม 2550 15:40 น.
ดัชนีตลาดหุ้นปรับลงทันที หลังทราบผล กนง.ลดดอกเบี้ยแค่ 0.25% โดยเมื่อเวลา 15.31 น. ปรับตัวลดลง 2.47 จุด
บรรยาการซื้อขายหุ้นช่วงบ่าย วันนี้(18 ก.ค.) ดัชนีค่อนๆ ปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง และลงไปอยู่ในแดนลบเมื่อเวลาประมาณ 15.00 น. หลังทราบผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติปรับลดดอกเบี้ยลง 0.25% โดยให้มีผลทันที
ล่าสุด 15.31 น.ดัชนีอยู่ที่ระดับ 854.44 จุด ลดลง 2.47 จุด มูลค่าการซื้อขาย 17,778.81 ล้านบาท
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 18 กรกฎาคม 2550 15:40 น.
ดัชนีตลาดหุ้นปรับลงทันที หลังทราบผล กนง.ลดดอกเบี้ยแค่ 0.25% โดยเมื่อเวลา 15.31 น. ปรับตัวลดลง 2.47 จุด
บรรยาการซื้อขายหุ้นช่วงบ่าย วันนี้(18 ก.ค.) ดัชนีค่อนๆ ปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง และลงไปอยู่ในแดนลบเมื่อเวลาประมาณ 15.00 น. หลังทราบผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติปรับลดดอกเบี้ยลง 0.25% โดยให้มีผลทันที
ล่าสุด 15.31 น.ดัชนีอยู่ที่ระดับ 854.44 จุด ลดลง 2.47 จุด มูลค่าการซื้อขาย 17,778.81 ล้านบาท
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news20/07/07
โพสต์ที่ 93
รัฐตั้งกองทุน5พันล.อุ้มSME-ส่งออก
3ขุนพลเศรษฐกิจเข้าพบ นายกรัฐมนตรีที่ทำเนียบรัฐบาล หารือมาตรการรับมือกับปัญหาค่าเงินบาท ได้ข้อสรุปรับ 6 ข้อเสนอของภาคเอกชนยกเว้นสต็อกน้ำมัน พร้อมตั้งกองทุน 5 พันล้านบาทช่วยSME และผู้ส่งออก
เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ได้เรียกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และนางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธปท. เข้าหารือถึงมาตรการที่จะออกมาดูแลปัญหาการแข็งตัวของค่าเงินบาท ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจส่งออกในขณะนี้
นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และรมว.อุตสาหกรรม กล่าวว่า รัฐบาลจะมีมาตรการเร่งด่วนในการจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)และผู้ส่งออก โดยให้มีทุนประเดิมกองทุนขนาด 5 พันล้านบาทที่จะใช้ในการปล่อยกู้สนับสนุนสภาพคล่อง ซึ่งที่มาของเงินดังกล่าว 50% จะมาจากสมาคมธนาคารไทย และอีก 50% จะมาจากเงินกู้ผ่อนปรนของธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)
นายโฆสิต กล่าวว่า รัฐบาลรับข้อเสนอของภาคเอกชน 6 มาตรการจากทั้งหมด 7 มาตรการที่เสนอมา ส่วนมาตรการที่เสนอให้สต็อกน้ำมันคงไม่สามารถดำเนินการได้เพราะเป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบด้านราคา และจำเป็นต้องหารือกันในระยะต่อไป
ทั้งนี้ หลังจากนำมาตรการดังกล่าวเสนอเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีในสัปดาห์หน้าแล้ว จะชี้แจงรายละเอียดอีกครั้งว่าแต่ละหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นกระทรวงการคลัง หรือธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)จะทำหน้าที่รับผิดชอบด้านใด และมีแนวทางการแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่าอย่างไรบ้าง
สำหรับข้อเสนอของเอกชน 6 มาตรการระยะสั้นที่รัฐบาลเห็นด้วย คือ การให้บริษัทเอกชนไทยถือครองเงินตราต่างประเทศได้ไม่กำหนดระยะเวลา, ให้บุคคลธรรมดาถือเงินตราต่างประเทศไม่จำกัดเวลารวมทั้งเพิ่มวงเงินถือครองเงินดอลลาร์ได้มากกว่า 2 แสนดอลลาร์สหรัฐ, เปิดโอกาสให้เอกชนสามารถใช้จ่ายและชำระสินค้าระหว่างกันเป็นเงินตราต่างประเทศได้
ขอให้ภาครัฐเร่งคืนภาษีให้แก่ผู้ส่งออกตามมาตรา 19 ทวิ, ให้รัฐบาลผลักดันให้รัฐวิสาหกิจอาศัยช่วงเงินบาทแข็งค่าเร่งชำระหนี้ต่างประเทศ และการจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาท
รมว.คลัง ระบุบาทเริ่มทรงตัว-ทิศทางอ่อนลง
นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.คลัง กล่าวว่า ในวันนี้ได้เข้าไปรายงานให้นายกรัฐมนตรีทราบเกี่ยวกับสถานการณ์ของค่าเงินบาทที่ผ่านมา รวมถึงข้อเสนอของภาคเอกชน ซึ่งในระยะนี้สถานการณ์ปรับตัวดีขึ้นค่าเงินบาทไม่ค่อยผันผวน และมีแนวโน้มอ่อนลงบ้างแล้ว ประกอบกับ เงินไหลเข้าในปัจจุบันไม่มากเหมือนช่วงก่อน ที่เห็นได้จากดัชนีตลาดหุ้นเริ่มทรงตัวและมีติดลบบ้างบางวัน ซึ่งอาจเป็นผลมาจากนักลงทุนรอดูมาตการดูแลค่าเงินบาทของทางการ
"ยืนยันหลายครั้งแล้วว่าจะไม่มีมาตราการอะไรที่ช็อคตลาด" รมว.คลัง กล่าว
รมว.คลัง กล่าวว่า ส่วนการดูแลค่าเงินบาทในระยะต่อไป คงต้องมาคุยกันถึงการวางระบบ การดูแลความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และต้องพิจารณากันว่าจะต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่างไรบ้าง ซึ่งในช่วงบ่ายวันนี้จะมีการหารือกับผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในรายละเอียดของแพคเกจมาตรการที่ธปท.นำเสนอมาด้วย
ผู้ว่า ธปท.ยันใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการต่อไป
นางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) กล่าวยืนยันว่า ธปท.ยังยืนยันที่จะใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ(Managed Float)ต่อไป เพราะมีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศและของโลกในปัจจุบัน โดยไม่มีแนวคิดจะกลับไปใช้การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เหมือนในอดีต
"เราผ่านจุดนั้นมาแล้ว ได้บทเรียนมามากแล้ว เงินทุนในโลกก็มีมากด้วย การที่เสนอให้คงที่แบบมีการจัดการ สามารถทำได้ในระยะหนึ่งเท่านั้น แนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มีทั้งถูกและผิด ต้องดูสภาพการณ์ที่เหมาะสม"นางธาริษา กล่าว
สำหรับแนวทางในการออกมาตรการรับมือการแข็งค่าของเงินบาทนั้น ธปท.รับข้อเสนอของภาคเอกชนเกือบทั้งหมด ยกเว้นการสำรองน้ำมัน ซึ่งนายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและรมว.อุตสาหกรรมจะเป็นผู้ชี้แจงเรื่องดังกล่าว
http://www.posttoday.com/topstories.php?id=179949
3ขุนพลเศรษฐกิจเข้าพบ นายกรัฐมนตรีที่ทำเนียบรัฐบาล หารือมาตรการรับมือกับปัญหาค่าเงินบาท ได้ข้อสรุปรับ 6 ข้อเสนอของภาคเอกชนยกเว้นสต็อกน้ำมัน พร้อมตั้งกองทุน 5 พันล้านบาทช่วยSME และผู้ส่งออก
เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ได้เรียกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และนางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธปท. เข้าหารือถึงมาตรการที่จะออกมาดูแลปัญหาการแข็งตัวของค่าเงินบาท ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจส่งออกในขณะนี้
นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และรมว.อุตสาหกรรม กล่าวว่า รัฐบาลจะมีมาตรการเร่งด่วนในการจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)และผู้ส่งออก โดยให้มีทุนประเดิมกองทุนขนาด 5 พันล้านบาทที่จะใช้ในการปล่อยกู้สนับสนุนสภาพคล่อง ซึ่งที่มาของเงินดังกล่าว 50% จะมาจากสมาคมธนาคารไทย และอีก 50% จะมาจากเงินกู้ผ่อนปรนของธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)
นายโฆสิต กล่าวว่า รัฐบาลรับข้อเสนอของภาคเอกชน 6 มาตรการจากทั้งหมด 7 มาตรการที่เสนอมา ส่วนมาตรการที่เสนอให้สต็อกน้ำมันคงไม่สามารถดำเนินการได้เพราะเป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบด้านราคา และจำเป็นต้องหารือกันในระยะต่อไป
ทั้งนี้ หลังจากนำมาตรการดังกล่าวเสนอเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีในสัปดาห์หน้าแล้ว จะชี้แจงรายละเอียดอีกครั้งว่าแต่ละหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นกระทรวงการคลัง หรือธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)จะทำหน้าที่รับผิดชอบด้านใด และมีแนวทางการแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่าอย่างไรบ้าง
สำหรับข้อเสนอของเอกชน 6 มาตรการระยะสั้นที่รัฐบาลเห็นด้วย คือ การให้บริษัทเอกชนไทยถือครองเงินตราต่างประเทศได้ไม่กำหนดระยะเวลา, ให้บุคคลธรรมดาถือเงินตราต่างประเทศไม่จำกัดเวลารวมทั้งเพิ่มวงเงินถือครองเงินดอลลาร์ได้มากกว่า 2 แสนดอลลาร์สหรัฐ, เปิดโอกาสให้เอกชนสามารถใช้จ่ายและชำระสินค้าระหว่างกันเป็นเงินตราต่างประเทศได้
ขอให้ภาครัฐเร่งคืนภาษีให้แก่ผู้ส่งออกตามมาตรา 19 ทวิ, ให้รัฐบาลผลักดันให้รัฐวิสาหกิจอาศัยช่วงเงินบาทแข็งค่าเร่งชำระหนี้ต่างประเทศ และการจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME)ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาท
รมว.คลัง ระบุบาทเริ่มทรงตัว-ทิศทางอ่อนลง
นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.คลัง กล่าวว่า ในวันนี้ได้เข้าไปรายงานให้นายกรัฐมนตรีทราบเกี่ยวกับสถานการณ์ของค่าเงินบาทที่ผ่านมา รวมถึงข้อเสนอของภาคเอกชน ซึ่งในระยะนี้สถานการณ์ปรับตัวดีขึ้นค่าเงินบาทไม่ค่อยผันผวน และมีแนวโน้มอ่อนลงบ้างแล้ว ประกอบกับ เงินไหลเข้าในปัจจุบันไม่มากเหมือนช่วงก่อน ที่เห็นได้จากดัชนีตลาดหุ้นเริ่มทรงตัวและมีติดลบบ้างบางวัน ซึ่งอาจเป็นผลมาจากนักลงทุนรอดูมาตการดูแลค่าเงินบาทของทางการ
"ยืนยันหลายครั้งแล้วว่าจะไม่มีมาตราการอะไรที่ช็อคตลาด" รมว.คลัง กล่าว
รมว.คลัง กล่าวว่า ส่วนการดูแลค่าเงินบาทในระยะต่อไป คงต้องมาคุยกันถึงการวางระบบ การดูแลความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และต้องพิจารณากันว่าจะต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่างไรบ้าง ซึ่งในช่วงบ่ายวันนี้จะมีการหารือกับผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในรายละเอียดของแพคเกจมาตรการที่ธปท.นำเสนอมาด้วย
ผู้ว่า ธปท.ยันใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการต่อไป
นางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) กล่าวยืนยันว่า ธปท.ยังยืนยันที่จะใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ(Managed Float)ต่อไป เพราะมีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศและของโลกในปัจจุบัน โดยไม่มีแนวคิดจะกลับไปใช้การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เหมือนในอดีต
"เราผ่านจุดนั้นมาแล้ว ได้บทเรียนมามากแล้ว เงินทุนในโลกก็มีมากด้วย การที่เสนอให้คงที่แบบมีการจัดการ สามารถทำได้ในระยะหนึ่งเท่านั้น แนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์มีทั้งถูกและผิด ต้องดูสภาพการณ์ที่เหมาะสม"นางธาริษา กล่าว
สำหรับแนวทางในการออกมาตรการรับมือการแข็งค่าของเงินบาทนั้น ธปท.รับข้อเสนอของภาคเอกชนเกือบทั้งหมด ยกเว้นการสำรองน้ำมัน ซึ่งนายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและรมว.อุตสาหกรรมจะเป็นผู้ชี้แจงเรื่องดังกล่าว
http://www.posttoday.com/topstories.php?id=179949
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news20/07/07
โพสต์ที่ 94
4ธุรกิจบิ๊กนัด24ก.ค. สอนวิธีแก้บาทแข็ง
โพสต์ทูเดย์ สมาคมจดทะเบียนจัดเวทีให้ 4 บริษัทขนาดใหญ่เป็น พี่เลี้ยงแนะทางออกรับมือบาทแข็ง 24 ก.ค. นี้
น.ส.เพ็ญศรี สุธีรศานต์ ผู้อำนวยการ สมาคมบริษัทจดทะเบียน (บจ.) กล่าวว่า วันที่ 24 ก.ค.นี้ ทางสมาคมฯ จะจัดวงเสวนาระหว่างสมาชิกของสมาคมฯ เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด ประสบการณ์ และการ ตั้งรับของผู้ประกอบการกรณีค่าเงินบาทแข็ง
ทางสมาคมฯ ร่วมมือกับ ตลาดหลักทรัพย์จัดผู้บริหารบริษัทจดทะเบียนมาแลกเปลี่ยนความคิดและประสบการณ์รับมือกรณีค่าเงินบาทแข็งขึ้น เพื่อที่จะให้สมาชิกนำไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ ผู้อำนวยการสมาคมฯ กล่าว
สำหรับงานครั้งนี้จะมีผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่เป็นแกนหลักในการแนะนำประสบการณ์ 4 แห่ง คือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร (CPF) บริษัท ไทย อกริ ฟู้ดส์ (TAF) บริษัท ปตท. (PTT) และ บริษัท สหพัฒนพิบูล (SPC) เป็นต้น
นางภัทรียา เบญจพลชัย กรรมการและผู้จัดการตลาดหลัก ทรัพย์ กล่าวว่า ทางตลาดหลักทรัพย์อยากให้ทางสมาคมฯ เร่งดำเนินการความร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบริษัทจดทะเบียน ขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก โดยเร็ว เพราะจะได้ทันกับสถานการณ์ตอนนี้ อย่างน้อยจะทำให้ บจ. มีการร่วมมือกันมากขึ้น และเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้แต่ละบริษัทในอนาคต
ปัจจุบันเงินบาทซื้อขาย 33 บาทเศษต่อเหรียญสหรัฐ หากนับจาก ต้นปีแข็งค่าแล้ว 7.67% หากเงินบาทยังแข็งค่าสุดท้ายก็จะกระทบกับการเติบโตของเศรษฐกิจ เพราะประเทศไทยพึ่งพาการส่งออกเป็นแกนหลัก
อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่ดอกเบี้ยนโยบายลดลง 0.25% เหลือ 3.25% เมื่อวันที่ 18 ก.ค. ส่งผล ให้ค่าเงินบาทอ่อนลงล่าสุดปิดที่ 33.49/33.52 บาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=179848
โพสต์ทูเดย์ สมาคมจดทะเบียนจัดเวทีให้ 4 บริษัทขนาดใหญ่เป็น พี่เลี้ยงแนะทางออกรับมือบาทแข็ง 24 ก.ค. นี้
น.ส.เพ็ญศรี สุธีรศานต์ ผู้อำนวยการ สมาคมบริษัทจดทะเบียน (บจ.) กล่าวว่า วันที่ 24 ก.ค.นี้ ทางสมาคมฯ จะจัดวงเสวนาระหว่างสมาชิกของสมาคมฯ เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด ประสบการณ์ และการ ตั้งรับของผู้ประกอบการกรณีค่าเงินบาทแข็ง
ทางสมาคมฯ ร่วมมือกับ ตลาดหลักทรัพย์จัดผู้บริหารบริษัทจดทะเบียนมาแลกเปลี่ยนความคิดและประสบการณ์รับมือกรณีค่าเงินบาทแข็งขึ้น เพื่อที่จะให้สมาชิกนำไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ ผู้อำนวยการสมาคมฯ กล่าว
สำหรับงานครั้งนี้จะมีผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่เป็นแกนหลักในการแนะนำประสบการณ์ 4 แห่ง คือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร (CPF) บริษัท ไทย อกริ ฟู้ดส์ (TAF) บริษัท ปตท. (PTT) และ บริษัท สหพัฒนพิบูล (SPC) เป็นต้น
นางภัทรียา เบญจพลชัย กรรมการและผู้จัดการตลาดหลัก ทรัพย์ กล่าวว่า ทางตลาดหลักทรัพย์อยากให้ทางสมาคมฯ เร่งดำเนินการความร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบริษัทจดทะเบียน ขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก โดยเร็ว เพราะจะได้ทันกับสถานการณ์ตอนนี้ อย่างน้อยจะทำให้ บจ. มีการร่วมมือกันมากขึ้น และเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้แต่ละบริษัทในอนาคต
ปัจจุบันเงินบาทซื้อขาย 33 บาทเศษต่อเหรียญสหรัฐ หากนับจาก ต้นปีแข็งค่าแล้ว 7.67% หากเงินบาทยังแข็งค่าสุดท้ายก็จะกระทบกับการเติบโตของเศรษฐกิจ เพราะประเทศไทยพึ่งพาการส่งออกเป็นแกนหลัก
อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่ดอกเบี้ยนโยบายลดลง 0.25% เหลือ 3.25% เมื่อวันที่ 18 ก.ค. ส่งผล ให้ค่าเงินบาทอ่อนลงล่าสุดปิดที่ 33.49/33.52 บาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=179848
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news20/07/07
โพสต์ที่ 95
โผหุ้นได้ประโยชน์ดอกเบี้ยลง0.25%
โพสต์ทูเดย์ อานิสงส์ดอกเบี้ยลด 0.25% หนุนหุ้นที่อยู่อาศัย ธุรกิจเช่าซื้อ แบงก์และหุ้นที่ใช้เงินลงทุนได้ดี นักวิเคราะห์คาดมีสิทธิลงอีก 0.25%
ผลการตัดสินใจลดอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์/พี) 1 วัน ลดลงอีก 0.25% มายืนอยู่ที่ 3.25% และนักวิเคราะห์ตีความคำแถลงของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่แสดงความเป็นห่วงเรื่องเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น รวมถึงการเติบโตของเศรษฐกิจนั้น ทำให้มีการคาดการณ์ว่าในการประชุมครั้งต่อไป วันที่ 19 ส.ค. นี้ กนง. อาจจะต้องลดอัตราดอกเบี้ยลงอีก 0.25% หรือสุดท้ายอัตราดอกเบี้ยจะลงไปอยู่ 3%
บริษัทหลักทรัพย์พัฒนสิน (CNS) ระบุว่า อัตราดอกเบี้ยอาร์/พีที่ปรับตัวลง 0.25% จะส่งผลดีต่อหุ้นในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ 1.กลุ่มที่อยู่อาศัยและธนาคารพาณิชย์ เพราะดอกเบี้ยที่ลดลงจะทำให้กำลังเพิ่มขึ้น และแบงก์จะขยายสินเชื่อได้มากขึ้นด้วย
2.กลุ่มที่มีหนี้สูงและพื้นฐานดี ทำให้ต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายลดลง ทั้งนี้ หุ้นที่ได้ประโยชน์ประกอบด้วย บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป (ERAWAN) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (ROJANA) ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น (STEC) ควอลิตี้เฮ้าส์ (QH )
3.หุ้นจ่ายปันผลดีคือ แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC) แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ CCET ไดนาสตี้เซรามิค (DCC) เหมราชพัฒนาที่ดิน (HAMRAJ) ซีเอ็ดยูเคชั่น (SE-ED) เอ็ม.ซี.เอส.สตีล (MCS) ศุภาลัย (SPALI) ธนชาต (TCAP)
4.หุ้นที่ยังมีความจำเป็นต้องใช้เงินในการขยายการลงทุนประกอบด้วย อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) หรือ ATC บริษัท ปตท. (PTT) ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP) โรงกลั่นน้ำมันระยอง (RRC) บ้านปู (BANPU) และ ADVANC
ด้าน บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส เห็น ว่า หุ้นที่อยู่อาศัยและเช่าซื้อจะได้ดี ส่วนระยะกลางและยาวจะเป็นผลดี ต่อหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ เพราะดอกเบี้ยที่ลดลงจะทำให้กำลังซื้อเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเห็นชัดเจนในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2550
ดังนั้น จึงประกาศเพิ่มน้ำหนัก ลงทุนหุ้นกลุ่มที่อยู่อาศัยและธนาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะแบงก์ที่มีพอร์ต เช่าซื้อสูง เพราะสัญญาจะเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ แต่ต้นทุนลดลงตามดอกเบี้ย จึงทำให้ส่วนต่างดอกเบี้ย ดีขึ้น เช่น ธนาคารทิสโก้ (TISCO) ธนาคารเกียรตินาคิน (KK) และธนชาต (TBANK)
สำหรับหุ้นที่อยู่อาศัยแนะนำบริษัท ศุภาลัย เป็นหุ้นที่มีการรับรู้รายได้ที่แน่นอน โดยตอนนี้มียอดขายที่รอรับรู้รายได้ 7.1 พันล้านบาท โดยจะทยอยรับรู้ไปจนถึงปี 2552
ไตรมาส 2 จะมีกำไรสุทธิ 206 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากงวดเดียวกันของปีก่อน ขณะที่อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อราคา (พี/อี) อยู่ที่ 8 เท่า ยังถูกกว่าพี/อีเฉลี่ยกลุ่ม ซึ่งซื้อขายที่ 10-12 เท่า จึงยังคงแนะนำ ซื้อ
บล.ยูไนเต็ด (US) แนะนำซื้อหุ้น SPALI, PS, PRIN, LPN และ MK โดยเพิ่มราคาเป้าหมาย SPALI จาก 4.40 บาท เป็น 5 บาท เพราะคาดว่าไตรมาส 2 จะมีกำไรสุทธิ 219 ล้านบาท ขณะที่อัตรากำไรสุทธิขั้นต้น (มาร์จิน) อยู่ที่ 40% คาดทั้งปีจะมีกำไรสุทธิ 977 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม ก่อน หน้านี้ทั้งนายประทีป ตั้งมติธรรม และนางอัจฉรา ตั้งมติธรรม ผู้ถือหุ้นใหญ่ศุภาลัยได้ขายหุ้น SPALI และนำเงินไปซื้อใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญชุดที่ 3 แทน (SPALI-W3)
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=179849
โพสต์ทูเดย์ อานิสงส์ดอกเบี้ยลด 0.25% หนุนหุ้นที่อยู่อาศัย ธุรกิจเช่าซื้อ แบงก์และหุ้นที่ใช้เงินลงทุนได้ดี นักวิเคราะห์คาดมีสิทธิลงอีก 0.25%
ผลการตัดสินใจลดอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์/พี) 1 วัน ลดลงอีก 0.25% มายืนอยู่ที่ 3.25% และนักวิเคราะห์ตีความคำแถลงของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่แสดงความเป็นห่วงเรื่องเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น รวมถึงการเติบโตของเศรษฐกิจนั้น ทำให้มีการคาดการณ์ว่าในการประชุมครั้งต่อไป วันที่ 19 ส.ค. นี้ กนง. อาจจะต้องลดอัตราดอกเบี้ยลงอีก 0.25% หรือสุดท้ายอัตราดอกเบี้ยจะลงไปอยู่ 3%
บริษัทหลักทรัพย์พัฒนสิน (CNS) ระบุว่า อัตราดอกเบี้ยอาร์/พีที่ปรับตัวลง 0.25% จะส่งผลดีต่อหุ้นในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ 1.กลุ่มที่อยู่อาศัยและธนาคารพาณิชย์ เพราะดอกเบี้ยที่ลดลงจะทำให้กำลังเพิ่มขึ้น และแบงก์จะขยายสินเชื่อได้มากขึ้นด้วย
2.กลุ่มที่มีหนี้สูงและพื้นฐานดี ทำให้ต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายลดลง ทั้งนี้ หุ้นที่ได้ประโยชน์ประกอบด้วย บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป (ERAWAN) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (ROJANA) ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น (STEC) ควอลิตี้เฮ้าส์ (QH )
3.หุ้นจ่ายปันผลดีคือ แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC) แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ CCET ไดนาสตี้เซรามิค (DCC) เหมราชพัฒนาที่ดิน (HAMRAJ) ซีเอ็ดยูเคชั่น (SE-ED) เอ็ม.ซี.เอส.สตีล (MCS) ศุภาลัย (SPALI) ธนชาต (TCAP)
4.หุ้นที่ยังมีความจำเป็นต้องใช้เงินในการขยายการลงทุนประกอบด้วย อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) หรือ ATC บริษัท ปตท. (PTT) ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP) โรงกลั่นน้ำมันระยอง (RRC) บ้านปู (BANPU) และ ADVANC
ด้าน บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส เห็น ว่า หุ้นที่อยู่อาศัยและเช่าซื้อจะได้ดี ส่วนระยะกลางและยาวจะเป็นผลดี ต่อหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ เพราะดอกเบี้ยที่ลดลงจะทำให้กำลังซื้อเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเห็นชัดเจนในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2550
ดังนั้น จึงประกาศเพิ่มน้ำหนัก ลงทุนหุ้นกลุ่มที่อยู่อาศัยและธนาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะแบงก์ที่มีพอร์ต เช่าซื้อสูง เพราะสัญญาจะเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ แต่ต้นทุนลดลงตามดอกเบี้ย จึงทำให้ส่วนต่างดอกเบี้ย ดีขึ้น เช่น ธนาคารทิสโก้ (TISCO) ธนาคารเกียรตินาคิน (KK) และธนชาต (TBANK)
สำหรับหุ้นที่อยู่อาศัยแนะนำบริษัท ศุภาลัย เป็นหุ้นที่มีการรับรู้รายได้ที่แน่นอน โดยตอนนี้มียอดขายที่รอรับรู้รายได้ 7.1 พันล้านบาท โดยจะทยอยรับรู้ไปจนถึงปี 2552
ไตรมาส 2 จะมีกำไรสุทธิ 206 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากงวดเดียวกันของปีก่อน ขณะที่อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อราคา (พี/อี) อยู่ที่ 8 เท่า ยังถูกกว่าพี/อีเฉลี่ยกลุ่ม ซึ่งซื้อขายที่ 10-12 เท่า จึงยังคงแนะนำ ซื้อ
บล.ยูไนเต็ด (US) แนะนำซื้อหุ้น SPALI, PS, PRIN, LPN และ MK โดยเพิ่มราคาเป้าหมาย SPALI จาก 4.40 บาท เป็น 5 บาท เพราะคาดว่าไตรมาส 2 จะมีกำไรสุทธิ 219 ล้านบาท ขณะที่อัตรากำไรสุทธิขั้นต้น (มาร์จิน) อยู่ที่ 40% คาดทั้งปีจะมีกำไรสุทธิ 977 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม ก่อน หน้านี้ทั้งนายประทีป ตั้งมติธรรม และนางอัจฉรา ตั้งมติธรรม ผู้ถือหุ้นใหญ่ศุภาลัยได้ขายหุ้น SPALI และนำเงินไปซื้อใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญชุดที่ 3 แทน (SPALI-W3)
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=179849
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news22/07/07
โพสต์ที่ 96
ระดมยาชุดใหญ่ สู้ค่าบาทแข็ง
ค่าเงินบาทแข็งเป็นเรื่องร้อนที่รัฐบาลให้ความสำคัญระดมพลแก้ปัญหากันยกใหญ่ โดยวันศุกร์ที่ 20 ก.ค. 2550 ในช่วงเช้า นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.อุตสาหกรรม พร้อมด้วยนายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.การคลัง และนางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ได้เข้าพบ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หารือมาตรการดูแลค่าเงินบาทตามที่คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เสนอมาทั้งสิ้น 7 มาตรการ
ซึ่งในที่สุดผ่านความเห็นชอบ 6 มาตรการ มาตรการที่ 1 ให้ตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ส่งออกขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) วงเงิน 5 พันล้านบาท โดยแบงก์ชาติกับสมาคมธนาคารไทยจะเป็นคนออกเงินคนละ 50% เพื่อมาปล่อยกู้ให้เอสเอ็มอีที่ขาดสภาพคล่องจากค่าเงินบาทแข็ง
มาตรการที่ 2 อนุญาตให้ผู้ส่งออกถือครองบัญชีเงินดอลลาร์สหรัฐหรือบัญชีเงินต่างประเทศสกุลอื่นได้ไม่จำกัดระยะเวลา จากเดิมที่กำหนดให้ถือได้ไม่เกิน 14 วัน
มาตรการที่ 3 อนุญาตให้บุคคลธรรมดาถือครองบัญชีเงินต่างประเทศได้มากขึ้น
มาตรการที่ 4 อนุญาตให้ผู้ส่งออกชำระค่าระวางเรือหรือค่าวัตถุดิบที่ซื้อในประเทศเป็นเงินเหรียญสหรัฐได้โดยไม่ต้องทอนกลับมาเป็นเงินบาทอีกครั้ง
มาตรการที่ 5 ขอให้การคืนภาษีมุมน้ำเงินและการขอคืนภาษีภาษีอากรตามมาตรา 19 ทวิ มีความรวดเร็วขึ้น มาตรการที่ 6 รัฐควรมีนโยบายเร่งให้รัฐวิสาหกิจชำระหนี้ต่างประเทศก่อนกำหนด
สำหรับมาตรการที่ 7 ที่เอกชนเสนอให้สต๊อกน้ำมันสะสมไว้ล่วงหน้า ไม่สามารถดำเนินการได้ เพราะส่งผลกระทบราคากับผู้บริโภค
หลังจากนั้นในช่วงบ่าย นายฉลองภพ และนางธาริษา ได้หารือกันอีกครั้ง เพื่อพิจารณามาตรการรับมือค่าเงินบาทที่ ธปท.เสนอมา 8 มาตรการ ซึ่งผลสรุปให้ดำเนิน 6 มาตรการ ประกอบด้วย มาตรการที่ 1 การขยายเวลาให้คนไทยขายสินค้าใน ต่างประเทศได้ภายใน 360 วัน จากเดิมต้องนำเงินเข้าประเทศภายใน 120 วัน
มาตรการที่ 2 ให้ผู้ส่งออกสามารถถือครองเงินตราต่างประเทศได้ไม่จำกัดเวลา จากเดิมต้องไม่เกิน 15 วัน ต้องแปลงเป็นเงินบาท มาตรการที่ 3 อนุญาตให้โอนเงินให้ญาติในต่างประเทศ หรือซื้ออสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้ในวงเงิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี
มาตรการที่ 4 อนุญาตให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดที่มีกำไรพอสามารถลงทุนโดยตรงในประเทศได้ มาตรการที่ 5 ให้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลสามารถฝากเงินในประเทศเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศได้ ไม่จำกัดวงเงิน และกรณีไม่มีรายได้ต่างประเทศในส่วนบุคคลธรรมดาฝากบัญชีเงินต่างประเทศได้ไม่เกิน 1 แสนเหรียญสหรัฐ ส่วนนิติบุคคลฝากได้ไม่เกิน 3 แสนเหรียญสหรัฐ และมาตรการที่ 6 นักลงทุนประเภทสถาบันสามารถฝากเงินในต่างประเทศได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ธปท.
สำหรับอีก 2 มาตรการที่ไม่ได้รับการพิจารณา คือ มาตรการการอนุญาตให้คนไทยซื้อขายทองคำล่วงหน้าในตลาดอนุพันธ์ (TFEX) จากปัจจุบันซื้อขายได้เฉพาะ SET50 Index Futures และมาตรการที่ธปท. จะให้ธนาคารพาณิชย์สามารถใช้ดุลพินิจในการแลกเปลี่ยนเงินตราได้มากขึ้น เนื่องจากมองว่าเป็นสิ่งที่ธปท.ยังต้องดูแล
อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอของ กกร.และมาตรการของ ธปท. ต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในวันที่ 24 ก.ค. 2550 นี้ ถึงจะมีผลบังคับใช้
ลดดอกเบี้ย 0.25% ช่วยชะลอบาทแข็ง
คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 1 วัน ลง 0.25% จาก 3.50% มาที่ 3.25% ในการประชุมวันพุธ ช่วยชะลอการแข็งค่าของเงินบาทได้จากที่เคลื่อนไหวบริเวณ 33 บาทต้นๆ ต่อเหรียญสหรัฐ อ่อนตัวมาอยู่ที่ 33.62 บาทต่อเหรียญสหรัฐ รวมถึงผลทางจิตวิทยาในการระดมความคิดเห็นเพื่อออกมาตรการต่างๆ ในการแก้เงินบาทแข็งปั๋ง อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศยังคงแข็งค่ามาอยู่ที่ 29.75 บาทต่อเหรียญสหรัฐ
แบงก์ลดดอกเบี้ยตามนโยบาย
อัตราดอกเบี้ยตลาดเงินปรับลงตามอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยอินเตอร์แบงก์ประเภทกู้ยืมข้ามคืน (Overnight) ขยับลงจาก 3.47% มาที่ 3.25% เช่นเดียวกับอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 7 และ 14 วัน ที่ปิดปรับลงจาก 3.50% มาที่ 3.25%
ด้านธนาคารพาณิชย์ นำโดย ธนาคารกรุงเทพ ประกาศว่าตั้งแต่วันที่ 19 ก.ค. เป็นต้นไป ได้ลดดอกเบี้ยเงินกู้ลง 0.125% โดยดอกเบี้ยสำหรับลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินกู้แบบมีระยะเวลา (เอ็มแอลอาร์) จาก 7.00% เหลือ 6.875% ดอกเบี้ยลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (เอ็มโออาร์) จาก 7.25% เหลือ 7.125% และดอกเบี้ยลูกค้ารายย่อยชั้นดี (เอ็มอาร์อาร์) จาก 7.50% เหลือ 7.375%
ด้านเงินฝากนั้นก็ได้ปรับทั้งขึ้นและลดลง โดยเงินฝากประจำ 3 เดือน 6 เดือน วงเงินฝากตั้งแต่ 15 ล้านบาท คงอัตราเดิม 2.25% ตั้งแต่ 5 ล้านบาทขึ้นไป จาก 2.50% เหลือ 2.25%
การลดดอกเบี้ยทั้งเงินฝากและเงินกู้ของธนาคารกรุงเทพ ก็มีผลให้ธนาคารพาณิชย์ต่างประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยตาม
หุ้นถึงเวลาปรับฐาน
สำหรับการลงทุนในตลาดหุ้นสัปดาห์ที่ผ่านมา ดัชนีปิดลดลง 4 วันติดต่อกัน และมาบวกในวันศุกร์ โดยปิดที่ 850.54 จุด ลดลง 1% จากระดับปิดที่ 859.14 จุดในสัปดาห์ก่อน ขณะที่มูลค่าการซื้อขายรวมทั้งสัปดาห์ลดลง 36.61% มาอยู่ที่เฉลี่ยต่อวัน 22,720.89 ล้านบาท
โดยนักลงทุนรายย่อยและนักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิที่ 2.83 พันล้านบาท และ 103.89 ล้านบาท ตามลำดับ ขณะที่นักลงทุนสถาบันขายสุทธิที่ 2.94 พันล้านบาท
เหตุที่ตลาดหุ้นบวกในวันศุกร์เนื่องจากมีแรงซื้อหุ้นธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ หลังประกาศกำไรสุทธิไตรมาส 2 ปีนี้ออกมาสูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์
http://www.posttoday.com/topstories.php?id=180248
ค่าเงินบาทแข็งเป็นเรื่องร้อนที่รัฐบาลให้ความสำคัญระดมพลแก้ปัญหากันยกใหญ่ โดยวันศุกร์ที่ 20 ก.ค. 2550 ในช่วงเช้า นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.อุตสาหกรรม พร้อมด้วยนายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.การคลัง และนางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ได้เข้าพบ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หารือมาตรการดูแลค่าเงินบาทตามที่คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เสนอมาทั้งสิ้น 7 มาตรการ
ซึ่งในที่สุดผ่านความเห็นชอบ 6 มาตรการ มาตรการที่ 1 ให้ตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ส่งออกขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) วงเงิน 5 พันล้านบาท โดยแบงก์ชาติกับสมาคมธนาคารไทยจะเป็นคนออกเงินคนละ 50% เพื่อมาปล่อยกู้ให้เอสเอ็มอีที่ขาดสภาพคล่องจากค่าเงินบาทแข็ง
มาตรการที่ 2 อนุญาตให้ผู้ส่งออกถือครองบัญชีเงินดอลลาร์สหรัฐหรือบัญชีเงินต่างประเทศสกุลอื่นได้ไม่จำกัดระยะเวลา จากเดิมที่กำหนดให้ถือได้ไม่เกิน 14 วัน
มาตรการที่ 3 อนุญาตให้บุคคลธรรมดาถือครองบัญชีเงินต่างประเทศได้มากขึ้น
มาตรการที่ 4 อนุญาตให้ผู้ส่งออกชำระค่าระวางเรือหรือค่าวัตถุดิบที่ซื้อในประเทศเป็นเงินเหรียญสหรัฐได้โดยไม่ต้องทอนกลับมาเป็นเงินบาทอีกครั้ง
มาตรการที่ 5 ขอให้การคืนภาษีมุมน้ำเงินและการขอคืนภาษีภาษีอากรตามมาตรา 19 ทวิ มีความรวดเร็วขึ้น มาตรการที่ 6 รัฐควรมีนโยบายเร่งให้รัฐวิสาหกิจชำระหนี้ต่างประเทศก่อนกำหนด
สำหรับมาตรการที่ 7 ที่เอกชนเสนอให้สต๊อกน้ำมันสะสมไว้ล่วงหน้า ไม่สามารถดำเนินการได้ เพราะส่งผลกระทบราคากับผู้บริโภค
หลังจากนั้นในช่วงบ่าย นายฉลองภพ และนางธาริษา ได้หารือกันอีกครั้ง เพื่อพิจารณามาตรการรับมือค่าเงินบาทที่ ธปท.เสนอมา 8 มาตรการ ซึ่งผลสรุปให้ดำเนิน 6 มาตรการ ประกอบด้วย มาตรการที่ 1 การขยายเวลาให้คนไทยขายสินค้าใน ต่างประเทศได้ภายใน 360 วัน จากเดิมต้องนำเงินเข้าประเทศภายใน 120 วัน
มาตรการที่ 2 ให้ผู้ส่งออกสามารถถือครองเงินตราต่างประเทศได้ไม่จำกัดเวลา จากเดิมต้องไม่เกิน 15 วัน ต้องแปลงเป็นเงินบาท มาตรการที่ 3 อนุญาตให้โอนเงินให้ญาติในต่างประเทศ หรือซื้ออสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้ในวงเงิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี
มาตรการที่ 4 อนุญาตให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดที่มีกำไรพอสามารถลงทุนโดยตรงในประเทศได้ มาตรการที่ 5 ให้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลสามารถฝากเงินในประเทศเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศได้ ไม่จำกัดวงเงิน และกรณีไม่มีรายได้ต่างประเทศในส่วนบุคคลธรรมดาฝากบัญชีเงินต่างประเทศได้ไม่เกิน 1 แสนเหรียญสหรัฐ ส่วนนิติบุคคลฝากได้ไม่เกิน 3 แสนเหรียญสหรัฐ และมาตรการที่ 6 นักลงทุนประเภทสถาบันสามารถฝากเงินในต่างประเทศได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ธปท.
สำหรับอีก 2 มาตรการที่ไม่ได้รับการพิจารณา คือ มาตรการการอนุญาตให้คนไทยซื้อขายทองคำล่วงหน้าในตลาดอนุพันธ์ (TFEX) จากปัจจุบันซื้อขายได้เฉพาะ SET50 Index Futures และมาตรการที่ธปท. จะให้ธนาคารพาณิชย์สามารถใช้ดุลพินิจในการแลกเปลี่ยนเงินตราได้มากขึ้น เนื่องจากมองว่าเป็นสิ่งที่ธปท.ยังต้องดูแล
อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอของ กกร.และมาตรการของ ธปท. ต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในวันที่ 24 ก.ค. 2550 นี้ ถึงจะมีผลบังคับใช้
ลดดอกเบี้ย 0.25% ช่วยชะลอบาทแข็ง
คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 1 วัน ลง 0.25% จาก 3.50% มาที่ 3.25% ในการประชุมวันพุธ ช่วยชะลอการแข็งค่าของเงินบาทได้จากที่เคลื่อนไหวบริเวณ 33 บาทต้นๆ ต่อเหรียญสหรัฐ อ่อนตัวมาอยู่ที่ 33.62 บาทต่อเหรียญสหรัฐ รวมถึงผลทางจิตวิทยาในการระดมความคิดเห็นเพื่อออกมาตรการต่างๆ ในการแก้เงินบาทแข็งปั๋ง อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศยังคงแข็งค่ามาอยู่ที่ 29.75 บาทต่อเหรียญสหรัฐ
แบงก์ลดดอกเบี้ยตามนโยบาย
อัตราดอกเบี้ยตลาดเงินปรับลงตามอัตราดอกเบี้ยนโยบาย โดยส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยอินเตอร์แบงก์ประเภทกู้ยืมข้ามคืน (Overnight) ขยับลงจาก 3.47% มาที่ 3.25% เช่นเดียวกับอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 7 และ 14 วัน ที่ปิดปรับลงจาก 3.50% มาที่ 3.25%
ด้านธนาคารพาณิชย์ นำโดย ธนาคารกรุงเทพ ประกาศว่าตั้งแต่วันที่ 19 ก.ค. เป็นต้นไป ได้ลดดอกเบี้ยเงินกู้ลง 0.125% โดยดอกเบี้ยสำหรับลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินกู้แบบมีระยะเวลา (เอ็มแอลอาร์) จาก 7.00% เหลือ 6.875% ดอกเบี้ยลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี ประเภทเงินเบิกเกินบัญชี (เอ็มโออาร์) จาก 7.25% เหลือ 7.125% และดอกเบี้ยลูกค้ารายย่อยชั้นดี (เอ็มอาร์อาร์) จาก 7.50% เหลือ 7.375%
ด้านเงินฝากนั้นก็ได้ปรับทั้งขึ้นและลดลง โดยเงินฝากประจำ 3 เดือน 6 เดือน วงเงินฝากตั้งแต่ 15 ล้านบาท คงอัตราเดิม 2.25% ตั้งแต่ 5 ล้านบาทขึ้นไป จาก 2.50% เหลือ 2.25%
การลดดอกเบี้ยทั้งเงินฝากและเงินกู้ของธนาคารกรุงเทพ ก็มีผลให้ธนาคารพาณิชย์ต่างประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยตาม
หุ้นถึงเวลาปรับฐาน
สำหรับการลงทุนในตลาดหุ้นสัปดาห์ที่ผ่านมา ดัชนีปิดลดลง 4 วันติดต่อกัน และมาบวกในวันศุกร์ โดยปิดที่ 850.54 จุด ลดลง 1% จากระดับปิดที่ 859.14 จุดในสัปดาห์ก่อน ขณะที่มูลค่าการซื้อขายรวมทั้งสัปดาห์ลดลง 36.61% มาอยู่ที่เฉลี่ยต่อวัน 22,720.89 ล้านบาท
โดยนักลงทุนรายย่อยและนักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิที่ 2.83 พันล้านบาท และ 103.89 ล้านบาท ตามลำดับ ขณะที่นักลงทุนสถาบันขายสุทธิที่ 2.94 พันล้านบาท
เหตุที่ตลาดหุ้นบวกในวันศุกร์เนื่องจากมีแรงซื้อหุ้นธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ หลังประกาศกำไรสุทธิไตรมาส 2 ปีนี้ออกมาสูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์
http://www.posttoday.com/topstories.php?id=180248
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news22/07/07
โพสต์ที่ 97
ข้อสังเกต 4 ประการจากงบ51
โดย ฐานเศรษฐกิจ วัน อาทิตย์ ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 04:49 น.
ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2551 หรือ งบฯ2551
ที่จัดทำโดยรัฐบาลสุรยุทธ์ กำหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551 รวมทั้งสิ้น จำนวน 1.66 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 9.38 หมื่นล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6% โดยเป็นประมาณการรายได้ จำนวน 1.495 ล้านล้านบาท และดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล จำนวน 1.65 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 1.8% ของจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ)
เมื่อแยกส่วนงบฯ 2551 มีรายละเอียดดังนี้คือ งบฯที่ปรับเพิ่มอีก 2 หมื่นล้านซึ่งถือเป็น
จุดโชว์ของรัฐบาล โดยงบฯส่วนดังกล่าวถูกนำไปใช้เป็น ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ จำนวน 1.7 หมื่นล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด จำนวน 5 พันล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 3 พันล้านบาท
อย่างไรก็ตามแม้รัฐบาลพยายามโชว์ว่างบฯ 2551 ที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุม คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อ วันที่ 5 มิถุนายน 2551 มีส่วนเอาใจรากหญ้าในส่วนของงบฯพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนฯ แต่งบฯ2551กลับถูกตั้งข้อสังเกตไว้ในหลายประเด็นดังนี้คือ
ประการที่หนึ่งการที่รัฐบาลยังจัดทำงบประมาณขาดดุลต่อเนื่องจากปีงบฯ2550 สะท้อนว่ารัฐ มองว่าเศรษฐกิจในช่วงจากนี้ยังอยู่ในภาวะชะลอลงจึงไม่สามารถลดบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจลงได้
ประการที่สอง คือ งบรายจ่าย ตามรายละเอียดร่างงบฯ2551 กำหนดงบฯ รายจ่ายประจำไว้ 1.214 ล้านล้านบาท หรือ 73.1% ของวงเงินงบประมาณรวม มากกว่าปีงบฯ2550 ที่มีสัดส่วน 72.5% ของงบฯรวม ส่วนรายจ่ายลงทุนกำหนดไว้ 4 แสนล้านบาท หรือ 24.1% ของวงเงินงบประมาณรวม (มากกว่าปีงบฯ2550ที่กำหนดไว้ 24.0% ของงบฯรวม) และจัดสรรงบฯสำหรับชำระคืนต้นเงินกู้ 4.578 หมื่นล้านบาท หรือ 2.8% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ลดลงจาก 3.5% ในปีก่อน
การจัดสรรงบฯรายจ่ายดังกล่าว ผิดกับหลักนิยมที่ทำมา ซึ่งปกติมัก จัดสรรงบลงทุนไว้ไม่ต่ำกว่า 25 % ของงบรวมฯ( แต่งบฯ2551 กำหนดไว้ 24.1 %) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจยิ่งในสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในปัจจุบันงบฯลงทุน หากไม่มากกว่าก็ควรจะเท่าเดิมไม่ใช่ลดลง ในขณะที่การเพิ่ม ของงบรายจ่ายประจำ ปกติแล้วจะเพิ่มไม่เกิน 6 % ของงบรวมฯ (งบฯ2551กำหนดเพิ่ม 6.5 %)
ประการที่สาม ซึ่งเป็นประเด็นที่ ร่างงบฯ2551ถูกเพ่งเล็งมากที่สุดคือ การจัดสรรเงินงบประมาณ ตามยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงของรัฐมากจนเกินไป !!!! โดยจัดสรรยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงของชาติและความสงบสุขของสังคม หรืออาจเรียกสั้นๆว่างบฯทหาร ไว้ จำนวน 2.197 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 13.2% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ซึ่งยังคงสูงต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2550 ที่มีจำนวน 3.489 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 22.3% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย
ทั้งนี้ งบฯทหารในร่างงบฯ2551 ถือว่าสูงที่สุดเมื่อมองย้อนหลังกลับไป 5 ปี โดยปีงบฯ 2549 งบฯทหารกำหนดไว้ 1.1 แสนล้านบาท ปีงบฯ 2548 จำนวน 1.166 แสนล้านบาท ปีงบฯ 2547 จำนวน 9.881 หมื่นล้านบาท ปีงบฯ 2546 จำนวน 8.7 หมื่นล้านบาท และปีงบฯ 2545 จำนวน 3.474 หมื่นล้านบาท
และข้อสังเกต ประการที่สี่ ซึ่งเป็นข้อ สุดท้าย คือ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลาง หรือ งบฯกลาง ที่ตั้งไว้สูงถึง 2.458 แสนล้านบาทนั้น เป็นการเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อนถึง 4.81 หมื่นล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 24.3% การจัดสรรงบฯกลางสูงโด่งเช่นนี้ทำให้รัฐบาลสุรยุทธ์ถูกวิจารณ์อย่างหนักว่าจัดทำงบฯไม่โปร่งใสเช่นเดียวกับรัฐบาลทักษิณที่โป่งงบกลางเพื่อนำไปใช้ในโครงการสร้างความนิยมทางการเมือง
http://news.sanook.com/economic/economic_159626.php
โดย ฐานเศรษฐกิจ วัน อาทิตย์ ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 04:49 น.
ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2551 หรือ งบฯ2551
ที่จัดทำโดยรัฐบาลสุรยุทธ์ กำหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551 รวมทั้งสิ้น จำนวน 1.66 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 9.38 หมื่นล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6% โดยเป็นประมาณการรายได้ จำนวน 1.495 ล้านล้านบาท และดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล จำนวน 1.65 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 1.8% ของจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ)
เมื่อแยกส่วนงบฯ 2551 มีรายละเอียดดังนี้คือ งบฯที่ปรับเพิ่มอีก 2 หมื่นล้านซึ่งถือเป็น
จุดโชว์ของรัฐบาล โดยงบฯส่วนดังกล่าวถูกนำไปใช้เป็น ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ จำนวน 1.7 หมื่นล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด จำนวน 5 พันล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 3 พันล้านบาท
อย่างไรก็ตามแม้รัฐบาลพยายามโชว์ว่างบฯ 2551 ที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุม คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อ วันที่ 5 มิถุนายน 2551 มีส่วนเอาใจรากหญ้าในส่วนของงบฯพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนฯ แต่งบฯ2551กลับถูกตั้งข้อสังเกตไว้ในหลายประเด็นดังนี้คือ
ประการที่หนึ่งการที่รัฐบาลยังจัดทำงบประมาณขาดดุลต่อเนื่องจากปีงบฯ2550 สะท้อนว่ารัฐ มองว่าเศรษฐกิจในช่วงจากนี้ยังอยู่ในภาวะชะลอลงจึงไม่สามารถลดบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจลงได้
ประการที่สอง คือ งบรายจ่าย ตามรายละเอียดร่างงบฯ2551 กำหนดงบฯ รายจ่ายประจำไว้ 1.214 ล้านล้านบาท หรือ 73.1% ของวงเงินงบประมาณรวม มากกว่าปีงบฯ2550 ที่มีสัดส่วน 72.5% ของงบฯรวม ส่วนรายจ่ายลงทุนกำหนดไว้ 4 แสนล้านบาท หรือ 24.1% ของวงเงินงบประมาณรวม (มากกว่าปีงบฯ2550ที่กำหนดไว้ 24.0% ของงบฯรวม) และจัดสรรงบฯสำหรับชำระคืนต้นเงินกู้ 4.578 หมื่นล้านบาท หรือ 2.8% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ลดลงจาก 3.5% ในปีก่อน
การจัดสรรงบฯรายจ่ายดังกล่าว ผิดกับหลักนิยมที่ทำมา ซึ่งปกติมัก จัดสรรงบลงทุนไว้ไม่ต่ำกว่า 25 % ของงบรวมฯ( แต่งบฯ2551 กำหนดไว้ 24.1 %) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจยิ่งในสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในปัจจุบันงบฯลงทุน หากไม่มากกว่าก็ควรจะเท่าเดิมไม่ใช่ลดลง ในขณะที่การเพิ่ม ของงบรายจ่ายประจำ ปกติแล้วจะเพิ่มไม่เกิน 6 % ของงบรวมฯ (งบฯ2551กำหนดเพิ่ม 6.5 %)
ประการที่สาม ซึ่งเป็นประเด็นที่ ร่างงบฯ2551ถูกเพ่งเล็งมากที่สุดคือ การจัดสรรเงินงบประมาณ ตามยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงของรัฐมากจนเกินไป !!!! โดยจัดสรรยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงของชาติและความสงบสุขของสังคม หรืออาจเรียกสั้นๆว่างบฯทหาร ไว้ จำนวน 2.197 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 13.2% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ซึ่งยังคงสูงต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2550 ที่มีจำนวน 3.489 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 22.3% ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย
ทั้งนี้ งบฯทหารในร่างงบฯ2551 ถือว่าสูงที่สุดเมื่อมองย้อนหลังกลับไป 5 ปี โดยปีงบฯ 2549 งบฯทหารกำหนดไว้ 1.1 แสนล้านบาท ปีงบฯ 2548 จำนวน 1.166 แสนล้านบาท ปีงบฯ 2547 จำนวน 9.881 หมื่นล้านบาท ปีงบฯ 2546 จำนวน 8.7 หมื่นล้านบาท และปีงบฯ 2545 จำนวน 3.474 หมื่นล้านบาท
และข้อสังเกต ประการที่สี่ ซึ่งเป็นข้อ สุดท้าย คือ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลาง หรือ งบฯกลาง ที่ตั้งไว้สูงถึง 2.458 แสนล้านบาทนั้น เป็นการเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อนถึง 4.81 หมื่นล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 24.3% การจัดสรรงบฯกลางสูงโด่งเช่นนี้ทำให้รัฐบาลสุรยุทธ์ถูกวิจารณ์อย่างหนักว่าจัดทำงบฯไม่โปร่งใสเช่นเดียวกับรัฐบาลทักษิณที่โป่งงบกลางเพื่อนำไปใช้ในโครงการสร้างความนิยมทางการเมือง
http://news.sanook.com/economic/economic_159626.php
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news22/07/07
โพสต์ที่ 98
โพลล์ชี้ค่าบาทกระทบหนัก กลุ่มอาหารวิกฤติรอบ40ปี
โพลล์หอการค้า ชี้ ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนหนักสุด 85% ระบุเงินบาทแข็งส่งผลลบต่อกิจการ จี้รัฐแก้ปัญหาบาทแข็งเป็นอันดับแรก ผู้ประกอบการรายย่อยประสบปัญหาสภาพคล่อง คาดค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลงที่ 34.5 บาท ใน 1-3 เดือน กลุ่มอาหารชี้ค่าเงินกระทบหนักสุดในรอบ 40 ปี รายย่อยทยอยปิดโรงงาน
ดร.ยาใจ ชูวิชา ประธานคณะจัดทำหอการค้าโพลล์ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่า ผลการสำรวจหอการค้าโพลล์เรื่องผลกระทบที่ผู้ประกอบการได้รับจากอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองและการก่อวินาศกรรม ซึ่งได้จากการสำรวจผู้ประกอบการทุกขนาดในธุรกิจการเกษตร การค้า การบริการและการผลิต จำนวน 808 ตัวอย่าง ทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 14-17 ก.ค. 50
ผลการสำรวจพบว่า มีผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจาก 5 ปัจจัย ที่ทำให้ผลประกอบการลดลง 44.5% ไม่เปลี่ยนแปลง 41.3% และเพิ่มขึ้น 14.3% และเมื่อพิจารณาปัจจัยที่กระทบต่อธุรกิจมากที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยนมากที่สุด รองลงมาเป็นผลกระทบจากราคาน้ำมัน การเมือง ดอกเบี้ยและการก่อวินาศกรรม และผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้จะขยายตัว 3.5-4.5%
ทั้งนี้ เมื่อสอบถามเกี่ยวกับการรับทราบข่าวการปิดกิจการของธุรกิจเดียวกับกลุ่มตัวอย่าง พบว่าส่วนใหญ่ไม่ทราบข่าวการปิดกิจการ 56.5% มีจำนวนปานกลาง 17.4% มีจำนวนน้อย 14.5% และมีจำนวนมาก 11.6%
เมื่อตรวจสอบผู้ประกอบการรายย่อย มีผู้ตอบว่าไม่ทราบข่าวการปิดกิจการน้อยที่สุดเพียง 33% แสดงว่ารายย่อยมีโอกาสปิดกิจการมากที่สุด และปัจจัยที่ทำให้รายย่อยปิดกิจการมากที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยน 36.9% การเมือง 21.6% และน้ำมัน 20.7%
ปัญหาการขาดสภาพคล่องของธุรกิจเดียวกัน พบว่าไม่มีปัญหา 41.2% มีปานกลาง 28.2% มีมาก 17.0% มีน้อย 13.6% โดยผู้ประกอบการรายย่อยเห็นว่า มีขาดสภาพคล่องปานกลาง 30.8% มีมาก 27.8% มีน้อย 26.6%
ความเห็นเรื่องการปลดคนงานต่อธุรกิจเดียวกับผู้ตอบพบว่าไม่มี 56.3% มีน้อย 18.6% มีปานกลาง 17.7% มีมาก 7.4% และผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันพบว่ามีน้อย 30.6% ไม่มี 25.7% มีปานกลาง 24.2% มีมาก 19.5%
จี้รัฐแก้ปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนด่วน
ปัญหาที่ผู้ประกอบการต้องการให้รัฐบาลเร่งแก้ไขอย่างด่วนที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยน 48.7% การเมือง 23.7% ราคาน้ำมัน 18.8% อัตราดอกเบี้ย 6.4% วินาศกรรม 2.4% โดยข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในด้านเศรษฐกิจต้องการให้แก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่า ปัญหาการว่างงานและปรับค่าครองชีพให้เหมาะสม
ข้อเสนอด้านสังคม ต้องการให้เน้นเรื่องการศึกษาเพิ่มขึ้น เพิ่มการรักษาความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินและช่วยเหลือคนยากจนมากขึ้น และด้านการเมืองต้องการให้มีการเลือกตั้งเร็วที่สุด แก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และให้ประเทศมีความสามัคคี
85%ระบุค่าเงินส่งผลลบต่อธุรกิจ
ดร.ยาใจ กล่าวว่า ความคิดเห็นเกี่ยวอัตราแลกเปลี่ยนที่ผู้ประกอบการเห็นว่ามีปัญหามากที่สุดมี ผู้ตอบว่าอัตราแลกเปลี่ยนมีผลทางลบต่อธุรกิจ 85.8% โดยตอบว่ามีผลต่อธุรกิจน้อย 39.4% มีผลมาก 33% มีผลปานกลาง 27.6% และอัตราแลกเปลี่ยนมีผลให้ยอดขายไม่เปลี่ยนแปลง 49.2% ลดลง 35.2% เพิ่มขึ้น 15.7% มีผลต่อต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลง 66.2% ลดลง 32.7% เพิ่มขึ้น 1.1% และมีผลต่อกำไรไม่เปลี่ยนแปลง 62.7% ลดลง 30% เพิ่มขึ้น 7.2%
ผู้ประกอบการระบุว่า มีการปรับตัวรับสถานการณ์ดังกล่าว 86.7% ไม่ปรับตัว 13.3% โดยมีระยะเวลาที่แบกรับภาระได้ประมาณ 4 เดือน รวมทั้งเห็นว่าเงินบาทจะแข็งค่ามากที่สุดในปีนี้ที่ 32.6 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ ค่าเงินบาทที่เหมาะสมอยู่ที่ 35.6% และค่าเงินบาทที่รับภาระได้อยู่ที่ 34.9 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
ผลกระทบจากราคาน้ำมันพบว่า ระดับราคาน้ำมันในปัจจุบันยังคงทรงตัวระดับสูง โดยผู้ประกอบการได้รับผลกระทบในทางลบ 84.3% ในจำนวนนี้ได้รับผลกระทบระดับปานกลาง 34.9% มีน้อย 33.9% มีมาก 31.1% และผลกระทบทางธุรกิจที่ได้รับมาจากที่ทำให้ต้นทุนสูงขึ้น 65.3% ไม่เปลี่ยนแปลง 33.6% รวมทั้งมีผลต่อยอดขายลดลง 34.7% ไม่เปลี่ยนแปลง 48% และผู้ประกอบการมีการปรับตัวรองรับราคาน้ำมันสูงขึ้น 96.3% ไม่ปรับตัว 3.7% โดยปรับตัวด้วยการเพิ่มปริมาณการบรรทุก ขึ้นราคาสินค้าและจ้างรถรับจ้างขนส่งแทน
ผลกระทบจากการเมืองพบว่า มีผลในทางลบต่อธุรกิจ 83.6% ในจำนวนนี้มีผลกระทบน้อย 38.7 % ปานกลาง 35.3% มีมาก 26% โดยผลทางการเมืองทำให้ผู้ประกอบการชะลอการลงทุน 48% รอดูสถานการณ์ 29.2% ซึ่งมีผู้ตอบว่าชะลอการลงทุนมากที่สุดในรอบปี 2550 ส่วนการขยายตลาดจะมีการรอดูสถานการณ์ 36.8% และการขอสินเชื่อจะมีการชะลอ 36.9% รอดูสถานการณ์ 33.3%
คาดบาทอ่อน34.5ต่อดอลล์ภายใน3เดือน
ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า อัตราแลกเปลี่ยนเป็นประเด็นที่ผู้ประกอบการเป็นห่วงมากที่สุด แต่ผลสำรวจครั้งนี้ได้ก่อนที่รัฐบาลจะรับข้อเสนอคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ซึ่งรัฐบาลดำเนินการตามข้อเสนอของเอกชน เช่น การอนุญาตให้ถือครองเงินดอลลาร์ได้ไม่จำกัดเวลา จะเป็นการส่งสัญญาณให้แนวโน้มเงินบาทอ่อนค่าลงมาอยู่ที่ 34.5 บาทต่อดอลลาร์ ได้ภายใน 1-3 เดือน
เร่งดันเงินกองทุนช่วยเอสเอ็มอี
ดร.ธนวรรธน์ กล่าวว่า จากการสำรวจพบว่ามีสัญญาณปลดคนงาน แต่ไม่อยู่ในวงกว้าง หากแก้ปัญหาสภาพคล่องได้จะช่วยเรื่องปิดกิจการและการว่างงาน แต่อาจมีผู้ประกอบการรายย่อยบางส่วนปิดกิจการ
การตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ขาดสภาพคล่อง จะช่วยให้ผู้ประกอบการประคองธุรกิจ หรือทำให้ธุรกิจเข้าสู่ภาวะปกติได้ และเห็นว่ารัฐบาลต้องเร่งผลักดันให้มีกองทุนดังกล่าวอย่างรวดเร็ว เพราะผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ ส่วนใหญ่เป็นเอสเอ็มอี หรือกลุ่มที่ใช้วัตถุดิบในประเทศ
ดร.ธนวรรธน์ กล่าวว่า ผู้ประกอบการเห็นว่าดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูง แม้ว่าจะปรับลดลงเหลือ 3.5% แต่สถาบันการเงินยังไม่ปรับลดดอกเบี้ยเงินกู้ โดยดอกเบี้ยเอ็มแอลอาร์ยังอยู่ที่ 8-9% หากลดดอกเบี้ยลงมาอยู่ที่ 6.5-7.0% จะเหมาะสมกับสถานการณ์มากที่สุด และสอดคล้องกับความต้องการของ กกร.ที่ต้องการให้รัฐแก้ปัญหาสภาพคล่องของผู้ประกอบการ
กลุ่มอาหารชี้กระทบแรงสุดรอบ40ปี
นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ นายกสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย กล่าวว่า เงินบาทที่แข็งค่าขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงเพราะการส่งออกกุ้งของไทย ใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้ภายในประเทศ 100% ทำให้เกษตรกรแบกภาระในเรื่องนี้ไปด้วย โดยราคากุ้งตกต่ำจนต้องออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลรับจำนำ
สมาคมเห็นแนวโน้มของปัญหานี้ตั้งแต่เดือนต.ค. ปีที่แล้ว จึงเสนอให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา กระทั่งต้นเดือนม.ค. 50 ค่าเงินบาทเริ่มแข็งค่าขึ้นอีก แต่รัฐบาลยังไม่มีแนวทางแก้ไข เพราะเห็นผลกระทบไม่ชัด ทั้งยังระบุว่าการส่งออกกุ้งในช่วงต้นปียังดีอยู่ ไม่น่าเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าจะเกิดปัญหาตามมา โดยปริมาณการส่งออกกุ้งครึ่งปีแรก เพิ่มขึ้น 3.73% มูลค่าในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.40% แต่รูปเงินบาทลดลง 3.91%
นายพจน์ กล่าวว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ถือว่ามีความรุนแรงในรอบ 40 ปี ที่มีการจัดตั้งสมาคมขึ้นมา ปัจจุบันแม้ว่ายังไม่มีการปิดโรงงาน แต่ทุกโรงงานได้ลดกำลังการผลิตเพื่อความอยู่รอด
เอกชนคาดฟื้นความเชื่อมั่น
นายรณพงศ์ คำนวณทิพย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โปรโมชั่นแนล พาร์ทเนอร์ส เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ดำเนินธุรกิจบริหารลิขสิทธิ์ กล่าวว่า เห็นด้วยกับมาตรการแก้ค่าบาท โดยเฉพาะมาตรการที่ 2 สามารถถือครองได้ไม่จำกัดเวลา จากเดิมกำหนดไว้ไม่เกิน 15 วัน ต้องแปลงเป็นเงินบาท ทำให้ผู้ประกอบการไม่ต้องเสียค่าแลกเปลี่ยนเงินไปมา ยังสามารถนำเงินนั้นไปฝากเป็นดอลลาร์ได้ ทำให้เอกชนลดแรงกดดันค่าเงินบาทแข็ง เพราะลำพังปัจจัยเสี่ยงในการทำธุรกิจที่มีอยู่ผู้ประกอบการค่อนข้างลำบากแล้ว ฉะนั้นหากค่าเงินบาทไม่นิ่ง ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงให้กับผู้ประกอบการมากขึ้น
"ส่วนตัวยังไม่แน่ใจว่า ในทางปฏิบัติ มาตรการดังกล่าวที่ประกาศออกมาจะสามารถดำเนินการได้เลยทันทีหรือไม่อย่างไร" นายรณพงศ์ กล่าว
ด้าน นายไกรเสริม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ในฐานะที่เป็นผู้ประกอบการเห็นด้วยกับ 8 มาตรการแก้ปัญหาค่าเงินบาทแข็งของรัฐบาลที่ออกมาเพื่อเรียกความเชื่อมั่น พยายามทำให้เกิดความสมดุลขึ้นเท่านั้น แต่ในส่วนตัวเชื่อว่าคงไม่มีผลอะไร สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ ผู้ประกอบการที่รับจ้างผลิตสินค้าให้ต่างประเทศ รัฐควรดูแลอย่างใกล้ชิด
ลุ้นสกัดทุนตปท.เก็งกำไร "บาท"
นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปตรา "มาม่า" กล่าวว่า ในฐานะที่เป็นผู้ประกอบการเห็นด้วยและสนับสนุนเต็มที่กับแปดมาตรการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาท แม้ว่าอาจจะช้าไปแต่ก็ดีกว่าไม่ได้ทำอะไรเลย และในแง่ของหลักจิตวิทยา การออกมาตรการดังกล่าว จะทำให้นักลงทุนต่างชาติขยาดที่จะเข้ามาเก็งกำไรค่าเงินบาท และเชื่อว่าจะทำให้ค่าเงินอ่อนค่าลงได้
นางพัชรวรรณ บุญนำทรัพย์ กรรมการบริหาร บริษัท คาสซาร์ดี้ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เห็นด้วยกับมาตรการของรัฐ เพราะจะทำให้ค่าเงินบาทมีเสถียรภาพมากขึ้น และยังทำให้ผู้ส่งออกรู้ต้นทุนที่แน่นอน สามารถกำหนดราคาได้ถูกต้อง ถือเป็นนโยบายที่ดูแลค่าเงินบาทได้ดี
ด้านนายวัลลภ พุกกะณะสุต รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ฝ่ายการพาณิชย์ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า จากมาตรการทั้ง 8 ข้อที่ธนาคารแห่งประเทศไทยจะดำเนินการนั้น ตนไม่มีความมั่นใจว่าจะสามารถทำให้ค่าเงินบาทเกิดเสถียรภาพได้ หากรัฐบาลไม่สามารถคงอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราอย่างคงที่ได้
แนะลดดอกเบี้ยเบรกเงินไหลเข้า
การลดดอกเบี้ยอาร์/พี นางพัชรวรรณ กล่าวว่า มีผลต่อการลดค่าเงินบาท ในเชิงจิตวิทยา เนื่องจากหากดอกเบี้ยเงินฝากลดลง เงินของนักลงทุนที่จะไหลเข้ามาเริ่มตระหนักมากขึ้น เพราะความแตกต่างของดอกเบี้ยมีไม่มาก จึงคาดว่าเงินที่จะไหลเข้ามาเก็งกำไรอาจจะชะงักในระยะสั้น ส่วนเงินดอลลาร์ก็ให้ความสนใจแต่คงต้องดูเงื่อนไข เพราะตอนนี้ประเทศไทยยังไม่มีอัตราดอกเบี้ยของเงินดอลลาร์
นายศุภชัย สุทธิพงษ์ชัย ประธานกรรมการ กลุ่มสินค้าคอนซูเมอร์ อิเล็กทรอนิกส์ บริษัท ชาร์ปไทย จำกัด กล่าวว่า การออกแปดมาตรการน่าจะช่วยให้ค่าเงินบาทมีเสถียรภาพมากขึ้น หรือทำให้ค่าเงินบาทอ่อนตัวลงไปได้ แต่ในความเห็นส่วนตัวมองว่า แบงก์ชาติดูจะยังไม่กล้าลดดอกเบี้ยอย่างเต็มที่ ซึ่งในฐานะนักธุรกิจเชื่อว่า ประกาศลดดอกเบี้ยให้ตลาดช็อกน่าจะดีกว่า ทั้งนี้ แบงก์ชาติอาจกังวลเรื่องเงินเฟ้อ แต่อย่าลืมว่าปัจจุบันไทยเงินเฟ้อยังต่ำมาก
นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกัด กล่าวว่า มาตรการที่ออกมาน่าจะช่วยให้สถานการณ์ดีขึ้นบ้าง แต่ต้องรอดูต่อไปว่าจะได้ผลขนาดไหน และหวังว่าแบงก์ชาติจะเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ส่งออก โดยเฉพาะในธุรกิจของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้โลคัลคอนเทนท์เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์
"เราไม่ต้องการแก้ไขสถานการณ์ด้วยการหันไปซื้อชิ้นส่วนจากต่างประเทศ เพราะจะทำให้ซัพพลายเออร์ไทยได้รับความเดือดร้อน หรือหากต้องการให้แก้ไขสถานการณ์ด้วยการทำสินค้าเฉพาะที่เป็นระดับไฮ หรือสินค้าที่คุ้มค่าก็คงไม่ได้ เพราะกลุ่มลูกค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ได้มีเฉพาะกลุ่มไฮเอนด์เท่านั้น"
http://www.bangkokbiznews.com/2006/spec ... 70150.html
โพลล์หอการค้า ชี้ ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนหนักสุด 85% ระบุเงินบาทแข็งส่งผลลบต่อกิจการ จี้รัฐแก้ปัญหาบาทแข็งเป็นอันดับแรก ผู้ประกอบการรายย่อยประสบปัญหาสภาพคล่อง คาดค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลงที่ 34.5 บาท ใน 1-3 เดือน กลุ่มอาหารชี้ค่าเงินกระทบหนักสุดในรอบ 40 ปี รายย่อยทยอยปิดโรงงาน
ดร.ยาใจ ชูวิชา ประธานคณะจัดทำหอการค้าโพลล์ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่า ผลการสำรวจหอการค้าโพลล์เรื่องผลกระทบที่ผู้ประกอบการได้รับจากอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองและการก่อวินาศกรรม ซึ่งได้จากการสำรวจผู้ประกอบการทุกขนาดในธุรกิจการเกษตร การค้า การบริการและการผลิต จำนวน 808 ตัวอย่าง ทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 14-17 ก.ค. 50
ผลการสำรวจพบว่า มีผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจาก 5 ปัจจัย ที่ทำให้ผลประกอบการลดลง 44.5% ไม่เปลี่ยนแปลง 41.3% และเพิ่มขึ้น 14.3% และเมื่อพิจารณาปัจจัยที่กระทบต่อธุรกิจมากที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยนมากที่สุด รองลงมาเป็นผลกระทบจากราคาน้ำมัน การเมือง ดอกเบี้ยและการก่อวินาศกรรม และผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้จะขยายตัว 3.5-4.5%
ทั้งนี้ เมื่อสอบถามเกี่ยวกับการรับทราบข่าวการปิดกิจการของธุรกิจเดียวกับกลุ่มตัวอย่าง พบว่าส่วนใหญ่ไม่ทราบข่าวการปิดกิจการ 56.5% มีจำนวนปานกลาง 17.4% มีจำนวนน้อย 14.5% และมีจำนวนมาก 11.6%
เมื่อตรวจสอบผู้ประกอบการรายย่อย มีผู้ตอบว่าไม่ทราบข่าวการปิดกิจการน้อยที่สุดเพียง 33% แสดงว่ารายย่อยมีโอกาสปิดกิจการมากที่สุด และปัจจัยที่ทำให้รายย่อยปิดกิจการมากที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยน 36.9% การเมือง 21.6% และน้ำมัน 20.7%
ปัญหาการขาดสภาพคล่องของธุรกิจเดียวกัน พบว่าไม่มีปัญหา 41.2% มีปานกลาง 28.2% มีมาก 17.0% มีน้อย 13.6% โดยผู้ประกอบการรายย่อยเห็นว่า มีขาดสภาพคล่องปานกลาง 30.8% มีมาก 27.8% มีน้อย 26.6%
ความเห็นเรื่องการปลดคนงานต่อธุรกิจเดียวกับผู้ตอบพบว่าไม่มี 56.3% มีน้อย 18.6% มีปานกลาง 17.7% มีมาก 7.4% และผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันพบว่ามีน้อย 30.6% ไม่มี 25.7% มีปานกลาง 24.2% มีมาก 19.5%
จี้รัฐแก้ปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนด่วน
ปัญหาที่ผู้ประกอบการต้องการให้รัฐบาลเร่งแก้ไขอย่างด่วนที่สุด คือ อัตราแลกเปลี่ยน 48.7% การเมือง 23.7% ราคาน้ำมัน 18.8% อัตราดอกเบี้ย 6.4% วินาศกรรม 2.4% โดยข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในด้านเศรษฐกิจต้องการให้แก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่า ปัญหาการว่างงานและปรับค่าครองชีพให้เหมาะสม
ข้อเสนอด้านสังคม ต้องการให้เน้นเรื่องการศึกษาเพิ่มขึ้น เพิ่มการรักษาความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินและช่วยเหลือคนยากจนมากขึ้น และด้านการเมืองต้องการให้มีการเลือกตั้งเร็วที่สุด แก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และให้ประเทศมีความสามัคคี
85%ระบุค่าเงินส่งผลลบต่อธุรกิจ
ดร.ยาใจ กล่าวว่า ความคิดเห็นเกี่ยวอัตราแลกเปลี่ยนที่ผู้ประกอบการเห็นว่ามีปัญหามากที่สุดมี ผู้ตอบว่าอัตราแลกเปลี่ยนมีผลทางลบต่อธุรกิจ 85.8% โดยตอบว่ามีผลต่อธุรกิจน้อย 39.4% มีผลมาก 33% มีผลปานกลาง 27.6% และอัตราแลกเปลี่ยนมีผลให้ยอดขายไม่เปลี่ยนแปลง 49.2% ลดลง 35.2% เพิ่มขึ้น 15.7% มีผลต่อต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลง 66.2% ลดลง 32.7% เพิ่มขึ้น 1.1% และมีผลต่อกำไรไม่เปลี่ยนแปลง 62.7% ลดลง 30% เพิ่มขึ้น 7.2%
ผู้ประกอบการระบุว่า มีการปรับตัวรับสถานการณ์ดังกล่าว 86.7% ไม่ปรับตัว 13.3% โดยมีระยะเวลาที่แบกรับภาระได้ประมาณ 4 เดือน รวมทั้งเห็นว่าเงินบาทจะแข็งค่ามากที่สุดในปีนี้ที่ 32.6 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ ค่าเงินบาทที่เหมาะสมอยู่ที่ 35.6% และค่าเงินบาทที่รับภาระได้อยู่ที่ 34.9 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
ผลกระทบจากราคาน้ำมันพบว่า ระดับราคาน้ำมันในปัจจุบันยังคงทรงตัวระดับสูง โดยผู้ประกอบการได้รับผลกระทบในทางลบ 84.3% ในจำนวนนี้ได้รับผลกระทบระดับปานกลาง 34.9% มีน้อย 33.9% มีมาก 31.1% และผลกระทบทางธุรกิจที่ได้รับมาจากที่ทำให้ต้นทุนสูงขึ้น 65.3% ไม่เปลี่ยนแปลง 33.6% รวมทั้งมีผลต่อยอดขายลดลง 34.7% ไม่เปลี่ยนแปลง 48% และผู้ประกอบการมีการปรับตัวรองรับราคาน้ำมันสูงขึ้น 96.3% ไม่ปรับตัว 3.7% โดยปรับตัวด้วยการเพิ่มปริมาณการบรรทุก ขึ้นราคาสินค้าและจ้างรถรับจ้างขนส่งแทน
ผลกระทบจากการเมืองพบว่า มีผลในทางลบต่อธุรกิจ 83.6% ในจำนวนนี้มีผลกระทบน้อย 38.7 % ปานกลาง 35.3% มีมาก 26% โดยผลทางการเมืองทำให้ผู้ประกอบการชะลอการลงทุน 48% รอดูสถานการณ์ 29.2% ซึ่งมีผู้ตอบว่าชะลอการลงทุนมากที่สุดในรอบปี 2550 ส่วนการขยายตลาดจะมีการรอดูสถานการณ์ 36.8% และการขอสินเชื่อจะมีการชะลอ 36.9% รอดูสถานการณ์ 33.3%
คาดบาทอ่อน34.5ต่อดอลล์ภายใน3เดือน
ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า อัตราแลกเปลี่ยนเป็นประเด็นที่ผู้ประกอบการเป็นห่วงมากที่สุด แต่ผลสำรวจครั้งนี้ได้ก่อนที่รัฐบาลจะรับข้อเสนอคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ซึ่งรัฐบาลดำเนินการตามข้อเสนอของเอกชน เช่น การอนุญาตให้ถือครองเงินดอลลาร์ได้ไม่จำกัดเวลา จะเป็นการส่งสัญญาณให้แนวโน้มเงินบาทอ่อนค่าลงมาอยู่ที่ 34.5 บาทต่อดอลลาร์ ได้ภายใน 1-3 เดือน
เร่งดันเงินกองทุนช่วยเอสเอ็มอี
ดร.ธนวรรธน์ กล่าวว่า จากการสำรวจพบว่ามีสัญญาณปลดคนงาน แต่ไม่อยู่ในวงกว้าง หากแก้ปัญหาสภาพคล่องได้จะช่วยเรื่องปิดกิจการและการว่างงาน แต่อาจมีผู้ประกอบการรายย่อยบางส่วนปิดกิจการ
การตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ขาดสภาพคล่อง จะช่วยให้ผู้ประกอบการประคองธุรกิจ หรือทำให้ธุรกิจเข้าสู่ภาวะปกติได้ และเห็นว่ารัฐบาลต้องเร่งผลักดันให้มีกองทุนดังกล่าวอย่างรวดเร็ว เพราะผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ ส่วนใหญ่เป็นเอสเอ็มอี หรือกลุ่มที่ใช้วัตถุดิบในประเทศ
ดร.ธนวรรธน์ กล่าวว่า ผู้ประกอบการเห็นว่าดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูง แม้ว่าจะปรับลดลงเหลือ 3.5% แต่สถาบันการเงินยังไม่ปรับลดดอกเบี้ยเงินกู้ โดยดอกเบี้ยเอ็มแอลอาร์ยังอยู่ที่ 8-9% หากลดดอกเบี้ยลงมาอยู่ที่ 6.5-7.0% จะเหมาะสมกับสถานการณ์มากที่สุด และสอดคล้องกับความต้องการของ กกร.ที่ต้องการให้รัฐแก้ปัญหาสภาพคล่องของผู้ประกอบการ
กลุ่มอาหารชี้กระทบแรงสุดรอบ40ปี
นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ นายกสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย กล่าวว่า เงินบาทที่แข็งค่าขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงเพราะการส่งออกกุ้งของไทย ใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้ภายในประเทศ 100% ทำให้เกษตรกรแบกภาระในเรื่องนี้ไปด้วย โดยราคากุ้งตกต่ำจนต้องออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลรับจำนำ
สมาคมเห็นแนวโน้มของปัญหานี้ตั้งแต่เดือนต.ค. ปีที่แล้ว จึงเสนอให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา กระทั่งต้นเดือนม.ค. 50 ค่าเงินบาทเริ่มแข็งค่าขึ้นอีก แต่รัฐบาลยังไม่มีแนวทางแก้ไข เพราะเห็นผลกระทบไม่ชัด ทั้งยังระบุว่าการส่งออกกุ้งในช่วงต้นปียังดีอยู่ ไม่น่าเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าจะเกิดปัญหาตามมา โดยปริมาณการส่งออกกุ้งครึ่งปีแรก เพิ่มขึ้น 3.73% มูลค่าในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.40% แต่รูปเงินบาทลดลง 3.91%
นายพจน์ กล่าวว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ถือว่ามีความรุนแรงในรอบ 40 ปี ที่มีการจัดตั้งสมาคมขึ้นมา ปัจจุบันแม้ว่ายังไม่มีการปิดโรงงาน แต่ทุกโรงงานได้ลดกำลังการผลิตเพื่อความอยู่รอด
เอกชนคาดฟื้นความเชื่อมั่น
นายรณพงศ์ คำนวณทิพย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โปรโมชั่นแนล พาร์ทเนอร์ส เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ดำเนินธุรกิจบริหารลิขสิทธิ์ กล่าวว่า เห็นด้วยกับมาตรการแก้ค่าบาท โดยเฉพาะมาตรการที่ 2 สามารถถือครองได้ไม่จำกัดเวลา จากเดิมกำหนดไว้ไม่เกิน 15 วัน ต้องแปลงเป็นเงินบาท ทำให้ผู้ประกอบการไม่ต้องเสียค่าแลกเปลี่ยนเงินไปมา ยังสามารถนำเงินนั้นไปฝากเป็นดอลลาร์ได้ ทำให้เอกชนลดแรงกดดันค่าเงินบาทแข็ง เพราะลำพังปัจจัยเสี่ยงในการทำธุรกิจที่มีอยู่ผู้ประกอบการค่อนข้างลำบากแล้ว ฉะนั้นหากค่าเงินบาทไม่นิ่ง ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงให้กับผู้ประกอบการมากขึ้น
"ส่วนตัวยังไม่แน่ใจว่า ในทางปฏิบัติ มาตรการดังกล่าวที่ประกาศออกมาจะสามารถดำเนินการได้เลยทันทีหรือไม่อย่างไร" นายรณพงศ์ กล่าว
ด้าน นายไกรเสริม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ในฐานะที่เป็นผู้ประกอบการเห็นด้วยกับ 8 มาตรการแก้ปัญหาค่าเงินบาทแข็งของรัฐบาลที่ออกมาเพื่อเรียกความเชื่อมั่น พยายามทำให้เกิดความสมดุลขึ้นเท่านั้น แต่ในส่วนตัวเชื่อว่าคงไม่มีผลอะไร สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ ผู้ประกอบการที่รับจ้างผลิตสินค้าให้ต่างประเทศ รัฐควรดูแลอย่างใกล้ชิด
ลุ้นสกัดทุนตปท.เก็งกำไร "บาท"
นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปตรา "มาม่า" กล่าวว่า ในฐานะที่เป็นผู้ประกอบการเห็นด้วยและสนับสนุนเต็มที่กับแปดมาตรการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาท แม้ว่าอาจจะช้าไปแต่ก็ดีกว่าไม่ได้ทำอะไรเลย และในแง่ของหลักจิตวิทยา การออกมาตรการดังกล่าว จะทำให้นักลงทุนต่างชาติขยาดที่จะเข้ามาเก็งกำไรค่าเงินบาท และเชื่อว่าจะทำให้ค่าเงินอ่อนค่าลงได้
นางพัชรวรรณ บุญนำทรัพย์ กรรมการบริหาร บริษัท คาสซาร์ดี้ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เห็นด้วยกับมาตรการของรัฐ เพราะจะทำให้ค่าเงินบาทมีเสถียรภาพมากขึ้น และยังทำให้ผู้ส่งออกรู้ต้นทุนที่แน่นอน สามารถกำหนดราคาได้ถูกต้อง ถือเป็นนโยบายที่ดูแลค่าเงินบาทได้ดี
ด้านนายวัลลภ พุกกะณะสุต รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ฝ่ายการพาณิชย์ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า จากมาตรการทั้ง 8 ข้อที่ธนาคารแห่งประเทศไทยจะดำเนินการนั้น ตนไม่มีความมั่นใจว่าจะสามารถทำให้ค่าเงินบาทเกิดเสถียรภาพได้ หากรัฐบาลไม่สามารถคงอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราอย่างคงที่ได้
แนะลดดอกเบี้ยเบรกเงินไหลเข้า
การลดดอกเบี้ยอาร์/พี นางพัชรวรรณ กล่าวว่า มีผลต่อการลดค่าเงินบาท ในเชิงจิตวิทยา เนื่องจากหากดอกเบี้ยเงินฝากลดลง เงินของนักลงทุนที่จะไหลเข้ามาเริ่มตระหนักมากขึ้น เพราะความแตกต่างของดอกเบี้ยมีไม่มาก จึงคาดว่าเงินที่จะไหลเข้ามาเก็งกำไรอาจจะชะงักในระยะสั้น ส่วนเงินดอลลาร์ก็ให้ความสนใจแต่คงต้องดูเงื่อนไข เพราะตอนนี้ประเทศไทยยังไม่มีอัตราดอกเบี้ยของเงินดอลลาร์
นายศุภชัย สุทธิพงษ์ชัย ประธานกรรมการ กลุ่มสินค้าคอนซูเมอร์ อิเล็กทรอนิกส์ บริษัท ชาร์ปไทย จำกัด กล่าวว่า การออกแปดมาตรการน่าจะช่วยให้ค่าเงินบาทมีเสถียรภาพมากขึ้น หรือทำให้ค่าเงินบาทอ่อนตัวลงไปได้ แต่ในความเห็นส่วนตัวมองว่า แบงก์ชาติดูจะยังไม่กล้าลดดอกเบี้ยอย่างเต็มที่ ซึ่งในฐานะนักธุรกิจเชื่อว่า ประกาศลดดอกเบี้ยให้ตลาดช็อกน่าจะดีกว่า ทั้งนี้ แบงก์ชาติอาจกังวลเรื่องเงินเฟ้อ แต่อย่าลืมว่าปัจจุบันไทยเงินเฟ้อยังต่ำมาก
นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกัด กล่าวว่า มาตรการที่ออกมาน่าจะช่วยให้สถานการณ์ดีขึ้นบ้าง แต่ต้องรอดูต่อไปว่าจะได้ผลขนาดไหน และหวังว่าแบงก์ชาติจะเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ส่งออก โดยเฉพาะในธุรกิจของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้โลคัลคอนเทนท์เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์
"เราไม่ต้องการแก้ไขสถานการณ์ด้วยการหันไปซื้อชิ้นส่วนจากต่างประเทศ เพราะจะทำให้ซัพพลายเออร์ไทยได้รับความเดือดร้อน หรือหากต้องการให้แก้ไขสถานการณ์ด้วยการทำสินค้าเฉพาะที่เป็นระดับไฮ หรือสินค้าที่คุ้มค่าก็คงไม่ได้ เพราะกลุ่มลูกค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ได้มีเฉพาะกลุ่มไฮเอนด์เท่านั้น"
http://www.bangkokbiznews.com/2006/spec ... 70150.html
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news22/07/07
โพสต์ที่ 99
ส่งออกระส่ำทิ้งออร์เดอร์เพียบ
บาทแข็งป่วนส่งออกครึ่งหลัง พ่อค้า แห่ทิ้งออเดอร์ใหม่ไม่กล้ารับหวั่นขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนทำธุรกิจเจ๊ง เหตุแบกรับสภาพขาดทุนกันไม่ไหว พร้อมใจรอดูมาตรการแบงก์ชาติสกัดค่าบาท ขณะที่บางรายอาการหนักถึงขั้นขอเจรจายกเลิกออเดอร์เก่ากลางครัน
กรณีการแข็งค่าของเงินบาทที่ส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกของประเทศอย่างหนักในขณะนี้ ได้มีผู้ประกอบการหลายรายในหลายอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ทยอยปิดกิจการลงเป็นจำนวนมาก ภาวะดังกล่าวทำให้ภาคเอกชนได้ออกมารวมพลเพื่อกดดันธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)ให้เร่งออกมาตรการสกัดการแข็งค่าของเงินบาทโดยเร็ว เนื่องจากเวลานี้ถือได้ว่าภาคส่งออกของไทยอยู่ในขั้นใกล้เป็นอัมพาต ซึ่งผู้ส่งออกส่วนใหญ่ไม่กล้ารับคำสั่งซื้อ(ออเดอร์)ใหม่ในช่วงครึ่งปีหลัง
นายธำรง ธิติประเสริฐ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ"ว่า การแข็งค่าของเงินบาทที่ยังมีความผันผวน และมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นไปอีก ส่งผลให้ผู้ผลิตและส่งออกรองเท้าในภาพรวมได้ชะลอและใช้ความระมัดระวังในการรับออเดอร์ใหม่ในช่วงครึ่งปีหลังกันมากขึ้น ซึ่งหากต่อรองราคากันแล้วเห็นว่าไม่คุ้มและเสี่ยงขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนก็จะไม่รับออเดอร์ ส่วนในออเดอร์ที่ยังพอมีกำไรก็จะรับเท่าที่จำเป็นเพื่อให้มีเงินทุนมาหมุนเวียนในการทำธุรกิจและเลี้ยงคนงาน
"สภาพที่เกิดขึ้นขณะนี้คือผู้ผลิตและส่งออกรองเท้าที่เป็นสมาชิกของสภาอุตฯซึ่งเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ 36 ราย คิดเป็นสัดส่วนการส่งออกกว่า 80% ของการส่งออกรองเท้าในภาพรวมได้ชะลอรับออเดอร์ หรือทิ้งบางออเดอร์ที่พิจารณาแล้วเห็นว่ารับไปก็ขาดทุน ส่งผลให้ลูกค้าได้หันไปนำเข้าจากจีน เวียดนาม และอินโดนีเซียคู่แข่งสำคัญที่ค่าเงินเขาไม่ได้แข็งค่าเหมือนเราแทน ผลจากเงินบาทแข็งค่าคาดปีนี้ไทยจะส่งออกรองเท้าประมาณ 32,000 ล้านบาทใกล้เคียงกับปีที่แล้ว หรืออาจขยายตัวลดลงจากเป้าเล็กน้อย"
เช่นเดียวกับนายวัลลภ วิตนากร เลขาธิการสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทยที่เปิดเผยว่า ขณะนี้ผู้ประกอบการทุกรายได้ใช้ความระมัดระวังในการรับออเดอร์ช่วงครึ่งปีหลังมากขึ้น หากไม่คุ้มก็จะไม่รับออเดอร์ ในภาพรวมของผู้ผลิตเครื่องนุ่งห่มรายใหญ่ยังมีออเดอร์เข้ามาเรื่อยๆ แต่ก็มีบางออเดอร์ที่บางครั้งไม่สามารถตกลงราคากันได้ลูกค้าก็จะหันไปสั่งซื้อจากจีน และเวียดนามแทน
"ที่น่าห่วงคือผู้ประกอบการรายย่อยที่ได้รับออเดอร์เข้ามาค่อนข้างน้อย แถมบางรายเจอลูกค้าขาจรหากเจรจาตกลงราคากันแล้วปรากฎว่าไม่มีโอกาสที่จะได้รับออเดอร์ในครั้งต่อๆไปก็จะไม่รับ พอมาเจอค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้นเรื่อยๆถือเป็นตัวเร่งให้เขาต้องปิดกิจการเร็วขึ้น โดย ณเวลานี้สมาชิกสมาคมที่มีอยู่ประมาณ 500 รายได้เลิกกิจการไปแล้วประมาณ 20 ราย โดยมีสาเหตุหลักจากไม่สามารถปรับตัวแข่งขันได้ และค่าเงินบาทเป็นปัจจัยที่ซ้ำเติม คาดสิ้นปีนี้การส่งออกเครื่องุน่งห่มจะไม่ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา"
นายมานะผล ภู่สมบุญ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ส.อ.ท. กล่าวว่า การแข็งค่าของเงินบาทมีผลให้ผุ้ผลิตและส่งออกฟอร์นิเจอร์บางรายได้เจรจากับลูกค้าที่ได้ลงออเดอร์แล้วเพื่อต่อรองขอลดจำนวนผลิตส่งมอบ เพราะหากผลิตส่งมอบตามจำนวนจะยิ่งขาดทุนมากขึ้น โดยยอมจ่ายเป็นค่าปรับแทน ซึ่งมีจำนวนหลายรายแต่ไม่เป็นที่เปิดเผยเพราะกลัวถูกแบงก์เพ่งเล็ง
ส่วนการรับออเดอร์ครึ่งปีหลังในภาพรวมสินค้าเฟอร์นิเจอร์ยังมีเข้ามาเรื่อยๆ แต่หากเสี่ยงขาดทุนก็จะไม่รับออเดอร์ สำหรับการส่งออกเฟอร์นิเจอร์ภาพรวมของปีนี้คาดในรูปเงินบาทอาจจะไม่ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ส่วนรูปดอลลาร์สหรัฐเบื้องต้นทางสมาคมคาดว่าจะขยายตัวระหว่าง 3-5% จากปี 2549 ที่ส่งออกมูลค่าประมาณ 1,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 42,000 ล้านบาท (คำนวณที่ 35 บาท/ดอลลาร์)
นายชาญณรงค์ บุญรัตนกรกิจ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง ส.อ.ท.
กล่าวว่า เงินบาทที่แข็งค่าทำให้สมาชิกของสมาคมที่มีอยู่ประมาณ 440 บริษัท คนงานกว่า 500,000คนได้รับผลกระทบในการรับออเดอร์ใหม่ในครึ่งปีหลังอย่างมาก เพราะหากขายในราคาที่สูงขึ้นตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าจะทำให้สูญเสียลูกค้าให้กับผู้ผลิตของจีน และเวียดนามซึ่งเป็นคู่แข่งสำคัญซึ่งสินค้ามีราคาถูกกว่าไทย ขณะที่ออเดอร์เก่าที่ซื้อขายล่วงหน้าก็เสี่ยงขาดทุนจากค่าเงินบาท ดังนั้นการรับออเดอร์ใหม่จึงรับในปริมาณและราคาที่ไม่เจ็บตัว หากไม่คุ้มก็จะไม่รับหรือทิ้งออเดอร์ไปเลย
อย่างไรก็ตามจากผลกระทบค่าเงินบาทคาดในปี 2550 การส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องหนังของไทยจะขยายตัวลดลงในรูปเงินบาทประมาณ 3% จากปีที่แล้วส่งออกมูลค่า 60,000 ล้านบาท
นายณัฐ อ่อนศรี อุปนายกและประธานกลุ่มผู้ผลิตปลาทูน่า สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป กล่าวว่า ผู้ส่งออกทูน่าของไทยในภาพรวมไม่กล้ารับออเดอร์ใหม่เพราะเสี่ยงขาดทุน สืบเนื่องจากสองเหตุผลหลักคือ หนึ่ง วัตถุดิบขาดแคลนและมีราคาสูง ล่าสุดอยู่ที่ 1,460 ดอลลาร์สหรัฐ/ตันสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และสอง เงินบาทที่แข็งค่าและผันผวนมาก สำหรับในรายที่ยังผลิตเพื่อส่งมอบลูกค้าเดิมที่ทำสัญญาซื้อขายระยะยาวกันไปแล้ว ส่วนออเดอร์ใหม่ในรายที่ยังกล้ารับจะมีการต่อรองราคากับลูกค้าว่ารับได้หรือไม่ และดูว่าจะมีวัตถุดิบป้อนเพียงพอหรือไม่ด้วย
ขณะที่นายบุญหาญ อู่อุดมยิ่ง ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง ส.อ.ท. กล่าวว่า เวลานี้ผู้ส่งออกยางและผลิตภัณฑ์ไม่กล้ารับออเดอร์ระยะยาวเพราะเสี่ยงขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน แต่จะรับออเดอร์สั้นๆ แบบเดือนต่อเดือน ซึ่งขณะนี้ยังโชคดีที่ผลผลิตยางธรรมชาติในประเทศมีออกมาค่อนข้างมาก ทำให้ผู้ส่งออกซื้อได้ในราคาที่ถูกลงทำให้ช่วยลดผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ระยะหนึ่ง
"ออเดอร์สั่งซื้อผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติจากต่างประเทศทั้งน้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่น ล้อยาง หรือถุงมือยางล่วงหน้า ส่งมอบ 2-3 เดือนเหมือนเมื่อก่อนเวลานี้เราไม่รับเลย แต่จะรับและโค้ดราคาแบบเดือนต่อเดือนเพื่อไม่ให้เจ็บตัวมากจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยในปีนี้เราตั้งเป้าส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง 120,000-130,000 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วที่ส่งออกประมาณ 110,000 บาท แต่หากเงินบาทอ่อนค่าเราจะส่งออกได้มูลค่ามากกว่านี้ หลักๆเป็นเพราะจีนยังมีความต้องการนำเข้าผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติจากเราเป็นจำนวนมากเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์ที่กำลังขยายตัว"
อนึ่ง จากปัญหาเงินบาทแข็งค่าและส่งผลต่อการรับออเดอร์ของผู้ส่งออกในครึ่งปีหลัง ภาคเอกชนต่างจับตามองมาตรการสกัดการแข็งค่าของเงินบาทที่ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)ที่กำลังจะประกาศออกมาว่าได้ผลมากน้อยเพียงใด เพื่อจะได้กำหนดทิศทางธุรกิจรวมถึงการรับออเดอร์ในครึ่งปีหลังต่อไป
ก่อนหน้านี้ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คาดการณ์การส่งออกไตรมาสที่3 และไตรมาสที่4 จะขยายตัวลดลง โดยไตรมาส 3 ขยายตัว 9.10% ไตรมาส4ขยายตัว 3.37% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่ผ่านมา ขณะที่ไตรมาส1 และไตรมาส2ขยายตัว 17.82% และ19.69% ตามลำดับ สาเหตุเนื่องจากค่าเงินบาทแข็ง ผู้ส่งออกปรับขึ้นราคาสินค้า
ขณะที่นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กล่าวภายหลังการประชุมร่วมกับภาคเอกชน เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ที่ผ่านมาว่า ภาพรวมการส่งออกในปีนี้จะเป็นไปตามเป้าหมาย คือขยายตัว 12.5% มูลค่า 145,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่แสดงความเป็นห่วงค่าเงินบาทแข็ง ซึ่งภาครัฐและเอกชนจะได้ร่วมมือกันแก้ไขต่อไป
http://www.thannews.th.com/detialnews.p ... issue=2236
บาทแข็งป่วนส่งออกครึ่งหลัง พ่อค้า แห่ทิ้งออเดอร์ใหม่ไม่กล้ารับหวั่นขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนทำธุรกิจเจ๊ง เหตุแบกรับสภาพขาดทุนกันไม่ไหว พร้อมใจรอดูมาตรการแบงก์ชาติสกัดค่าบาท ขณะที่บางรายอาการหนักถึงขั้นขอเจรจายกเลิกออเดอร์เก่ากลางครัน
กรณีการแข็งค่าของเงินบาทที่ส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกของประเทศอย่างหนักในขณะนี้ ได้มีผู้ประกอบการหลายรายในหลายอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ทยอยปิดกิจการลงเป็นจำนวนมาก ภาวะดังกล่าวทำให้ภาคเอกชนได้ออกมารวมพลเพื่อกดดันธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)ให้เร่งออกมาตรการสกัดการแข็งค่าของเงินบาทโดยเร็ว เนื่องจากเวลานี้ถือได้ว่าภาคส่งออกของไทยอยู่ในขั้นใกล้เป็นอัมพาต ซึ่งผู้ส่งออกส่วนใหญ่ไม่กล้ารับคำสั่งซื้อ(ออเดอร์)ใหม่ในช่วงครึ่งปีหลัง
นายธำรง ธิติประเสริฐ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ"ว่า การแข็งค่าของเงินบาทที่ยังมีความผันผวน และมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นไปอีก ส่งผลให้ผู้ผลิตและส่งออกรองเท้าในภาพรวมได้ชะลอและใช้ความระมัดระวังในการรับออเดอร์ใหม่ในช่วงครึ่งปีหลังกันมากขึ้น ซึ่งหากต่อรองราคากันแล้วเห็นว่าไม่คุ้มและเสี่ยงขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนก็จะไม่รับออเดอร์ ส่วนในออเดอร์ที่ยังพอมีกำไรก็จะรับเท่าที่จำเป็นเพื่อให้มีเงินทุนมาหมุนเวียนในการทำธุรกิจและเลี้ยงคนงาน
"สภาพที่เกิดขึ้นขณะนี้คือผู้ผลิตและส่งออกรองเท้าที่เป็นสมาชิกของสภาอุตฯซึ่งเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ 36 ราย คิดเป็นสัดส่วนการส่งออกกว่า 80% ของการส่งออกรองเท้าในภาพรวมได้ชะลอรับออเดอร์ หรือทิ้งบางออเดอร์ที่พิจารณาแล้วเห็นว่ารับไปก็ขาดทุน ส่งผลให้ลูกค้าได้หันไปนำเข้าจากจีน เวียดนาม และอินโดนีเซียคู่แข่งสำคัญที่ค่าเงินเขาไม่ได้แข็งค่าเหมือนเราแทน ผลจากเงินบาทแข็งค่าคาดปีนี้ไทยจะส่งออกรองเท้าประมาณ 32,000 ล้านบาทใกล้เคียงกับปีที่แล้ว หรืออาจขยายตัวลดลงจากเป้าเล็กน้อย"
เช่นเดียวกับนายวัลลภ วิตนากร เลขาธิการสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทยที่เปิดเผยว่า ขณะนี้ผู้ประกอบการทุกรายได้ใช้ความระมัดระวังในการรับออเดอร์ช่วงครึ่งปีหลังมากขึ้น หากไม่คุ้มก็จะไม่รับออเดอร์ ในภาพรวมของผู้ผลิตเครื่องนุ่งห่มรายใหญ่ยังมีออเดอร์เข้ามาเรื่อยๆ แต่ก็มีบางออเดอร์ที่บางครั้งไม่สามารถตกลงราคากันได้ลูกค้าก็จะหันไปสั่งซื้อจากจีน และเวียดนามแทน
"ที่น่าห่วงคือผู้ประกอบการรายย่อยที่ได้รับออเดอร์เข้ามาค่อนข้างน้อย แถมบางรายเจอลูกค้าขาจรหากเจรจาตกลงราคากันแล้วปรากฎว่าไม่มีโอกาสที่จะได้รับออเดอร์ในครั้งต่อๆไปก็จะไม่รับ พอมาเจอค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้นเรื่อยๆถือเป็นตัวเร่งให้เขาต้องปิดกิจการเร็วขึ้น โดย ณเวลานี้สมาชิกสมาคมที่มีอยู่ประมาณ 500 รายได้เลิกกิจการไปแล้วประมาณ 20 ราย โดยมีสาเหตุหลักจากไม่สามารถปรับตัวแข่งขันได้ และค่าเงินบาทเป็นปัจจัยที่ซ้ำเติม คาดสิ้นปีนี้การส่งออกเครื่องุน่งห่มจะไม่ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา"
นายมานะผล ภู่สมบุญ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ส.อ.ท. กล่าวว่า การแข็งค่าของเงินบาทมีผลให้ผุ้ผลิตและส่งออกฟอร์นิเจอร์บางรายได้เจรจากับลูกค้าที่ได้ลงออเดอร์แล้วเพื่อต่อรองขอลดจำนวนผลิตส่งมอบ เพราะหากผลิตส่งมอบตามจำนวนจะยิ่งขาดทุนมากขึ้น โดยยอมจ่ายเป็นค่าปรับแทน ซึ่งมีจำนวนหลายรายแต่ไม่เป็นที่เปิดเผยเพราะกลัวถูกแบงก์เพ่งเล็ง
ส่วนการรับออเดอร์ครึ่งปีหลังในภาพรวมสินค้าเฟอร์นิเจอร์ยังมีเข้ามาเรื่อยๆ แต่หากเสี่ยงขาดทุนก็จะไม่รับออเดอร์ สำหรับการส่งออกเฟอร์นิเจอร์ภาพรวมของปีนี้คาดในรูปเงินบาทอาจจะไม่ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ส่วนรูปดอลลาร์สหรัฐเบื้องต้นทางสมาคมคาดว่าจะขยายตัวระหว่าง 3-5% จากปี 2549 ที่ส่งออกมูลค่าประมาณ 1,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 42,000 ล้านบาท (คำนวณที่ 35 บาท/ดอลลาร์)
นายชาญณรงค์ บุญรัตนกรกิจ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง ส.อ.ท.
กล่าวว่า เงินบาทที่แข็งค่าทำให้สมาชิกของสมาคมที่มีอยู่ประมาณ 440 บริษัท คนงานกว่า 500,000คนได้รับผลกระทบในการรับออเดอร์ใหม่ในครึ่งปีหลังอย่างมาก เพราะหากขายในราคาที่สูงขึ้นตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าจะทำให้สูญเสียลูกค้าให้กับผู้ผลิตของจีน และเวียดนามซึ่งเป็นคู่แข่งสำคัญซึ่งสินค้ามีราคาถูกกว่าไทย ขณะที่ออเดอร์เก่าที่ซื้อขายล่วงหน้าก็เสี่ยงขาดทุนจากค่าเงินบาท ดังนั้นการรับออเดอร์ใหม่จึงรับในปริมาณและราคาที่ไม่เจ็บตัว หากไม่คุ้มก็จะไม่รับหรือทิ้งออเดอร์ไปเลย
อย่างไรก็ตามจากผลกระทบค่าเงินบาทคาดในปี 2550 การส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องหนังของไทยจะขยายตัวลดลงในรูปเงินบาทประมาณ 3% จากปีที่แล้วส่งออกมูลค่า 60,000 ล้านบาท
นายณัฐ อ่อนศรี อุปนายกและประธานกลุ่มผู้ผลิตปลาทูน่า สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป กล่าวว่า ผู้ส่งออกทูน่าของไทยในภาพรวมไม่กล้ารับออเดอร์ใหม่เพราะเสี่ยงขาดทุน สืบเนื่องจากสองเหตุผลหลักคือ หนึ่ง วัตถุดิบขาดแคลนและมีราคาสูง ล่าสุดอยู่ที่ 1,460 ดอลลาร์สหรัฐ/ตันสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และสอง เงินบาทที่แข็งค่าและผันผวนมาก สำหรับในรายที่ยังผลิตเพื่อส่งมอบลูกค้าเดิมที่ทำสัญญาซื้อขายระยะยาวกันไปแล้ว ส่วนออเดอร์ใหม่ในรายที่ยังกล้ารับจะมีการต่อรองราคากับลูกค้าว่ารับได้หรือไม่ และดูว่าจะมีวัตถุดิบป้อนเพียงพอหรือไม่ด้วย
ขณะที่นายบุญหาญ อู่อุดมยิ่ง ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง ส.อ.ท. กล่าวว่า เวลานี้ผู้ส่งออกยางและผลิตภัณฑ์ไม่กล้ารับออเดอร์ระยะยาวเพราะเสี่ยงขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน แต่จะรับออเดอร์สั้นๆ แบบเดือนต่อเดือน ซึ่งขณะนี้ยังโชคดีที่ผลผลิตยางธรรมชาติในประเทศมีออกมาค่อนข้างมาก ทำให้ผู้ส่งออกซื้อได้ในราคาที่ถูกลงทำให้ช่วยลดผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ระยะหนึ่ง
"ออเดอร์สั่งซื้อผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติจากต่างประเทศทั้งน้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่น ล้อยาง หรือถุงมือยางล่วงหน้า ส่งมอบ 2-3 เดือนเหมือนเมื่อก่อนเวลานี้เราไม่รับเลย แต่จะรับและโค้ดราคาแบบเดือนต่อเดือนเพื่อไม่ให้เจ็บตัวมากจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยในปีนี้เราตั้งเป้าส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง 120,000-130,000 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วที่ส่งออกประมาณ 110,000 บาท แต่หากเงินบาทอ่อนค่าเราจะส่งออกได้มูลค่ามากกว่านี้ หลักๆเป็นเพราะจีนยังมีความต้องการนำเข้าผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติจากเราเป็นจำนวนมากเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์ที่กำลังขยายตัว"
อนึ่ง จากปัญหาเงินบาทแข็งค่าและส่งผลต่อการรับออเดอร์ของผู้ส่งออกในครึ่งปีหลัง ภาคเอกชนต่างจับตามองมาตรการสกัดการแข็งค่าของเงินบาทที่ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)ที่กำลังจะประกาศออกมาว่าได้ผลมากน้อยเพียงใด เพื่อจะได้กำหนดทิศทางธุรกิจรวมถึงการรับออเดอร์ในครึ่งปีหลังต่อไป
ก่อนหน้านี้ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คาดการณ์การส่งออกไตรมาสที่3 และไตรมาสที่4 จะขยายตัวลดลง โดยไตรมาส 3 ขยายตัว 9.10% ไตรมาส4ขยายตัว 3.37% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่ผ่านมา ขณะที่ไตรมาส1 และไตรมาส2ขยายตัว 17.82% และ19.69% ตามลำดับ สาเหตุเนื่องจากค่าเงินบาทแข็ง ผู้ส่งออกปรับขึ้นราคาสินค้า
ขณะที่นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กล่าวภายหลังการประชุมร่วมกับภาคเอกชน เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ที่ผ่านมาว่า ภาพรวมการส่งออกในปีนี้จะเป็นไปตามเป้าหมาย คือขยายตัว 12.5% มูลค่า 145,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่แสดงความเป็นห่วงค่าเงินบาทแข็ง ซึ่งภาครัฐและเอกชนจะได้ร่วมมือกันแก้ไขต่อไป
http://www.thannews.th.com/detialnews.p ... issue=2236
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 100
บจ.ฟันธงจีดีพีไทยโตแค่3.9% - 23/7/2550
บจ.ฟันธงจีดีพีไทยโตแค่3.9%
อสังหาฯ-ก่อสร้างส่อลดการลงทุน
ประมวลข่าวความเคลื่อนไหว
ธุรกิจตลาดเงิน-ตลาดทุน ระหว่างวันที่ 13-19 ก.ค.2550
ตลท.กับสมาคมบจ.ร่วมกันสำรวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงบจ. เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจ โครงการ Quarterly Thailand Economic Outlook Survey พบว่า ร้อยละ 60 เห็นว่าเศรษฐกิจไทยในปี 50 จะขยายตัวกว่าร้อยละ 3.5-3.9% และปี 51 จะขยายตัว 4.0-4.4% ส่วนผลสำรวจในเรื่องการเพิ่มการลงทุนในอีก 12 เดือนข้างหน้าร้อยละ 67 จะขยายการลงทุนเพิ่ม และอีก 30% จะรักษาระดับการลงทุนใกล้เคียงกับปี 50 ส่วน 6% จะลดการลงทุนซึ่งเป็นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง ประเด็นที่น่าสนใจคือ แนวโน้มจะมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นอีก 10% และอุปสรรคสำคัญในการทำธุรกิจร้อยละ 45% เห็นว่าเป็นเรื่องความความยากลำบากในการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน
น่าเสียดายที่การสำรวจนี้ทำก่อนหน้าที่จะมีภาวะการแข็งค่าของเงินบาท จึงไม่มีมุมมองที่น่าสนใจในประเด็นนี้ แต่ยังมีเรื่องที่น่ายินดี คือมีถึงร้อยละ 32 ให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณเพื่อทำกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) ผู้บริหารบางรายที่ได้กำไรจากการขายหุ้นของบริษัทตัวเองช่วงหุ้น ฮอตๆ น่าจะจัดสรรงบให้สังคมมากๆ หน่อยเขาจะได้ไม่นินทาเอา
แบงก์ไทยจ่ายดอกเพิ่ม เงินฝากลูกค้าวัยทำงาน
รหัสข่าว 08100079: 13/07/50: มติชน/กระแสหุ้น/กรุงเทพธุรกิจหุ้น
นายสุรชัย จิตตรัตน์เสนีย์ รองกก.ผจก.ใหญ่ สายธุรกิจรายย่อย ธ.ไทยธนาคาร เผยว่า ได้ออกผลิตภัณฑ์เงินฝากออมทรัพย์รูปแบบใหม่ Working Professional เป็นโครงการที่มุ่งเน้นลูกค้าที่อยู่ในวัยทำงานอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยจะได้รับดอกเบี้ยพิเศษบวกกับดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์อีก 0.25% เมื่อเปิดบัญชีใหม่ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป และจะได้รับความคุ้มครองการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลฟรีในวงเงินสูงถึง 50,000 บาท จาก
บจก.บีทีประกันภัยเป็นเวลา 6 เดือน ถ้าเปิดบัญชีไม่เกินวันที่ 30 ก.ย.50
แบงก์กรุงเทพขายพันธบัตรรัฐ
รหัสข่าว 08600003: 13/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผอ.สนง.บริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผยว่า ได้ให้ธ.กรุงเทพ จำหน่ายพันธ บัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 50 ครั้งที่ 10 รุ่นอายุ 3 ปี วงเงิน 500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 3.90% ต่อปี ซึ่งธปท.เป็นนายทะเบียนวงเงินรวม 6 พันลบ. เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชนออม นอกเหนือจากการฝากเงินกับสถาบันการเงิน รวมถึงเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ของรัฐให้มีความหลากหลาย ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้อีกทางหนึ่ง โดยมีแผนออกพันธบัตรดังกล่าวต่อเนื่องไปถึงปีงบประมาณ 2551
KK ขยายพอร์ตเงินฝาก
รหัสข่าว 08100080: 13/07/50: กระแสหุ้น/ผู้จัดการรายวัน
น.ส.ฐิตินันท์ วัธนเวคิน ปธ.สายบริหารการเงินและเงินฝาก ธ.เกียรตินาคิน เผยว่า ธนาคารได้ปรับดอกเบี้ยเงินฝากประจำสำหรับบุคคลธรรมดา ตั้งแต่ 5 แสนบาทขึ้นไปเป็น 6,9,12,18 และ 24 เดือน เริ่มตั้งแต่2.5-3.625% ส่วนตั๋วบี/อี นั้น รับวงเงินฝากตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป อายุ 6-24 เดือน โดยอัตราดอกเบี้ย เริ่มตั้งแต่ 2.75-4.25% นอกจากนี้ได้นำเสนอผลิตภัณฑ์เงินฝากใหม่ ได้แก่ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ KK Savings Plus และKK Investor Savings เงินฝากออมทรัพย์เพื่อนักลงทุน เป้าหมายปี 50 คาดระดมเงินฝากได้เพิ่มขึ้น 30%
ตลท.ถกส.อ.ท.-แบงก์ช่วยผู้ส่งออก
รหัสข่าว 08410004: 14/07/50: มติชน/โพสต์ทูเดย์/ไทยโพสต์/ไทยรัฐ/สยามรัฐ
นายวิเชษฐ ตันติวานิช รองผจก.ตลท.เผยว่า เตรียมหารือกับสอท.-ธนาคารพาณิชย์เพื่อหาทางช่วยผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ส่วนบจ.ในตลาดหลักทรัพย์ฯ มีอยู่ไม่มากที่มีรายได้เป็นเงินดอลลาร์แต่มีต้นทุนเป็นเงินบาท พร้อมยันว่าเงินที่ไหลเข้ามาในตลาดหุ้นเป็นกองทุนระยะยาว และเห็นว่าธปท.ควรยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% แล้วค่อยเก็บภาษีกำไรจากเงินลงทุนเมื่อนำออกนอก ขณะที่ผู้ว่าธปท.เตรียมออกมาตรการผ่อนปรนเงินลงทุนนอกประเทศเป็นแพ็กเกจ ส่วนเงินสำรองระหว่างประเทศ ณ 6 ก.ค.ที่มี 7.2 หมื่นล้านดอลลาร์ ลดลงจากสัปดาห์ก่อน 900 ล้านดอลลาร์ แสดงว่าไม่ได้เข้าไปซื้อดอลลาร์เพื่อดูแลค่าเงินแต่อย่างใด
เมืองไทยประกันกล้าแตกต่างด้วยความสุข
รหัสข่าว 08310007: 15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
สาระ ล่ำซำ กก.ผจก.เมืองไทยประกันชีวิต หลังเปลี่ยนสีแบรนด์จากน้ำเงินเป็นสีชมพูบานเย็น เพราะเป็นสีของ Morning Sunshine ซึ่งเชื่อมโยงไปกับธีม "ความสุข" ตอกย้ำด้วยรอยยิ้มซึ่งความหมาย คือ ความ สุขจากความมั่นคงที่ได้ประกันชีวิตกับบริษัท อาศัยการสื่อสารไปยังลูกค้าด้วยความถี่ แนวคิดเดิมคือผ่านสื่อโฆษณาทีวีละครหลังข่าว แต่เสียงบประมาณมาก จึงเปลี่ยนเป็นการสร้างแบรนด์ผ่านป้ายเหนือถังขยะรอบกทม. โดยใช้คำเพียง "ทิ้งความเสี่ยงไว้กับเรา" และ "บริษัทคนหัวคิดทันสมัย" พร้อมเบอร์ 1766 ย่อมทำให้คนจดจำได้เช่นกัน ได้ทั้งความถี่และคุ้มราคา นอกจากนี้ยังมีแร็พแบรนด์กับเครื่องบินและรถเข็นในห้างฯ อีกด้วย
เอ็มเอฟซี ลุยขาย FIF รหัสข่าว 08200002: 15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
ดร.พิชิต อัคราทิตย์ กก.ผจก.บลจ.เอ็มเอฟซี เผยว่า ระหว่างวันที่ 13-19 ก.ค.50 จะเปิดขายกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ภายใต้ชื่อ กองทุนเปิดเอ็มเอฟซี อินเตอร์เนชั่นแนล ซีเล็ค ฟันด์ ลงทุนขั้นต่ำ 10,000 บาท มูลค่าโครงการ 1,200 ล้านบาท จะรับซื้อหน่วยลงทุนคืนอัตโนมัติเมื่อครบ 3 ปี ไม่จ่ายเงินปันผล เน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่ออกโดยสถาบันการเงินต่างประเทศ ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถืออยู่ในอันดับ 3 แรก ซึ่งมีจุดเด่นคือกระจายความเสี่ยงโดยลงทุนอ้างอิงกลุ่มดัชนี CROCI Index กับผลตอบแทนใน 3 กลุ่มประเทศ คือยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น
คลังผนึกธปท.รับมือบาทแข็ง
รหัสข่าว 08600004: 16/07/50: ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)14/07/50: สยามธุรกิจ13/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/สยามรัฐ/กระแสหุ้น/ไทยรัฐ/บ้านเมือง/ข่าวหุ้น/คมชัดลึก/โลกวันนี้/แนวหน้า/โพสต์ทูเดย์
ดร.ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.กระทรวงการคลัง แถลงร่วมกับ ดร.ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าธปท.ถึงสถานการณ์เงินทุนไหลเข้า ส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งนั้น สองหน่วยงานสามารถรับมือได้ด้วยเครื่องมือที่มีอยู่ โดยจะไม่มีมาตรการอะไรออกมาช็อกตลาด ส่วนทางธปท.จะเร่งแผนผ่อนผันการลงทุนในต่างประเทศ ถ้าลงทุนโดยตรงจะไม่จำกัดวงเงินหรือถ้าลงทุนในตลาดหุ้นในต่างประเทศจะขยายวงเงินเพิ่มขึ้น และในสัปดาห์หน้าธปท. จะทบทวนตัวเลขจีดีพีใหม่ เพื่อดูว่าที่เงินบาทแข็งค่าขึ้นจะมีผลต่อการเติบโตหรือไม่ ซึ่งประเมินไว้ที่ 3.8-4.8%
มาสเตอร์แพลน 2 แบงก์ล้มได้
รหัสข่าว 08100078: 16/07/50: ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)13/07/50: กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/โลกวันนี้/ไทยรัฐ/แนวหน้า/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ข่าวสด/มติชน
นายไพบูลย์ กิตติศรีกังวาน ผอ.อาวุโส ฝ่ายกลยุทธ์สถาบันการเงิน สายนโยบายสถาบันการเงิน ธปท. กล่าวว่า คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน เห็นชอบจัดทำแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ซึ่งจะเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2552-2557 สำหรับแผนดังกล่าวจะเปิดให้มีการแข่งขันจากผู้ให้บริการรายใหม่ ทั้งไทยและต่างชาติ โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินอื่นที่ไม่ใช่ธนาคารก็ได้ ธปท.จะเริ่มเปิดเสรีทางการเงินมากขึ้น จะให้ธนาคาร
พาณิชย์ให้บริการเพิ่มเติมได้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตลาดทุน หากรายใดไม่สามารถแข่งได้ต้องออกจากระบบไปกลต.เสนอธปท.ลงทุนนอก
รหัสข่าว 08420001: 16/07/50: โพสต์ทูเดย์13/07/50: โพสต์ทูเดย์/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/Bangkok Post
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาฯ กลต.เผยว่า จะเสนอกับธปท.เปิดทางให้บุคคลที่มีเงินทุนเพียงพอนำเงินออกไปลงทุนในต่างประเทศ โดยกำหนดวงเงินรายละ 1 ล้านเหรียญสหรัฐ และในปีถัดไปอาจเพิ่มวงเงินขึ้น หรือถ้าอนุญาตแล้วไม่มีการออกไปคราวหน้าจะถูกตัดสิทธิ นอกจากนี้อาจลงทุนผ่านบลจ. ประเภทกองทุนส่วนบุคคล เพื่อแก้ปัญหาค่าเงินบาทแข็งได้ในระดับหนึ่ง ก่อนหน้านี้เคยเสนอแล้วแต่ธปท.อนุญาตเฉพาะบล.ส่วนสมาคมบลจ.จะเสนอ นักลงทุนสถาบัน มูลนิธิแสะสหกรณ์วงเงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐ
ชาตรีเสริมจุดแข็งสาขาตปท.รหัสข่าว 08100089: 16/07/50 : The Nation/Bangkok Post/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/คมชัดลึก15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
นายชาตรี โสภณพนิช ปธ.กก.ธ.กรุงเทพ เผยว่า มุ่งขยายตลาดสินเชื่อไปในต่างประเทศ เพื่มขึ้นเป็น 12% จากเดิม 7% โดยเน้นในสิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกง และจีน ปัญหาที่เป็นอยู่ในปัจจุบันคือการผลิตผู้จัดการสาขาในต่างประเทศช้ามาก เนื่องจากมุ่งแก้ปัญหาในประเทศก่อน ในปีนี้มีแผนจะส่งบุคลากรระดับผู้ช่วยผู้จัดการไปศึกษาดูงานและไต่ลำดับตำแหน่งที่สูงขึ้นจำนวน 20 คน แล้วจะย้ายกลับมาเป็นผู้จัดการสาขาที่กรุงเทพฯ สำหรับงานในประเทศที่ผ่านมาทำได้ดี ทั้งด้านโครงสร้างและระบบงานภายใน ระยะต่อไปกก.ผจก.ใหญ่ จะไปเน้นงานด้านการประชาสัมพันธ์ และการเข้าถึงลูกค้ามากยิ่งขึ้น พร้อมพัฒนาระบบไอทีและบุคลากรควบคู่กันไป
บลจ.กสิกรจ่ายปันผล 226 ล้านรหัสข่าว 08240016: 16/07/50: กระแสหุ้น 13/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น
นางวิวรรณ ธาราหิรัญโชติ รองปธบ.บลจ.กสิกรไทย เผยว่าบริษัทได้ทำการซื้อคืนอัตโนมัติของกองทุนเปิดเคสตาร์หุ้นทุนคืนกำไร ให้แก่ผู้ลงทุนของกองทุนดังกล่าว ซึ่งนับจากวันที่จัดตั้งกองทุนมาถึง29/6/50 สามารถให้ผลตอบแทน 19.27% มากกว่าผลตอบแทนมาตรฐานจากดัชนีราคาหุ้นที่ 8.26% ทำให้ 2 กองทุนคือกองทุนเปิดรองข้าวทวีผล และกองทุนเปิดเคหุ้นทุน จ่ายเงินปันผลได้ 0.33บาทต่อหน่วย และ0.93 บาทต่อหน่วยตามลำดับ รวมแล้วจ่ายปันผลไป 11 ครั้งเป็นเงิน 13.40 บาทต่อหน่วยหรือประมาณ 226 ล้านบาท
จีอี ถือหุ้นแบงก์กรุงศรีฯเพิ่ม ดันยอดบัตรโต
รหัสข่าว 08500020: 16/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/บ้านเมือง/ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)/กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์
นายสุขดี จงมั่นคง กก.อำนวยการ บจก.บัตรกรุงศรีอยุธยา เผยว่า จากการที่กลุ่มจีอีเข้ามาถือหุ้นเพิ่ม ทำให้สามารถทำตลาดได้มากกว่าเดิมเท่าตัว โดย 6 เดือนแรกยอดการใช้จ่ายบัตรเติบโต 10% ยอดอนุมัติบัตรดีขึ้นเพราะได้รับลูกค้าผ่านธนาคารกรุงศรีฯ ส่งผลให้ยอดการอนุมัติเพิ่มเป็น 60% คาดสิ้นปีน่าจะทำได้ถึง 800,000 บัตร เติบโตเกือบ 20% ส่วนยอดสินเชื่อคงค้างนั้นไม่เพิ่มมาก เป็นผลจากเกณฑ์การชำระขั้นต่ำจาก 5% เป็น 10%
ตลท.เร่งบจ.ใหม่ขายไอพีโอ ช่วงหุ้นร้อน
รหัสข่าว 08410005: 16/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/มติชน/ทันหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/กระแสหุ้น/สยามรัฐ/ไทยโพสต์/ Bangkok Post
นางภัทรียา เบญจพลชัย กก.และผจก.ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เผยถึง ปัจจุบันมาร์เก็ตแคปเพิ่ม ขึ้นเป็น 6.62 ลบ.เนื่องจากราคาหุ้นที่เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ต้องการคือให้บจ.ใหม่เข้ามาระดมทุน มากกว่าการเพิ่มขึ้นจากราคาหลักทรัพย์เพียงอย่างเดียว ซึ่งจะไม่ส่งต่อทุนไปยังภาคผลิตที่แท้จริง ซึ่งตลท.ตั้งเป้าบจ.ปีนี้ 60 บริษัท แต่ครึ่งปีแรกมีเพียง 3 บริษัทเท่านั้น คิดเป็นมูลค่า 9.7 หมื่นล้านบาท คาด 3 ปีมาร์เก็ตแคปขยายตัวเท่าจีดีพี
เศรษฐกิจทรุดยอดเช็คเด้งทะลัก
รหัสข่าว 08100091: 16/07/50: โพสต์ทูเดย์/มติชน
ฝ่ายระบบการชำระเงิน ธปท. รายงานว่า ปริมาณการใช้เช็คทั่วประเทศในไตรมาส 2/50 มีทั้งสิ้น 20.19 ล้านฉบับ ลดลง 0.9% แต่มูลค่าการสั่งจ่ายเพิ่มขึ้น 6.7% คิดเป็นมูลค่า 8.08 ล้านล้านบาท สำหรับเช็คตีคืนมีจำนวนทั้งสิ้น 3.35 แสนฉบับ คิดเป็นมูลค่า 2.25 หมื่นล้านบาท ลดลง 0.3% เช็คเด้งจากภูมิภาคมูลค่าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดย รวมปริมาณและมูลค่าสัดส่วนไม่ได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
พาณิชย์ชี้ทางรอดผู้ส่งออก
รหัสข่าว 10330004:16/07/50: ไทยโพสต์/ผู้จัดการรายวัน/กรุงเทพธุรกิจ
นายราเชนทร์ พจนสุนทร อธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก เผยว่า ตัวเลขการส่งออกช่วง 5 เดือนแรก ในปี 50 มูลค่า 5.87 หมื่นล้านดอลลาร์ ขยายตัว 18.8% และทั้งปีจะเป็นไปตามเป้าหมายมูลค่า 1.45 แสนล้านดอลลาร์ ขยายตัว 12.5% โดยในช่วง 7 เดือนที่เหลืออยู่ต้องส่งออกเฉลี่ยเดือนละ 1.2 หมื่นล้านดอลลาร์ นอกจากนี้กรมฯได้แนะนำแนวทางการปรับตัวให้ผู้ส่งออกดำเนินธุรกิจในช่วงเงินบาทแข็งเช่น ทำประกันอัตราแลกเปลี่ยน เสนอขาย
สินค้าหลายสกุลเงิน ในหลากหลายตลาด ต้องให้ความสำคัญกับการสร้างแบรนด์อย่างจริงจัง เป็นต้น ทั้งนี้ยังได้สนับสนุนข้อมูลเชิงลึกและให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการไทยไปทำธุรกิจในตปท.ได้
บล.เคจีไอ อันดับหนึ่งอนุพันธ์
รหัสข่าว 08220004:16/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/ทันหุ้น/ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)
นายธนวัฒน์ พาณิชเกษม ผช.กก.ผจก.ฝ่ายธุรกิจตัวแทนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า บล.เคจีไอ กล่าวว่า ตลาดอนุพันธ์ได้รับผลดีจากที่ต่างชาติเข้ามาลงทุนในตลท.มาก เนื่องจากลงทุนไม่ทันจึงเข้ามาใน TFEX ก่อนแล้วค่อยลงทุนในหุ้นในวันรุ่งขึ้น จึงทำให้สัดส่วนเพิ่มเป็น 30% จากเดิมไม่เกิน 10% ซึ่งปัจจุบันมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ย 6,000 สัญญาต่อวัน โดยมีแผนขยายนักลงทุนเพิ่มด้วยการเดินทางไปพบลูกค้าในย่านเอเชีย เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และออสเตรเลีย ส่วนอันดับส่วนแบ่งการตลาดอนุพันธ์เป็นดังนี้ คือ บล.เคจีไอ อันดับ 1 ด้วยมูลค่า 68,351.90 ลบ.16.11% ตามด้วยบล.ทรีนิตี้ โพลาริส ฟิวเจอร์ส 51,905 ลบ. 12.23% และกิมเอ็ง 41,533.50 ลบ.9.79% เป็นต้น
กกร.เสนอ 11 มาตรการรับมือบาทแข็ง
รหัสข่าว 08100093: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/แนวหน้า/โพสต์ทูเดย์/ข่าวหุ้น/ข่าวสด/พิมพ์ไทย/เดลินิวส์/ไทยโพสต์/บ้านเมือง/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/มติชน/ไทยรัฐ/กระแสหุ้น/The Nation/Bangkok Post/โลกวันนี้
จากการประชุมร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เพื่อรับมือกับการแข็งค่าของเงินบาท นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ปธ.สมาคมธนาคารไทย เผยว่า ได้เสนอมาตรการระยะสั้น เช่น ให้ผู้นำเข้าและส่งออกสามารถถือครองเงินตราต่างประเทศที่มากกว่า 2 แสนดอลลาร์แบบไม่มีกำหนดระยะเวลา ให้ก.การคลังคืนเงินผู้ส่งออกเร็วขึ้น ตั้งกองทุนช่วยเหลือเงินทุนผู้ประกอบการที่ประสบปัญหา เป็นต้น ส่วนมาตรการระยะกลางถึงยาว เช่น ตั้งกองทุนบริหารค่าเงินบาท ส่งเสริมให้คนไทยไปลงทุนในต่างประเทศมากขี้น และเร่งรัดการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ เป็นต้น ส่วนผู้ว่าแบงก์ชาติ กล่าวว่าจะนำเสนอการแก้ไขต่อรมว.คลังเป็นแพกเกจภายใน 1-2 วันนี้ ส่วนนายกรัฐมนตรีให้จับตาดูเฮดจ์ฟันด์ ห่วงการเก็งกำไร ในขณะที่สอท.คาดQ4 ค่าบาทอยู่ที่32-33 บาทต่อดอลลาร์
เกียรตินาคิน ขยายตลาดรถยนต์
รหัสข่าว 08100094: 17/07/50: ไทยรัฐ/กระแสหุ้น
นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล กก.ผจก.ใหญ่ ธ.เกียรตินาคิน เผยว่า ได้เปิดศูนย์ประมูลรถยนต์ Kiatnakin Car Center บนถ.บางนา-ตราด กม.8 มีจัดกิจกรรมประมูลรถยนต์มือสองเป็นประจำเดือนละ 2-3 ครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งประมูลได้กว่า 85%ของรถที่นำเข้าประมูล ดังนั้นในช่วงครึ่งปีหลังได้วางแผนกลยุทธ์การจัดกิจกรรมรวมทั้งการพัฒนาระบบเทคโนโลยีมาช่วยในการบริหาร จัดการ ซึ่งขณะนี้เตรียมนำร่องประมูลรถคุณภาพ สภาพไม่เกิน 5 ปีมาประมูลทุกสัปดาห์ให้ชมรถได้ทุกวันเสาร์-พฤหัสบดี ยื่นซองวันศุกร์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังเตรียมระบบการอนุมัติสินเชื่อด่วนภายใน 30 นาทีมาให้บริการด้วย
กบข.เน้นกระจายลงทุนทั่วโลก
รหัสข่าว 08200003: 17/07/50: กระแสหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/ข่าวหุ้น
นายวิสิฐ ตันติสุนทร เลขาธิการคณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เผยว่า ได้เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในตปท.อีกจำนวน 160 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 5,500 ล้านบาท ผ่านกองทุน GPF (Thailand) Investment Fund เน้นกระจายลงทุนหุ้นทั่วโลก ทำให้พอร์ตการลงทุนของกบข.เพิ่มขึ้นเป็น 12.8% จากเพดานการลงทุนทั้งหมด 15% แบ่งเป็นการลงทุนในตราสารทุน 18,700 ลบ.และในตราสารหนี้ 19,700 ลบ.ทั้งนี้ในช่วงปลายปี 50 จะขอก.คลังเพิ่มเพดานการลงทุนเป็น 20-25% ซึ่งมีแผนลงทุนในกองทุนอสังหาฯ ด้วย
รายได้รัฐสูงแต่ขาดดุลเงินสด
รหัสข่าว 08600005: 17/07/50: กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/แนวหน้า/The Nation
ดร.สมชัย สัจจพงษ์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สศค. เผยถึงฐานะการคลังของรัฐบาล ในเดือนมิ.ย.50 ว่า รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลังรวม 249,972 ลบ.ส่งผลให้ดุลงบประมาณเกินดุล 85,591 ลบ. โดยรายได้ที่เก็บเพิ่มมาก เช่น ภาษีเงินได้ปิโตรเลี่ยม เครื่องดื่ม และภาษียาสูบ เป็นต้น สำหรับรายได้ 9 เดือนแรกของปี 50 มีรายได้นำส่งคลังทั้งสิ้น 1,050,754 ลบ.สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.9% แต่รายจ่ายรัฐบาลมีจำนวนทั้งสิ้น 1,154,744 ลบ. สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 12.7% ทำให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 103,990 ลบ.รวมกับขาดดุลนอกงบประมาณอีก 85,712 ลบ.ทำให้ 9 เดือนปี 50 ขาดดุลเงินสดทั้งสิ้น 189,702 ลบ. ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
กองทุนไอเอ็นจีผลตอบแทนพุ่ง
รหัสข่าว 08240017: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/โลกวันนี้/ข่าวหุ้น/กระแสหุ้น
นายชุมพล สายมาลา ผช.กก.ผจก.ฝ่ายการตลาด กองทุนรวมบลจ.ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) เผยว่า การที่เม็ดเงินลงทุนต่างชาติไหลเข้ามาในตลาดหุ้นไทยอย่างต่อเนื่อง ทำให้เอ็นเอวี ของกองทุนรวมหุ้นทุนของไอเอ็นจีปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย โดยในรอบครึ่งปีสร้างผลตอบแทนเกือบ 20% สูงกว่าดัชนีตลาด 14% ซึ่งตัวเลขผลตอบ แทนกองทุนเปิดไอเอ็นจี ไทยอิควิตี้ฟันด์ อยู่ที่ 23.74% ในรอบ 1 ปี เทียบกับ SET ในช่วงเดียวกันอยู่ที่ 14.55%
ทหารไทยออกกองทุนตราสาร 6M2
รหัสข่าว 08100096: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/ข่าวหุ้น/ผู้จัดการรายวัน
นางโชติกา สวนานนท์ กก.ผจก.บลจ.ทหารไทย เผยว่า บริษัทได้เปิดขายกองทุนเปิดทหารไทยพรีเมียร์ 6M2 เป็นกองทุนตราสารหนี้ระยะสั้น อายุประมาณ 6 เดือน มูลค่าโครงการ 2,000 ล้านบาท ซึ่งจองซื้อขั้นต่ำที่ 2,000 บาท โดยจะเปิดขายถึงวันที่ 24 ก.ค.นี้ เน้นลงทุนในตราสารหนี้เสนอขายในตปท.ภายหลังจากประสบผล สำเร็จจากการขายกองทุนเปิดทหารไทยพรีเมียร์ 6M1 สามารถระดมเงินได้เต็มมูลค่าโครงการ จำนวน 5,600 ลบ.
พรีมาเวสท์ทะลุเป้าโตกว่า 60%
รหัสข่าว 08220005: 18/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/Bangkok Post/ทันหุ้น16/07/50: โพสต์ทูเดย์
นายเพิ่มพล ประเสริฐล้ำ กก.ผจก.บล.พรีมาเวสท์ กล่าวว่า ช่วง 6 เดือนของปี สินทรัพย์ภายใต้การบริหารของบริษัทเพิ่มขึ้นประมาณ 3.25 หมื่นลบ. เติบโต 63.36% เพระตลาดหุ้นในขณะนั้นยังไม่ร้อนแรงและนักลงทุนไม่อยากเสี่ยงประกอบกับดอกเบี้ยเงินฝากต่ำ ทำให้กองทุนตราสารหนี้มีเงินไหลเข้ามามากเพราะผลตอบ แทนสูงกว่า ในครึ่งปีหลังมีแผนออกกองทุนเพื่อไปลงทุนต่างประเทศ (FIF) เป็นหลัก และบริษัทเตรียมเปิดตัวกองทุนเปิดพรีมาเวสท์ (ไทยแลนด์) โกลบอลไฮเพลย์เอาต์ ฟันด์ เน้นลงทุนในยุโรป ซึ่งต่อไปจะออกกองทุน FIF
กลต.หนุนต่างชาติออกบาทบอนด์
รหัสข่าว 08420002: 18/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/ทันหุ้น/มติชน/กระแสหุ้น/โลกวันนี้/สยามรัฐ
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาธิการ ก.ล.ต.เผยว่า ได้มีการเสนอแนวทางในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย โดยการให้บริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางออกตราสารหนี้ที่ไม่มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือและให้กองทุนเข้ามาจัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อเสนอขายแก่นักลงทุนรายย่อย ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการดูรายละเอียดและทำประชาพิจารณ์ นอกจากนี้ยังได้มีการเสนอต่อก.คลัง ให้บริษัทต่างชาติเข้ามาระดมทุนโดยการออกตราสารสกุลเงินบาท (Bath Bond) ได้ เพื่อนำเงินที่ได้มาลงทุนในไทย ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ยในประเทศด้วย
ปิดสัมพันธ์ประกันภัยชั่วคราว
รหัสข่าว 08320006: 18/07/50: คมชัดลึก/ข่าวหุ้น/บ้านเมือง/ข่าวสด/กรุงเทพธุรกิจ/ไทยโพสต์/กระแสหุ้น
นางจันทรา บูรณฤกษ์ อธิบดีกรมการประกันภัย เผยว่า กรมฯในฐานะนายทะเบียน ได้มีคำสั่งให้
บจก.สัมพันธ์ประกันภัย หยุดรับประกันเป็นการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 16 ก.ค.ที่ผ่านมา ตามมาตรา 52 พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 จนกว่าจะแก้ไขฐานะการเงินได้ ทั้งนี้เนื่องจากขาดเงินกองทุนจำนวน 777.4 ล้านบาทซึ่งไม่ครบตามกฎหมายกำหนด โดยมีสินทรัพย์ 1,938 ลบ.น้อยกว่าหนี้สินที่มีกว่าพันล้านบาท รวมถึงการค้างจ่ายสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันมูลค่ากว่า 100 ล้านบาท ทำให้สภาพคล่องที่จะทำกิจการเหลือเพียง 22.9% เท่านั้น
หนีดอกต่ำแห่ซื้อสลากชิงโชค
รหัสข่าว 08100098: 18/07/50: ไทยโพสต์/มติชน
ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานว่า ไตรมาสแรกของปีนี้ภาคครัวเรือนมียอดเงินฝากในสถาบันการเงินทั้งสิ้น 6,077,067 ลบ.เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันของปีก่อน 351,856 ลบ.หรือ 6.14% และเพิ่มขึ้น 1.76% เมื่อเทียบกับไตรมาส 4 ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากในรูปสลากออมสิน เงินฝากสงเคราะห์ชีวิต 251,480 ลบ.เพิ่มขึ้น 75,121 ลบ.หรือ 42.59% ส่วนหนึ่งเป็นการหนี้ผลตอบแทนจากดอกเบี้ยที่ต่ำ ไปหวังผลการถูกรางวัลสลากแทน
กนง.ลดดอกนโยบาย 0.25%
รหัสข่าว 08100099: 19/07/50: ผู้จัดการรายวัน/มติชน/ไทยรัฐ/ข่าวหุ้น/กระแสหุ้น/โลกวันนี้/โพสต์ทูเดย์/บ้านเมือง/เดลินิวส์/คมชัดลึก/ข่าวสด
นางสุชาดา กิระกุล ผช.ผู้ว่าการสายนโยบายการเงิน ธปท. เผยว่า ที่ประชุมกนง.วันที่ 18 ก.ค.มีมติให้ลดอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์พี) ระยะ 1 วันหรือดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% จากร้อยละ 3.5 ต่อปีเหลือร้อยละ 3.25 ต่อปี เพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ โดยไม่สร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อ ขณะที่ในไตรมาสแรกเศรษฐกิจชะลอตัวกว่าที่คาด ซึ่งการลดดอดเบี้ยครั้งนี้จะส่งผลทางอ้อมช่วยชะลอการแข็งค่าของเงินบาทด้วย เพราะจะทำให้เอกชนกู้เงินในประเทศมากขึ้น ขณะที่ธนาคารน่าจะปล่อยสินเชื่อได้มากขึ้นเพราะผลตอบแทนดีกว่าในตลาดอาร์พี ส่วนที่กนง.ไม่ลดดอกมากกว่านี้ เพราะตั้งแต่ต้นปีลดมาแล้ว 4 ครั้ง หากลดแรงๆ ภาคเศรษฐกิจจะปรับตัวยาก
ลดดอก แห่ชำระหนี้นอกแสนล.-หุ้นรูด
รหัสข่าว 08600006: 19/07/50: โพสต์ทูเดย์/แนวหน้า/ผู้จัดการรายวัน/มติชน/กระแสหุ้น/เดลินิวส์/มติชน/พิมพ์ไทย/บ้านเมือง/แนวหน้า
นายสมหมาย ภาษี รมช.การคลัง กล่าวว่า กระทรวงและสำนักบริหารหนี้สาธารณะ จะเร่งให้หน่วยงานภาครัฐปรับโครงสร้างหนี้และการกู้เงินตราต่างประเทศ รวมถึงเร่งการชำระหนี้เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยคืนในครึ่งปีหลัง 3,183 ล้านเหรียญ หรือ 1.05 แสนล้านบาท ให้แล้วเสร็จอย่างน้อย 80% ของวงเงินภายในช่วง 4 เดือนนับจากนี้ โดยเงินกู้ที่จะดำเนินการ เช่นโครงการรฟม. 1,274 ล้านเหรียญ เงินกู้สนามบินสุวรรณภูมิ 564 ล้านเหรียญ เป็นต้น ทั้งนี้ตั้งแต่ต้นปีได้มีการคืนหนี้ไปแล้ว 2,032 ล้านเหรียญสหรัฐ ในขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ลดลง 7.35 จุด หรือ 0.86% จากการขายทำกำไรหลังรับข่าวการลดดอกเบี้ย และคาดผลการดำเนินไม่ดีของหุ้นกลุ่มแบงก์ด้วย
หลอกซื้อขายเงินผ่านเน็ต "Swiss Cash"รหัสข่าว 08420003: 19/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/มติชน/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/แนวหน้า/ไทยโพสต์/กระแสหุ้น18/07/50: โพสทูเดย์/สยามรัฐ/กระแสหุ้น/คมชัดลึก/ไทยโพสต์/บ้านเมือง/เดลินิวส์/แนวหน้า/มติชน
ก.ล.ต.เผยว่าได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้ลงทุนและรับการประสานจากกองปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรณีเว็บไซต์ www.thaiswisscash.com ทำการโฆษณาเชิญชวนให้เข้ามาร่วมลงทุนโดยเสนอผลตอบแทนในอัตราสูง ก.ล.ต.ได้ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นความผิดตาม ม. 90 ตามพ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เป็นการดำเนินการเข้าข่ายการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
ประเภทการจัดการกองทุนรวม โดยไม่ได้รับอนุญาต พร้อมนี้ได้มีคำเตือนจากธปท.ให้ระวังอย่าหลงทำธุรกรรมซื้อขายเงินตราผ่านอินเทอร์เน็ต นอกจากจะเสี่ยงสูงแล้วยังผิดกม.พ.ร.บ.ควบคุมแลกเปลี่ยนเงินตรา 2485 ด้วย
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178077
บจ.ฟันธงจีดีพีไทยโตแค่3.9%
อสังหาฯ-ก่อสร้างส่อลดการลงทุน
ประมวลข่าวความเคลื่อนไหว
ธุรกิจตลาดเงิน-ตลาดทุน ระหว่างวันที่ 13-19 ก.ค.2550
ตลท.กับสมาคมบจ.ร่วมกันสำรวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงบจ. เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจ โครงการ Quarterly Thailand Economic Outlook Survey พบว่า ร้อยละ 60 เห็นว่าเศรษฐกิจไทยในปี 50 จะขยายตัวกว่าร้อยละ 3.5-3.9% และปี 51 จะขยายตัว 4.0-4.4% ส่วนผลสำรวจในเรื่องการเพิ่มการลงทุนในอีก 12 เดือนข้างหน้าร้อยละ 67 จะขยายการลงทุนเพิ่ม และอีก 30% จะรักษาระดับการลงทุนใกล้เคียงกับปี 50 ส่วน 6% จะลดการลงทุนซึ่งเป็นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง ประเด็นที่น่าสนใจคือ แนวโน้มจะมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นอีก 10% และอุปสรรคสำคัญในการทำธุรกิจร้อยละ 45% เห็นว่าเป็นเรื่องความความยากลำบากในการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน
น่าเสียดายที่การสำรวจนี้ทำก่อนหน้าที่จะมีภาวะการแข็งค่าของเงินบาท จึงไม่มีมุมมองที่น่าสนใจในประเด็นนี้ แต่ยังมีเรื่องที่น่ายินดี คือมีถึงร้อยละ 32 ให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณเพื่อทำกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) ผู้บริหารบางรายที่ได้กำไรจากการขายหุ้นของบริษัทตัวเองช่วงหุ้น ฮอตๆ น่าจะจัดสรรงบให้สังคมมากๆ หน่อยเขาจะได้ไม่นินทาเอา
แบงก์ไทยจ่ายดอกเพิ่ม เงินฝากลูกค้าวัยทำงาน
รหัสข่าว 08100079: 13/07/50: มติชน/กระแสหุ้น/กรุงเทพธุรกิจหุ้น
นายสุรชัย จิตตรัตน์เสนีย์ รองกก.ผจก.ใหญ่ สายธุรกิจรายย่อย ธ.ไทยธนาคาร เผยว่า ได้ออกผลิตภัณฑ์เงินฝากออมทรัพย์รูปแบบใหม่ Working Professional เป็นโครงการที่มุ่งเน้นลูกค้าที่อยู่ในวัยทำงานอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยจะได้รับดอกเบี้ยพิเศษบวกกับดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์อีก 0.25% เมื่อเปิดบัญชีใหม่ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป และจะได้รับความคุ้มครองการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลฟรีในวงเงินสูงถึง 50,000 บาท จาก
บจก.บีทีประกันภัยเป็นเวลา 6 เดือน ถ้าเปิดบัญชีไม่เกินวันที่ 30 ก.ย.50
แบงก์กรุงเทพขายพันธบัตรรัฐ
รหัสข่าว 08600003: 13/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผอ.สนง.บริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผยว่า ได้ให้ธ.กรุงเทพ จำหน่ายพันธ บัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 50 ครั้งที่ 10 รุ่นอายุ 3 ปี วงเงิน 500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 3.90% ต่อปี ซึ่งธปท.เป็นนายทะเบียนวงเงินรวม 6 พันลบ. เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชนออม นอกเหนือจากการฝากเงินกับสถาบันการเงิน รวมถึงเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ของรัฐให้มีความหลากหลาย ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้อีกทางหนึ่ง โดยมีแผนออกพันธบัตรดังกล่าวต่อเนื่องไปถึงปีงบประมาณ 2551
KK ขยายพอร์ตเงินฝาก
รหัสข่าว 08100080: 13/07/50: กระแสหุ้น/ผู้จัดการรายวัน
น.ส.ฐิตินันท์ วัธนเวคิน ปธ.สายบริหารการเงินและเงินฝาก ธ.เกียรตินาคิน เผยว่า ธนาคารได้ปรับดอกเบี้ยเงินฝากประจำสำหรับบุคคลธรรมดา ตั้งแต่ 5 แสนบาทขึ้นไปเป็น 6,9,12,18 และ 24 เดือน เริ่มตั้งแต่2.5-3.625% ส่วนตั๋วบี/อี นั้น รับวงเงินฝากตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป อายุ 6-24 เดือน โดยอัตราดอกเบี้ย เริ่มตั้งแต่ 2.75-4.25% นอกจากนี้ได้นำเสนอผลิตภัณฑ์เงินฝากใหม่ ได้แก่ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ KK Savings Plus และKK Investor Savings เงินฝากออมทรัพย์เพื่อนักลงทุน เป้าหมายปี 50 คาดระดมเงินฝากได้เพิ่มขึ้น 30%
ตลท.ถกส.อ.ท.-แบงก์ช่วยผู้ส่งออก
รหัสข่าว 08410004: 14/07/50: มติชน/โพสต์ทูเดย์/ไทยโพสต์/ไทยรัฐ/สยามรัฐ
นายวิเชษฐ ตันติวานิช รองผจก.ตลท.เผยว่า เตรียมหารือกับสอท.-ธนาคารพาณิชย์เพื่อหาทางช่วยผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ส่วนบจ.ในตลาดหลักทรัพย์ฯ มีอยู่ไม่มากที่มีรายได้เป็นเงินดอลลาร์แต่มีต้นทุนเป็นเงินบาท พร้อมยันว่าเงินที่ไหลเข้ามาในตลาดหุ้นเป็นกองทุนระยะยาว และเห็นว่าธปท.ควรยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% แล้วค่อยเก็บภาษีกำไรจากเงินลงทุนเมื่อนำออกนอก ขณะที่ผู้ว่าธปท.เตรียมออกมาตรการผ่อนปรนเงินลงทุนนอกประเทศเป็นแพ็กเกจ ส่วนเงินสำรองระหว่างประเทศ ณ 6 ก.ค.ที่มี 7.2 หมื่นล้านดอลลาร์ ลดลงจากสัปดาห์ก่อน 900 ล้านดอลลาร์ แสดงว่าไม่ได้เข้าไปซื้อดอลลาร์เพื่อดูแลค่าเงินแต่อย่างใด
เมืองไทยประกันกล้าแตกต่างด้วยความสุข
รหัสข่าว 08310007: 15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
สาระ ล่ำซำ กก.ผจก.เมืองไทยประกันชีวิต หลังเปลี่ยนสีแบรนด์จากน้ำเงินเป็นสีชมพูบานเย็น เพราะเป็นสีของ Morning Sunshine ซึ่งเชื่อมโยงไปกับธีม "ความสุข" ตอกย้ำด้วยรอยยิ้มซึ่งความหมาย คือ ความ สุขจากความมั่นคงที่ได้ประกันชีวิตกับบริษัท อาศัยการสื่อสารไปยังลูกค้าด้วยความถี่ แนวคิดเดิมคือผ่านสื่อโฆษณาทีวีละครหลังข่าว แต่เสียงบประมาณมาก จึงเปลี่ยนเป็นการสร้างแบรนด์ผ่านป้ายเหนือถังขยะรอบกทม. โดยใช้คำเพียง "ทิ้งความเสี่ยงไว้กับเรา" และ "บริษัทคนหัวคิดทันสมัย" พร้อมเบอร์ 1766 ย่อมทำให้คนจดจำได้เช่นกัน ได้ทั้งความถี่และคุ้มราคา นอกจากนี้ยังมีแร็พแบรนด์กับเครื่องบินและรถเข็นในห้างฯ อีกด้วย
เอ็มเอฟซี ลุยขาย FIF รหัสข่าว 08200002: 15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
ดร.พิชิต อัคราทิตย์ กก.ผจก.บลจ.เอ็มเอฟซี เผยว่า ระหว่างวันที่ 13-19 ก.ค.50 จะเปิดขายกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ภายใต้ชื่อ กองทุนเปิดเอ็มเอฟซี อินเตอร์เนชั่นแนล ซีเล็ค ฟันด์ ลงทุนขั้นต่ำ 10,000 บาท มูลค่าโครงการ 1,200 ล้านบาท จะรับซื้อหน่วยลงทุนคืนอัตโนมัติเมื่อครบ 3 ปี ไม่จ่ายเงินปันผล เน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่ออกโดยสถาบันการเงินต่างประเทศ ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถืออยู่ในอันดับ 3 แรก ซึ่งมีจุดเด่นคือกระจายความเสี่ยงโดยลงทุนอ้างอิงกลุ่มดัชนี CROCI Index กับผลตอบแทนใน 3 กลุ่มประเทศ คือยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น
คลังผนึกธปท.รับมือบาทแข็ง
รหัสข่าว 08600004: 16/07/50: ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)14/07/50: สยามธุรกิจ13/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/สยามรัฐ/กระแสหุ้น/ไทยรัฐ/บ้านเมือง/ข่าวหุ้น/คมชัดลึก/โลกวันนี้/แนวหน้า/โพสต์ทูเดย์
ดร.ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.กระทรวงการคลัง แถลงร่วมกับ ดร.ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าธปท.ถึงสถานการณ์เงินทุนไหลเข้า ส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งนั้น สองหน่วยงานสามารถรับมือได้ด้วยเครื่องมือที่มีอยู่ โดยจะไม่มีมาตรการอะไรออกมาช็อกตลาด ส่วนทางธปท.จะเร่งแผนผ่อนผันการลงทุนในต่างประเทศ ถ้าลงทุนโดยตรงจะไม่จำกัดวงเงินหรือถ้าลงทุนในตลาดหุ้นในต่างประเทศจะขยายวงเงินเพิ่มขึ้น และในสัปดาห์หน้าธปท. จะทบทวนตัวเลขจีดีพีใหม่ เพื่อดูว่าที่เงินบาทแข็งค่าขึ้นจะมีผลต่อการเติบโตหรือไม่ ซึ่งประเมินไว้ที่ 3.8-4.8%
มาสเตอร์แพลน 2 แบงก์ล้มได้
รหัสข่าว 08100078: 16/07/50: ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)13/07/50: กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/โลกวันนี้/ไทยรัฐ/แนวหน้า/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ข่าวสด/มติชน
นายไพบูลย์ กิตติศรีกังวาน ผอ.อาวุโส ฝ่ายกลยุทธ์สถาบันการเงิน สายนโยบายสถาบันการเงิน ธปท. กล่าวว่า คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน เห็นชอบจัดทำแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ซึ่งจะเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2552-2557 สำหรับแผนดังกล่าวจะเปิดให้มีการแข่งขันจากผู้ให้บริการรายใหม่ ทั้งไทยและต่างชาติ โดยเป็นผู้ให้บริการทางการเงินอื่นที่ไม่ใช่ธนาคารก็ได้ ธปท.จะเริ่มเปิดเสรีทางการเงินมากขึ้น จะให้ธนาคาร
พาณิชย์ให้บริการเพิ่มเติมได้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตลาดทุน หากรายใดไม่สามารถแข่งได้ต้องออกจากระบบไปกลต.เสนอธปท.ลงทุนนอก
รหัสข่าว 08420001: 16/07/50: โพสต์ทูเดย์13/07/50: โพสต์ทูเดย์/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/Bangkok Post
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาฯ กลต.เผยว่า จะเสนอกับธปท.เปิดทางให้บุคคลที่มีเงินทุนเพียงพอนำเงินออกไปลงทุนในต่างประเทศ โดยกำหนดวงเงินรายละ 1 ล้านเหรียญสหรัฐ และในปีถัดไปอาจเพิ่มวงเงินขึ้น หรือถ้าอนุญาตแล้วไม่มีการออกไปคราวหน้าจะถูกตัดสิทธิ นอกจากนี้อาจลงทุนผ่านบลจ. ประเภทกองทุนส่วนบุคคล เพื่อแก้ปัญหาค่าเงินบาทแข็งได้ในระดับหนึ่ง ก่อนหน้านี้เคยเสนอแล้วแต่ธปท.อนุญาตเฉพาะบล.ส่วนสมาคมบลจ.จะเสนอ นักลงทุนสถาบัน มูลนิธิแสะสหกรณ์วงเงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐ
ชาตรีเสริมจุดแข็งสาขาตปท.รหัสข่าว 08100089: 16/07/50 : The Nation/Bangkok Post/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/คมชัดลึก15/07/50: ฐานเศรษฐกิจราย 3 วัน
นายชาตรี โสภณพนิช ปธ.กก.ธ.กรุงเทพ เผยว่า มุ่งขยายตลาดสินเชื่อไปในต่างประเทศ เพื่มขึ้นเป็น 12% จากเดิม 7% โดยเน้นในสิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกง และจีน ปัญหาที่เป็นอยู่ในปัจจุบันคือการผลิตผู้จัดการสาขาในต่างประเทศช้ามาก เนื่องจากมุ่งแก้ปัญหาในประเทศก่อน ในปีนี้มีแผนจะส่งบุคลากรระดับผู้ช่วยผู้จัดการไปศึกษาดูงานและไต่ลำดับตำแหน่งที่สูงขึ้นจำนวน 20 คน แล้วจะย้ายกลับมาเป็นผู้จัดการสาขาที่กรุงเทพฯ สำหรับงานในประเทศที่ผ่านมาทำได้ดี ทั้งด้านโครงสร้างและระบบงานภายใน ระยะต่อไปกก.ผจก.ใหญ่ จะไปเน้นงานด้านการประชาสัมพันธ์ และการเข้าถึงลูกค้ามากยิ่งขึ้น พร้อมพัฒนาระบบไอทีและบุคลากรควบคู่กันไป
บลจ.กสิกรจ่ายปันผล 226 ล้านรหัสข่าว 08240016: 16/07/50: กระแสหุ้น 13/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น
นางวิวรรณ ธาราหิรัญโชติ รองปธบ.บลจ.กสิกรไทย เผยว่าบริษัทได้ทำการซื้อคืนอัตโนมัติของกองทุนเปิดเคสตาร์หุ้นทุนคืนกำไร ให้แก่ผู้ลงทุนของกองทุนดังกล่าว ซึ่งนับจากวันที่จัดตั้งกองทุนมาถึง29/6/50 สามารถให้ผลตอบแทน 19.27% มากกว่าผลตอบแทนมาตรฐานจากดัชนีราคาหุ้นที่ 8.26% ทำให้ 2 กองทุนคือกองทุนเปิดรองข้าวทวีผล และกองทุนเปิดเคหุ้นทุน จ่ายเงินปันผลได้ 0.33บาทต่อหน่วย และ0.93 บาทต่อหน่วยตามลำดับ รวมแล้วจ่ายปันผลไป 11 ครั้งเป็นเงิน 13.40 บาทต่อหน่วยหรือประมาณ 226 ล้านบาท
จีอี ถือหุ้นแบงก์กรุงศรีฯเพิ่ม ดันยอดบัตรโต
รหัสข่าว 08500020: 16/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/บ้านเมือง/ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)/กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์
นายสุขดี จงมั่นคง กก.อำนวยการ บจก.บัตรกรุงศรีอยุธยา เผยว่า จากการที่กลุ่มจีอีเข้ามาถือหุ้นเพิ่ม ทำให้สามารถทำตลาดได้มากกว่าเดิมเท่าตัว โดย 6 เดือนแรกยอดการใช้จ่ายบัตรเติบโต 10% ยอดอนุมัติบัตรดีขึ้นเพราะได้รับลูกค้าผ่านธนาคารกรุงศรีฯ ส่งผลให้ยอดการอนุมัติเพิ่มเป็น 60% คาดสิ้นปีน่าจะทำได้ถึง 800,000 บัตร เติบโตเกือบ 20% ส่วนยอดสินเชื่อคงค้างนั้นไม่เพิ่มมาก เป็นผลจากเกณฑ์การชำระขั้นต่ำจาก 5% เป็น 10%
ตลท.เร่งบจ.ใหม่ขายไอพีโอ ช่วงหุ้นร้อน
รหัสข่าว 08410005: 16/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/มติชน/ทันหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/กระแสหุ้น/สยามรัฐ/ไทยโพสต์/ Bangkok Post
นางภัทรียา เบญจพลชัย กก.และผจก.ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เผยถึง ปัจจุบันมาร์เก็ตแคปเพิ่ม ขึ้นเป็น 6.62 ลบ.เนื่องจากราคาหุ้นที่เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ต้องการคือให้บจ.ใหม่เข้ามาระดมทุน มากกว่าการเพิ่มขึ้นจากราคาหลักทรัพย์เพียงอย่างเดียว ซึ่งจะไม่ส่งต่อทุนไปยังภาคผลิตที่แท้จริง ซึ่งตลท.ตั้งเป้าบจ.ปีนี้ 60 บริษัท แต่ครึ่งปีแรกมีเพียง 3 บริษัทเท่านั้น คิดเป็นมูลค่า 9.7 หมื่นล้านบาท คาด 3 ปีมาร์เก็ตแคปขยายตัวเท่าจีดีพี
เศรษฐกิจทรุดยอดเช็คเด้งทะลัก
รหัสข่าว 08100091: 16/07/50: โพสต์ทูเดย์/มติชน
ฝ่ายระบบการชำระเงิน ธปท. รายงานว่า ปริมาณการใช้เช็คทั่วประเทศในไตรมาส 2/50 มีทั้งสิ้น 20.19 ล้านฉบับ ลดลง 0.9% แต่มูลค่าการสั่งจ่ายเพิ่มขึ้น 6.7% คิดเป็นมูลค่า 8.08 ล้านล้านบาท สำหรับเช็คตีคืนมีจำนวนทั้งสิ้น 3.35 แสนฉบับ คิดเป็นมูลค่า 2.25 หมื่นล้านบาท ลดลง 0.3% เช็คเด้งจากภูมิภาคมูลค่าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดย รวมปริมาณและมูลค่าสัดส่วนไม่ได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
พาณิชย์ชี้ทางรอดผู้ส่งออก
รหัสข่าว 10330004:16/07/50: ไทยโพสต์/ผู้จัดการรายวัน/กรุงเทพธุรกิจ
นายราเชนทร์ พจนสุนทร อธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก เผยว่า ตัวเลขการส่งออกช่วง 5 เดือนแรก ในปี 50 มูลค่า 5.87 หมื่นล้านดอลลาร์ ขยายตัว 18.8% และทั้งปีจะเป็นไปตามเป้าหมายมูลค่า 1.45 แสนล้านดอลลาร์ ขยายตัว 12.5% โดยในช่วง 7 เดือนที่เหลืออยู่ต้องส่งออกเฉลี่ยเดือนละ 1.2 หมื่นล้านดอลลาร์ นอกจากนี้กรมฯได้แนะนำแนวทางการปรับตัวให้ผู้ส่งออกดำเนินธุรกิจในช่วงเงินบาทแข็งเช่น ทำประกันอัตราแลกเปลี่ยน เสนอขาย
สินค้าหลายสกุลเงิน ในหลากหลายตลาด ต้องให้ความสำคัญกับการสร้างแบรนด์อย่างจริงจัง เป็นต้น ทั้งนี้ยังได้สนับสนุนข้อมูลเชิงลึกและให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการไทยไปทำธุรกิจในตปท.ได้
บล.เคจีไอ อันดับหนึ่งอนุพันธ์
รหัสข่าว 08220004:16/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/ทันหุ้น/ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน)
นายธนวัฒน์ พาณิชเกษม ผช.กก.ผจก.ฝ่ายธุรกิจตัวแทนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า บล.เคจีไอ กล่าวว่า ตลาดอนุพันธ์ได้รับผลดีจากที่ต่างชาติเข้ามาลงทุนในตลท.มาก เนื่องจากลงทุนไม่ทันจึงเข้ามาใน TFEX ก่อนแล้วค่อยลงทุนในหุ้นในวันรุ่งขึ้น จึงทำให้สัดส่วนเพิ่มเป็น 30% จากเดิมไม่เกิน 10% ซึ่งปัจจุบันมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ย 6,000 สัญญาต่อวัน โดยมีแผนขยายนักลงทุนเพิ่มด้วยการเดินทางไปพบลูกค้าในย่านเอเชีย เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และออสเตรเลีย ส่วนอันดับส่วนแบ่งการตลาดอนุพันธ์เป็นดังนี้ คือ บล.เคจีไอ อันดับ 1 ด้วยมูลค่า 68,351.90 ลบ.16.11% ตามด้วยบล.ทรีนิตี้ โพลาริส ฟิวเจอร์ส 51,905 ลบ. 12.23% และกิมเอ็ง 41,533.50 ลบ.9.79% เป็นต้น
กกร.เสนอ 11 มาตรการรับมือบาทแข็ง
รหัสข่าว 08100093: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/แนวหน้า/โพสต์ทูเดย์/ข่าวหุ้น/ข่าวสด/พิมพ์ไทย/เดลินิวส์/ไทยโพสต์/บ้านเมือง/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/มติชน/ไทยรัฐ/กระแสหุ้น/The Nation/Bangkok Post/โลกวันนี้
จากการประชุมร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เพื่อรับมือกับการแข็งค่าของเงินบาท นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ปธ.สมาคมธนาคารไทย เผยว่า ได้เสนอมาตรการระยะสั้น เช่น ให้ผู้นำเข้าและส่งออกสามารถถือครองเงินตราต่างประเทศที่มากกว่า 2 แสนดอลลาร์แบบไม่มีกำหนดระยะเวลา ให้ก.การคลังคืนเงินผู้ส่งออกเร็วขึ้น ตั้งกองทุนช่วยเหลือเงินทุนผู้ประกอบการที่ประสบปัญหา เป็นต้น ส่วนมาตรการระยะกลางถึงยาว เช่น ตั้งกองทุนบริหารค่าเงินบาท ส่งเสริมให้คนไทยไปลงทุนในต่างประเทศมากขี้น และเร่งรัดการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ เป็นต้น ส่วนผู้ว่าแบงก์ชาติ กล่าวว่าจะนำเสนอการแก้ไขต่อรมว.คลังเป็นแพกเกจภายใน 1-2 วันนี้ ส่วนนายกรัฐมนตรีให้จับตาดูเฮดจ์ฟันด์ ห่วงการเก็งกำไร ในขณะที่สอท.คาดQ4 ค่าบาทอยู่ที่32-33 บาทต่อดอลลาร์
เกียรตินาคิน ขยายตลาดรถยนต์
รหัสข่าว 08100094: 17/07/50: ไทยรัฐ/กระแสหุ้น
นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล กก.ผจก.ใหญ่ ธ.เกียรตินาคิน เผยว่า ได้เปิดศูนย์ประมูลรถยนต์ Kiatnakin Car Center บนถ.บางนา-ตราด กม.8 มีจัดกิจกรรมประมูลรถยนต์มือสองเป็นประจำเดือนละ 2-3 ครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งประมูลได้กว่า 85%ของรถที่นำเข้าประมูล ดังนั้นในช่วงครึ่งปีหลังได้วางแผนกลยุทธ์การจัดกิจกรรมรวมทั้งการพัฒนาระบบเทคโนโลยีมาช่วยในการบริหาร จัดการ ซึ่งขณะนี้เตรียมนำร่องประมูลรถคุณภาพ สภาพไม่เกิน 5 ปีมาประมูลทุกสัปดาห์ให้ชมรถได้ทุกวันเสาร์-พฤหัสบดี ยื่นซองวันศุกร์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังเตรียมระบบการอนุมัติสินเชื่อด่วนภายใน 30 นาทีมาให้บริการด้วย
กบข.เน้นกระจายลงทุนทั่วโลก
รหัสข่าว 08200003: 17/07/50: กระแสหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/ข่าวหุ้น
นายวิสิฐ ตันติสุนทร เลขาธิการคณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เผยว่า ได้เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในตปท.อีกจำนวน 160 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 5,500 ล้านบาท ผ่านกองทุน GPF (Thailand) Investment Fund เน้นกระจายลงทุนหุ้นทั่วโลก ทำให้พอร์ตการลงทุนของกบข.เพิ่มขึ้นเป็น 12.8% จากเพดานการลงทุนทั้งหมด 15% แบ่งเป็นการลงทุนในตราสารทุน 18,700 ลบ.และในตราสารหนี้ 19,700 ลบ.ทั้งนี้ในช่วงปลายปี 50 จะขอก.คลังเพิ่มเพดานการลงทุนเป็น 20-25% ซึ่งมีแผนลงทุนในกองทุนอสังหาฯ ด้วย
รายได้รัฐสูงแต่ขาดดุลเงินสด
รหัสข่าว 08600005: 17/07/50: กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/สยามรัฐ/แนวหน้า/The Nation
ดร.สมชัย สัจจพงษ์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สศค. เผยถึงฐานะการคลังของรัฐบาล ในเดือนมิ.ย.50 ว่า รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลังรวม 249,972 ลบ.ส่งผลให้ดุลงบประมาณเกินดุล 85,591 ลบ. โดยรายได้ที่เก็บเพิ่มมาก เช่น ภาษีเงินได้ปิโตรเลี่ยม เครื่องดื่ม และภาษียาสูบ เป็นต้น สำหรับรายได้ 9 เดือนแรกของปี 50 มีรายได้นำส่งคลังทั้งสิ้น 1,050,754 ลบ.สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.9% แต่รายจ่ายรัฐบาลมีจำนวนทั้งสิ้น 1,154,744 ลบ. สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 12.7% ทำให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 103,990 ลบ.รวมกับขาดดุลนอกงบประมาณอีก 85,712 ลบ.ทำให้ 9 เดือนปี 50 ขาดดุลเงินสดทั้งสิ้น 189,702 ลบ. ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
กองทุนไอเอ็นจีผลตอบแทนพุ่ง
รหัสข่าว 08240017: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/โลกวันนี้/ข่าวหุ้น/กระแสหุ้น
นายชุมพล สายมาลา ผช.กก.ผจก.ฝ่ายการตลาด กองทุนรวมบลจ.ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) เผยว่า การที่เม็ดเงินลงทุนต่างชาติไหลเข้ามาในตลาดหุ้นไทยอย่างต่อเนื่อง ทำให้เอ็นเอวี ของกองทุนรวมหุ้นทุนของไอเอ็นจีปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย โดยในรอบครึ่งปีสร้างผลตอบแทนเกือบ 20% สูงกว่าดัชนีตลาด 14% ซึ่งตัวเลขผลตอบ แทนกองทุนเปิดไอเอ็นจี ไทยอิควิตี้ฟันด์ อยู่ที่ 23.74% ในรอบ 1 ปี เทียบกับ SET ในช่วงเดียวกันอยู่ที่ 14.55%
ทหารไทยออกกองทุนตราสาร 6M2
รหัสข่าว 08100096: 17/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/กระแสหุ้น/โพสต์ทูเดย์/ข่าวหุ้น/ผู้จัดการรายวัน
นางโชติกา สวนานนท์ กก.ผจก.บลจ.ทหารไทย เผยว่า บริษัทได้เปิดขายกองทุนเปิดทหารไทยพรีเมียร์ 6M2 เป็นกองทุนตราสารหนี้ระยะสั้น อายุประมาณ 6 เดือน มูลค่าโครงการ 2,000 ล้านบาท ซึ่งจองซื้อขั้นต่ำที่ 2,000 บาท โดยจะเปิดขายถึงวันที่ 24 ก.ค.นี้ เน้นลงทุนในตราสารหนี้เสนอขายในตปท.ภายหลังจากประสบผล สำเร็จจากการขายกองทุนเปิดทหารไทยพรีเมียร์ 6M1 สามารถระดมเงินได้เต็มมูลค่าโครงการ จำนวน 5,600 ลบ.
พรีมาเวสท์ทะลุเป้าโตกว่า 60%
รหัสข่าว 08220005: 18/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/The Nation/Bangkok Post/ทันหุ้น16/07/50: โพสต์ทูเดย์
นายเพิ่มพล ประเสริฐล้ำ กก.ผจก.บล.พรีมาเวสท์ กล่าวว่า ช่วง 6 เดือนของปี สินทรัพย์ภายใต้การบริหารของบริษัทเพิ่มขึ้นประมาณ 3.25 หมื่นลบ. เติบโต 63.36% เพระตลาดหุ้นในขณะนั้นยังไม่ร้อนแรงและนักลงทุนไม่อยากเสี่ยงประกอบกับดอกเบี้ยเงินฝากต่ำ ทำให้กองทุนตราสารหนี้มีเงินไหลเข้ามามากเพราะผลตอบ แทนสูงกว่า ในครึ่งปีหลังมีแผนออกกองทุนเพื่อไปลงทุนต่างประเทศ (FIF) เป็นหลัก และบริษัทเตรียมเปิดตัวกองทุนเปิดพรีมาเวสท์ (ไทยแลนด์) โกลบอลไฮเพลย์เอาต์ ฟันด์ เน้นลงทุนในยุโรป ซึ่งต่อไปจะออกกองทุน FIF
กลต.หนุนต่างชาติออกบาทบอนด์
รหัสข่าว 08420002: 18/07/50: กรุงเทพธุรกิจหุ้น/ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/ทันหุ้น/มติชน/กระแสหุ้น/โลกวันนี้/สยามรัฐ
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล เลขาธิการ ก.ล.ต.เผยว่า ได้มีการเสนอแนวทางในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย โดยการให้บริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางออกตราสารหนี้ที่ไม่มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือและให้กองทุนเข้ามาจัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อเสนอขายแก่นักลงทุนรายย่อย ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการดูรายละเอียดและทำประชาพิจารณ์ นอกจากนี้ยังได้มีการเสนอต่อก.คลัง ให้บริษัทต่างชาติเข้ามาระดมทุนโดยการออกตราสารสกุลเงินบาท (Bath Bond) ได้ เพื่อนำเงินที่ได้มาลงทุนในไทย ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ยในประเทศด้วย
ปิดสัมพันธ์ประกันภัยชั่วคราว
รหัสข่าว 08320006: 18/07/50: คมชัดลึก/ข่าวหุ้น/บ้านเมือง/ข่าวสด/กรุงเทพธุรกิจ/ไทยโพสต์/กระแสหุ้น
นางจันทรา บูรณฤกษ์ อธิบดีกรมการประกันภัย เผยว่า กรมฯในฐานะนายทะเบียน ได้มีคำสั่งให้
บจก.สัมพันธ์ประกันภัย หยุดรับประกันเป็นการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 16 ก.ค.ที่ผ่านมา ตามมาตรา 52 พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 จนกว่าจะแก้ไขฐานะการเงินได้ ทั้งนี้เนื่องจากขาดเงินกองทุนจำนวน 777.4 ล้านบาทซึ่งไม่ครบตามกฎหมายกำหนด โดยมีสินทรัพย์ 1,938 ลบ.น้อยกว่าหนี้สินที่มีกว่าพันล้านบาท รวมถึงการค้างจ่ายสินไหมทดแทนแก่ผู้เอาประกันมูลค่ากว่า 100 ล้านบาท ทำให้สภาพคล่องที่จะทำกิจการเหลือเพียง 22.9% เท่านั้น
หนีดอกต่ำแห่ซื้อสลากชิงโชค
รหัสข่าว 08100098: 18/07/50: ไทยโพสต์/มติชน
ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานว่า ไตรมาสแรกของปีนี้ภาคครัวเรือนมียอดเงินฝากในสถาบันการเงินทั้งสิ้น 6,077,067 ลบ.เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันของปีก่อน 351,856 ลบ.หรือ 6.14% และเพิ่มขึ้น 1.76% เมื่อเทียบกับไตรมาส 4 ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากในรูปสลากออมสิน เงินฝากสงเคราะห์ชีวิต 251,480 ลบ.เพิ่มขึ้น 75,121 ลบ.หรือ 42.59% ส่วนหนึ่งเป็นการหนี้ผลตอบแทนจากดอกเบี้ยที่ต่ำ ไปหวังผลการถูกรางวัลสลากแทน
กนง.ลดดอกนโยบาย 0.25%
รหัสข่าว 08100099: 19/07/50: ผู้จัดการรายวัน/มติชน/ไทยรัฐ/ข่าวหุ้น/กระแสหุ้น/โลกวันนี้/โพสต์ทูเดย์/บ้านเมือง/เดลินิวส์/คมชัดลึก/ข่าวสด
นางสุชาดา กิระกุล ผช.ผู้ว่าการสายนโยบายการเงิน ธปท. เผยว่า ที่ประชุมกนง.วันที่ 18 ก.ค.มีมติให้ลดอัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์พี) ระยะ 1 วันหรือดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% จากร้อยละ 3.5 ต่อปีเหลือร้อยละ 3.25 ต่อปี เพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ โดยไม่สร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อ ขณะที่ในไตรมาสแรกเศรษฐกิจชะลอตัวกว่าที่คาด ซึ่งการลดดอดเบี้ยครั้งนี้จะส่งผลทางอ้อมช่วยชะลอการแข็งค่าของเงินบาทด้วย เพราะจะทำให้เอกชนกู้เงินในประเทศมากขึ้น ขณะที่ธนาคารน่าจะปล่อยสินเชื่อได้มากขึ้นเพราะผลตอบแทนดีกว่าในตลาดอาร์พี ส่วนที่กนง.ไม่ลดดอกมากกว่านี้ เพราะตั้งแต่ต้นปีลดมาแล้ว 4 ครั้ง หากลดแรงๆ ภาคเศรษฐกิจจะปรับตัวยาก
ลดดอก แห่ชำระหนี้นอกแสนล.-หุ้นรูด
รหัสข่าว 08600006: 19/07/50: โพสต์ทูเดย์/แนวหน้า/ผู้จัดการรายวัน/มติชน/กระแสหุ้น/เดลินิวส์/มติชน/พิมพ์ไทย/บ้านเมือง/แนวหน้า
นายสมหมาย ภาษี รมช.การคลัง กล่าวว่า กระทรวงและสำนักบริหารหนี้สาธารณะ จะเร่งให้หน่วยงานภาครัฐปรับโครงสร้างหนี้และการกู้เงินตราต่างประเทศ รวมถึงเร่งการชำระหนี้เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยคืนในครึ่งปีหลัง 3,183 ล้านเหรียญ หรือ 1.05 แสนล้านบาท ให้แล้วเสร็จอย่างน้อย 80% ของวงเงินภายในช่วง 4 เดือนนับจากนี้ โดยเงินกู้ที่จะดำเนินการ เช่นโครงการรฟม. 1,274 ล้านเหรียญ เงินกู้สนามบินสุวรรณภูมิ 564 ล้านเหรียญ เป็นต้น ทั้งนี้ตั้งแต่ต้นปีได้มีการคืนหนี้ไปแล้ว 2,032 ล้านเหรียญสหรัฐ ในขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ลดลง 7.35 จุด หรือ 0.86% จากการขายทำกำไรหลังรับข่าวการลดดอกเบี้ย และคาดผลการดำเนินไม่ดีของหุ้นกลุ่มแบงก์ด้วย
หลอกซื้อขายเงินผ่านเน็ต "Swiss Cash"รหัสข่าว 08420003: 19/07/50: ผู้จัดการรายวัน/โพสต์ทูเดย์/มติชน/กรุงเทพธุรกิจหุ้น/แนวหน้า/ไทยโพสต์/กระแสหุ้น18/07/50: โพสทูเดย์/สยามรัฐ/กระแสหุ้น/คมชัดลึก/ไทยโพสต์/บ้านเมือง/เดลินิวส์/แนวหน้า/มติชน
ก.ล.ต.เผยว่าได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้ลงทุนและรับการประสานจากกองปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรณีเว็บไซต์ www.thaiswisscash.com ทำการโฆษณาเชิญชวนให้เข้ามาร่วมลงทุนโดยเสนอผลตอบแทนในอัตราสูง ก.ล.ต.ได้ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นความผิดตาม ม. 90 ตามพ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เป็นการดำเนินการเข้าข่ายการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
ประเภทการจัดการกองทุนรวม โดยไม่ได้รับอนุญาต พร้อมนี้ได้มีคำเตือนจากธปท.ให้ระวังอย่าหลงทำธุรกรรมซื้อขายเงินตราผ่านอินเทอร์เน็ต นอกจากจะเสี่ยงสูงแล้วยังผิดกม.พ.ร.บ.ควบคุมแลกเปลี่ยนเงินตรา 2485 ด้วย
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178077
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 101
ยืน 850 ได้ ฟื้นตัวต่อ - 23/7/2550
บล. เอเซียพลัส (ASP) คาดกรอบดัชนีหุ้นไทยสัปดาห์นี้ 835-875 จุด ปัจจัยที่น่าสนใจสัปดาห์นี้ มาตรการจากภาครัฐในการดูแลค่าเงินบาท ผลประกอบการธนาคารพาณิชย์กล ยุทธ์การลงทุน รอจังหวะอ่อนตัวซื้อ ซื้อสะสมหุ้นธนาคารหลังรับข่าวผลประกอบการ
ภาวะตลาดหุ้นเอเชียสัปดาห์ที่ผ่านมา ปรับตัวในกรอบแคบต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อน ขณะที่ตลาดหุ้นดาวโจนส์ (Dow Jones) กลับปรับตัวขึ้นอย่างรุนแรง จนสร้างจุดสูงใหม่ได้อีกครั้งที่ 14,021 จุด ทั้งนี้ เป็นการตอบสนองต่อดัชนีเศรษฐกิจสหรัฐรายตัวบ่งชี้เชิงบวก เช่น ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือน มิ.ย.ที่ทรงตัว 0.2% mom ดัชนีภาคการผลิตเดือน ก.ค.ดีขึ้น เป็น 26.46 จุด จาก 25.75 จุดเดือน มิ.ย. เป็นต้น
ด้านตลาดหุ้นไทย หลังสร้างจุดสูงใหม่ที่ 868.70 จุดต้นสัปดาห์ ก็อ่อนตัวลง แต่ไม่รุนแรง ทั้งนี้ เกิดจากความกังวลของนักลงทุนในประเทศ ต่อท่าทีภาครัฐในการออกมาตรการดูแลค่าเงินบาท จากที่แข็งค่ากว่า 3.22% ระยะ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา อีกทั้ง กนง. ยังคงดำเนินนโยบายลดดอกเบี้ยต่อไป ล่าสุดปรับลด 0.25% เป็น 3.25% เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท ร่วมกับมาตรการอื่นๆ รวมถึงเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายบริโภคภายในประเทศด้วย
ธนาคารพาณิชย์ชะลอปรับลดดอกเบี้ย
ผลจากการประชุมครั้งล่าสุดของ กนง. สัปดาห์ที่ผ่านมา เป็นไปตามคาด คือลดดอกเบี้ยอาร์/พี 1 วัน ลง 0.25% เป็น 3.25% เพื่อช่วยลดความผันผวนค่าเงินบาท ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากกระแสการลงทุน อีกทั้งเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายบริโภคภายในประเทศ ด้านธนาคารพาณิชย์ เริ่มตอบรับแนวนโยบาย
โดยธนาคารกรุงเทพ (BBL) ปรับลดดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 0.125% ขณะที่ลดดอกเบี้ยเงินฝากทุกประเภท 0.25% แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการชะลอการปรับลดดอกเบี้ย และอาจทำให้เห็นจุดต่ำสุดเกิดขึ้นเร็วๆ นี้ อีกทั้งรักษาส่วนต่างดอกเบี้ยสุทธิ (spread) ไม่ให้ลดลงอีกด้วย
ฝ่ายวิจัย ASP เชื่อว่าการปรับลดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อย่าง BBL จะทำให้ธนาคารอื่นๆ หันมาปรับลดตามด้วย อย่างไรก็ตาม ราคาหุ้นกลุ่มธนาคารที่อ่อนตัวลงช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา เชื่อว่าตอบรับผลประกอบการ 2Q50 ไว้แล้ว ดังนั้น จังหวะที่อ่อนตัว แนะนำซื้อสะสม หุ้นที่มีความแข็งแกร่ง KBANK(FV@B 83.83), BAY ([email protected]), SCIB([email protected]) ที่อยู่อาศัย คอนโดมีเนียมนำตลาด
จากการปรับลดดอกเบี้ยของ กนง. ล่าสุดมาอยู่ที่ 3.25% แสดงถึงการรักษาการดำเนินนโยบายดอกเบี้ยขาลงต่อไป โดย 6 เดือนที่ผ่านมา ปรับลด 4 ครั้ง รวม 1.5% เทียบกับการปรับขึ้นช่วงปี 2547-2548 รวม 4% ถือว่าการปรับลดระยะที่ผ่านมา ยังน้อย
ผู้นำตลาดด้านที่อยู่อาศัย ประเภทคอนโดมีเนียม และโครงการบ้านเดี่ยว-ทาวเฮ้าส์ ในตลาดกลาง-ล่าง เป็นกลุ่มที่น่าสนใจ ทั้งด้านการเติบโตของผลประกอบการ และด้านราคาหุ้นในตลาด แนะนำซื้อ LPN([email protected]), PRIN([email protected]), PS([email protected])กลยุทธ์การลงทุนสัปดาห์นี้ (23-27 ก.ค.)
สถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งค่าอย่างรวดเร็วกว่า 3.22% ระยะ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา กดดัน กนง. ปรับลดดอกเบี้ยลง 0.25% เป็น 3.25% เพื่อกระตุ้นให้เกิดการกู้ยืมในประเทศเพิ่มขึ้น อีกทั้งภาครัฐอยู่ในขั้นตอนพิจารณามาตรการเพิ่มเติม เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท
การติดตามมาตรการจากภาครัฐ จะทำให้นักลงทุนกังวล และชะลอการซื้อขาย อีกทั้งนักลงทุนต่างชาติเริ่มมียอดขายสุทธิออกมารายวัน ประกอบกับการติดตามการประกาศผลประกอบการของกลุ่มธนาคาร ด้วย
ประเด็นดังกล่าว คาดว่านักลงทุนจะขายทำกำไร เพื่อรอดูความชัดเจนประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวสัปดาห์นี้อีกครั้ง ส่งผลให้ดัชนีหุ้นไทยอ่อนตัวลง เพื่อปรับฐานระยะสั้น โดยมีแนวรับ 835 จุด แนวต้าน 875 จุด อย่างไรก็ตาม การทยอยอ่อนตัวของราคาหุ้นรายตัว ทำให้เป็นจังหวะซื้อสะสม ฝ่ายวิจัย ASP แนะนำกลุ่มพลังงาน ธนาคาร และปิโตรเคมีทิศทางดอกเบี้ยขาลง กระตุ้นการบริโภคในประเทศ เลือกซื้อหุ้นที่อยู่อาศัย แนะซื้อหุ้น BAY, LPN, PRIN และ PS
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178116
บล. เอเซียพลัส (ASP) คาดกรอบดัชนีหุ้นไทยสัปดาห์นี้ 835-875 จุด ปัจจัยที่น่าสนใจสัปดาห์นี้ มาตรการจากภาครัฐในการดูแลค่าเงินบาท ผลประกอบการธนาคารพาณิชย์กล ยุทธ์การลงทุน รอจังหวะอ่อนตัวซื้อ ซื้อสะสมหุ้นธนาคารหลังรับข่าวผลประกอบการ
ภาวะตลาดหุ้นเอเชียสัปดาห์ที่ผ่านมา ปรับตัวในกรอบแคบต่อเนื่องจากสัปดาห์ก่อน ขณะที่ตลาดหุ้นดาวโจนส์ (Dow Jones) กลับปรับตัวขึ้นอย่างรุนแรง จนสร้างจุดสูงใหม่ได้อีกครั้งที่ 14,021 จุด ทั้งนี้ เป็นการตอบสนองต่อดัชนีเศรษฐกิจสหรัฐรายตัวบ่งชี้เชิงบวก เช่น ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือน มิ.ย.ที่ทรงตัว 0.2% mom ดัชนีภาคการผลิตเดือน ก.ค.ดีขึ้น เป็น 26.46 จุด จาก 25.75 จุดเดือน มิ.ย. เป็นต้น
ด้านตลาดหุ้นไทย หลังสร้างจุดสูงใหม่ที่ 868.70 จุดต้นสัปดาห์ ก็อ่อนตัวลง แต่ไม่รุนแรง ทั้งนี้ เกิดจากความกังวลของนักลงทุนในประเทศ ต่อท่าทีภาครัฐในการออกมาตรการดูแลค่าเงินบาท จากที่แข็งค่ากว่า 3.22% ระยะ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา อีกทั้ง กนง. ยังคงดำเนินนโยบายลดดอกเบี้ยต่อไป ล่าสุดปรับลด 0.25% เป็น 3.25% เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท ร่วมกับมาตรการอื่นๆ รวมถึงเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายบริโภคภายในประเทศด้วย
ธนาคารพาณิชย์ชะลอปรับลดดอกเบี้ย
ผลจากการประชุมครั้งล่าสุดของ กนง. สัปดาห์ที่ผ่านมา เป็นไปตามคาด คือลดดอกเบี้ยอาร์/พี 1 วัน ลง 0.25% เป็น 3.25% เพื่อช่วยลดความผันผวนค่าเงินบาท ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากกระแสการลงทุน อีกทั้งเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายบริโภคภายในประเทศ ด้านธนาคารพาณิชย์ เริ่มตอบรับแนวนโยบาย
โดยธนาคารกรุงเทพ (BBL) ปรับลดดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 0.125% ขณะที่ลดดอกเบี้ยเงินฝากทุกประเภท 0.25% แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการชะลอการปรับลดดอกเบี้ย และอาจทำให้เห็นจุดต่ำสุดเกิดขึ้นเร็วๆ นี้ อีกทั้งรักษาส่วนต่างดอกเบี้ยสุทธิ (spread) ไม่ให้ลดลงอีกด้วย
ฝ่ายวิจัย ASP เชื่อว่าการปรับลดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อย่าง BBL จะทำให้ธนาคารอื่นๆ หันมาปรับลดตามด้วย อย่างไรก็ตาม ราคาหุ้นกลุ่มธนาคารที่อ่อนตัวลงช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา เชื่อว่าตอบรับผลประกอบการ 2Q50 ไว้แล้ว ดังนั้น จังหวะที่อ่อนตัว แนะนำซื้อสะสม หุ้นที่มีความแข็งแกร่ง KBANK(FV@B 83.83), BAY ([email protected]), SCIB([email protected]) ที่อยู่อาศัย คอนโดมีเนียมนำตลาด
จากการปรับลดดอกเบี้ยของ กนง. ล่าสุดมาอยู่ที่ 3.25% แสดงถึงการรักษาการดำเนินนโยบายดอกเบี้ยขาลงต่อไป โดย 6 เดือนที่ผ่านมา ปรับลด 4 ครั้ง รวม 1.5% เทียบกับการปรับขึ้นช่วงปี 2547-2548 รวม 4% ถือว่าการปรับลดระยะที่ผ่านมา ยังน้อย
ผู้นำตลาดด้านที่อยู่อาศัย ประเภทคอนโดมีเนียม และโครงการบ้านเดี่ยว-ทาวเฮ้าส์ ในตลาดกลาง-ล่าง เป็นกลุ่มที่น่าสนใจ ทั้งด้านการเติบโตของผลประกอบการ และด้านราคาหุ้นในตลาด แนะนำซื้อ LPN([email protected]), PRIN([email protected]), PS([email protected])กลยุทธ์การลงทุนสัปดาห์นี้ (23-27 ก.ค.)
สถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งค่าอย่างรวดเร็วกว่า 3.22% ระยะ 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา กดดัน กนง. ปรับลดดอกเบี้ยลง 0.25% เป็น 3.25% เพื่อกระตุ้นให้เกิดการกู้ยืมในประเทศเพิ่มขึ้น อีกทั้งภาครัฐอยู่ในขั้นตอนพิจารณามาตรการเพิ่มเติม เพื่อลดความผันผวนของค่าเงินบาท
การติดตามมาตรการจากภาครัฐ จะทำให้นักลงทุนกังวล และชะลอการซื้อขาย อีกทั้งนักลงทุนต่างชาติเริ่มมียอดขายสุทธิออกมารายวัน ประกอบกับการติดตามการประกาศผลประกอบการของกลุ่มธนาคาร ด้วย
ประเด็นดังกล่าว คาดว่านักลงทุนจะขายทำกำไร เพื่อรอดูความชัดเจนประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวสัปดาห์นี้อีกครั้ง ส่งผลให้ดัชนีหุ้นไทยอ่อนตัวลง เพื่อปรับฐานระยะสั้น โดยมีแนวรับ 835 จุด แนวต้าน 875 จุด อย่างไรก็ตาม การทยอยอ่อนตัวของราคาหุ้นรายตัว ทำให้เป็นจังหวะซื้อสะสม ฝ่ายวิจัย ASP แนะนำกลุ่มพลังงาน ธนาคาร และปิโตรเคมีทิศทางดอกเบี้ยขาลง กระตุ้นการบริโภคในประเทศ เลือกซื้อหุ้นที่อยู่อาศัย แนะซื้อหุ้น BAY, LPN, PRIN และ PS
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178116
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 102
โบรกจัดอันดับ1ใน10 หุ้นทั้งตลาด
เปิดตัวหุ้น Small Cap mai โบรกประมาณการอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปี 2550 ติด 1 ใน 10 ของการจัดอันดับหุ้น
เปิดตัวหุ้น Small Cap mai โบรกประมาณการอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปี 2550 ติด 1 ใน 10 ของการจัดอันดับหุ้นที่จดทะเบียนใน SETและ mai นำโดย CMO ทำนายไว้ที่ 12.50% ขณะที่บล.ยูโอบี เคย์ เฮียนฯ ให้สูงถึง 15.7% ส่วนL&Eคาดอยู่ที่ 9.68% ด้านบล.ซิกโก้คาดปีนี้ให้อัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลที่ 9.9% GFMประเมินไว้ที่ระดับ 9.31% บล.เคทีบีมองการจ่ายเงินปันผลปีนี้อยู่ในเกณฑ์ดีคาดให้ผลตอบแทนจากเงินปันผล 10%
จากการสำรวจความเห็นของนักวิเคราะห์ที่เป็นสมาชิกของสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์(Analyst Consensus ) ที่ได้ติดตามข้อมูลรายบริษัททั้งในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ(mai) ซึ่ง Analyst Consensus ได้ประมาณการ 10 อันดับหุ้นที่มีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล(Dividend yield) ปี 2550 ปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด โดยมีบจ.ที่จดทะเบียนอยู่ในตลาด mai จำนวน 3 บริษัทที่ติดการสำรวจด้วย บริษัทแรกคือ บริษัท ซีเอ็ม ออร์การไนเซอร์ จำกัด (มหาชน) หรือ CMO โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield(DIV) ปีนี้ไว้ที่ระดับ 12.50%
ด้านบริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์ เฮียน(ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) ประเมิน CMO เป็นหุ้นที่ที่มีการปันผลดีและจ่ายสม่ำเสมอคาดจ่ายปันผลปีนี้เท่าปีก่อนที่ 0.38 บาทต่อหุ้นคิดเป็นอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล 15.7% โดยให้ราคาเหมาะสมปีนี้ที่ 3.12 บาท ประเมินโดยใช้ PER 6.5 เท่า ราคาหุ้นปัจจุบันมี Upside gain 29% แม้แนวโน้มผลการดำเนินงานในปีนี้จะไม่โดดเด่นมากนัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลกระทบจากภาวะเศรฐกิจที่ชะลอตัว และผลของรัฐบาลชุดนี้มีการลดงบประมาณในการส่งเสริมธุรกิจ EVENT ต่ำกว่าปีก่อน ทำให้บริษัททำได้เพียงรักษาระดับกำไรไว้เท่าเดิม ยังคงแนะนำ ซื้อ
นอกจากนี้ยังมียังมี บริษัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จำกัด(มหาชน) หรือ L&E โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield ปีนี้ไว้ที่ 9.68% บริษัทหลักทรัพย์ซิกโก้ จำกัด ประเมินว่าแม้กำไรสุทธิในไตรมาส 1/2550 จะปรับลดลง แต่ทางฝ่ายยังคงมีมุมมองเชิงบวกต่อผลประกอบการของL&E ในปีนี้ ซึ่งมองว่าในไตรมาสที่ 2/2550 ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันโดยปกติครึ่งปีหลังจะเป็นช่วงไฮซีซั่นของบริษัท จึงคาดว่าบริษัทจะรับรู้รายได้มากขึ้น
ทั้งนี้หากพิจารณาจากงานที่มีอยู่ในมือ(Backlog)ของงานโครงการที่มีอยู่ในมือถึง 450 ล้านบาทรวมทั้งอาจจะมีกาเรข้าประมูลงานเพิ่มขึ้น ทางฝ่ายคาดว่าบริษัทจะได้รับงาน Outsource เข้า อีกทั้งยังมีมุมมองเชิงบวกต่อ Effective Tax Rate ที่คาดว่าจะลดลงจาก 25.4% ในปี 2549 เหลือ 22.2% ในปีนี้ คาดมีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปีนี้ที่สูงถึง 9.9% จึงแนะนำซื้อประเมินมูลค่าเหมาะสม 12.50 บาท
ขณะที่บริษัท โกลด์ไฟน์ แมนูแฟคเจอรเรอส์ จำกัด(มหาชน) หรือ GFM โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield ปีนี้ไว้ที่ 9.31% บริษัทหลักทรัพย์ เคทีบี จำกัด ประเมินว่า GFM ยังมีความสามารถในการทำกำไรที่เพิ่มขึ้นในไตรมาส 1ที่มีกำไรสุทธิ 38 ล้านบาทขณะที่แนวโน้มราคาวัตถุดิบผันผวนลดลง ทำให้ทางฝ่ายมีมุมมองเชิงบวกต่อการดำเนินธุรกิจเพิ่มขึ้น จึงปรับประมาณการรายได้ปีนี้เติบโต 25% เมื่อเทียบกับปีก่อน เป็น 1,570 ล้านบาท เป็นส่วนกำไรสุทธิคาดอยู่ที่ 169 ล้านบาท หรือ 1.13 บาทต่อหุ้น และได้ประเมินมูลค่าหุ้นโดยอ้างอิงP/E ที่ 8 เท่า จะได้ราคาเหมาะสมของปี 2550 เพิ่มขึ้นเป็น 9.04 บาท จากเดิม 7.85 บาท มี upside gain 35% ซึ่งเชื่อว่า GFM เป็นหุ้นที่มีการจ่ายเงินปันผลในเกณฑ์ที่ดีโดยคาดว่าจะมีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล 10% ในปีนี แนะซื้อลงทุน
http://www.msnth.com/msn/money2/content ... 845&ch=213
เปิดตัวหุ้น Small Cap mai โบรกประมาณการอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปี 2550 ติด 1 ใน 10 ของการจัดอันดับหุ้น
เปิดตัวหุ้น Small Cap mai โบรกประมาณการอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปี 2550 ติด 1 ใน 10 ของการจัดอันดับหุ้นที่จดทะเบียนใน SETและ mai นำโดย CMO ทำนายไว้ที่ 12.50% ขณะที่บล.ยูโอบี เคย์ เฮียนฯ ให้สูงถึง 15.7% ส่วนL&Eคาดอยู่ที่ 9.68% ด้านบล.ซิกโก้คาดปีนี้ให้อัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลที่ 9.9% GFMประเมินไว้ที่ระดับ 9.31% บล.เคทีบีมองการจ่ายเงินปันผลปีนี้อยู่ในเกณฑ์ดีคาดให้ผลตอบแทนจากเงินปันผล 10%
จากการสำรวจความเห็นของนักวิเคราะห์ที่เป็นสมาชิกของสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์(Analyst Consensus ) ที่ได้ติดตามข้อมูลรายบริษัททั้งในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ(mai) ซึ่ง Analyst Consensus ได้ประมาณการ 10 อันดับหุ้นที่มีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล(Dividend yield) ปี 2550 ปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด โดยมีบจ.ที่จดทะเบียนอยู่ในตลาด mai จำนวน 3 บริษัทที่ติดการสำรวจด้วย บริษัทแรกคือ บริษัท ซีเอ็ม ออร์การไนเซอร์ จำกัด (มหาชน) หรือ CMO โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield(DIV) ปีนี้ไว้ที่ระดับ 12.50%
ด้านบริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์ เฮียน(ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน) ประเมิน CMO เป็นหุ้นที่ที่มีการปันผลดีและจ่ายสม่ำเสมอคาดจ่ายปันผลปีนี้เท่าปีก่อนที่ 0.38 บาทต่อหุ้นคิดเป็นอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล 15.7% โดยให้ราคาเหมาะสมปีนี้ที่ 3.12 บาท ประเมินโดยใช้ PER 6.5 เท่า ราคาหุ้นปัจจุบันมี Upside gain 29% แม้แนวโน้มผลการดำเนินงานในปีนี้จะไม่โดดเด่นมากนัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลกระทบจากภาวะเศรฐกิจที่ชะลอตัว และผลของรัฐบาลชุดนี้มีการลดงบประมาณในการส่งเสริมธุรกิจ EVENT ต่ำกว่าปีก่อน ทำให้บริษัททำได้เพียงรักษาระดับกำไรไว้เท่าเดิม ยังคงแนะนำ ซื้อ
นอกจากนี้ยังมียังมี บริษัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จำกัด(มหาชน) หรือ L&E โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield ปีนี้ไว้ที่ 9.68% บริษัทหลักทรัพย์ซิกโก้ จำกัด ประเมินว่าแม้กำไรสุทธิในไตรมาส 1/2550 จะปรับลดลง แต่ทางฝ่ายยังคงมีมุมมองเชิงบวกต่อผลประกอบการของL&E ในปีนี้ ซึ่งมองว่าในไตรมาสที่ 2/2550 ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันโดยปกติครึ่งปีหลังจะเป็นช่วงไฮซีซั่นของบริษัท จึงคาดว่าบริษัทจะรับรู้รายได้มากขึ้น
ทั้งนี้หากพิจารณาจากงานที่มีอยู่ในมือ(Backlog)ของงานโครงการที่มีอยู่ในมือถึง 450 ล้านบาทรวมทั้งอาจจะมีกาเรข้าประมูลงานเพิ่มขึ้น ทางฝ่ายคาดว่าบริษัทจะได้รับงาน Outsource เข้า อีกทั้งยังมีมุมมองเชิงบวกต่อ Effective Tax Rate ที่คาดว่าจะลดลงจาก 25.4% ในปี 2549 เหลือ 22.2% ในปีนี้ คาดมีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลปีนี้ที่สูงถึง 9.9% จึงแนะนำซื้อประเมินมูลค่าเหมาะสม 12.50 บาท
ขณะที่บริษัท โกลด์ไฟน์ แมนูแฟคเจอรเรอส์ จำกัด(มหาชน) หรือ GFM โดย Analyst Consensusได้ประมาณการ Dividend yield ปีนี้ไว้ที่ 9.31% บริษัทหลักทรัพย์ เคทีบี จำกัด ประเมินว่า GFM ยังมีความสามารถในการทำกำไรที่เพิ่มขึ้นในไตรมาส 1ที่มีกำไรสุทธิ 38 ล้านบาทขณะที่แนวโน้มราคาวัตถุดิบผันผวนลดลง ทำให้ทางฝ่ายมีมุมมองเชิงบวกต่อการดำเนินธุรกิจเพิ่มขึ้น จึงปรับประมาณการรายได้ปีนี้เติบโต 25% เมื่อเทียบกับปีก่อน เป็น 1,570 ล้านบาท เป็นส่วนกำไรสุทธิคาดอยู่ที่ 169 ล้านบาท หรือ 1.13 บาทต่อหุ้น และได้ประเมินมูลค่าหุ้นโดยอ้างอิงP/E ที่ 8 เท่า จะได้ราคาเหมาะสมของปี 2550 เพิ่มขึ้นเป็น 9.04 บาท จากเดิม 7.85 บาท มี upside gain 35% ซึ่งเชื่อว่า GFM เป็นหุ้นที่มีการจ่ายเงินปันผลในเกณฑ์ที่ดีโดยคาดว่าจะมีอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล 10% ในปีนี แนะซื้อลงทุน
http://www.msnth.com/msn/money2/content ... 845&ch=213
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 103
บิ๊กบจ.mai ฟันธงQ2เด่น โชว์พื้นฐานแน่น
ผู้บริหารบจ.ตลาดmaiขายฝันคาดผลงานไตรมาส 2/2550 ออกมาถูกใจนักลงทุน นำโดย STAR
ผู้บริหารบจ.ตลาดmaiขายฝันคาดผลงานไตรมาส 2/2550 ออกมาถูกใจนักลงทุน นำโดยSTARระบุแม้ยังไม่ได้ประกาศงบ แต่วัดผลจากออเดอร์ที่มีเข้ามาต่อเนื่อง ส่วนUKEMผลิตภัณฑ์ใหม่ช่วยขับเคลื่อนกระตุ้นยอดขาย ด้านDEMCOไม่น้อยหน้าอวดธุรกิจขยายตัวได้ดีจากงานบริการ-งานขายและงานในมือ
ขณะที่UMSได้รับผลดีจากถ่านหินที่เติบโต อยู่ในทิศทางที่ดี แถมลูกค้าขยายตัว ปิดท้ายด้วย KASET คาดยอดขายเติบโตจากการลงทุนทำโฆษณาและออกผลิตภัณฑ์ใหม่
นายสมชัย ว่องอรุณ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทสตาร์ ซานิทารีแวร์ จำกัด(มหาชน) หรือ STARเปิดเผยถึงทิศทางผลประกอบการ
ไตรมาส 2/2550 ว่าจะออกมาดีถึงแม้จะยังไม่ได้ประกาศงบออกมา เนื่องจากบริษัทมั่นใจว่าธุรกิจจะยังขยายตัวสวนกระแสเศรษฐกิจในประเทศ ประกอบกับที่ผ่านมามียอดคำสั่งซื้อที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
บริษัทไม่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินที่ยังคงแข็งค่าอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะส่งออกถึง 70% เพราะโดยปกติฐานลูกค้าจะอยู่ในประเทศในโซนยุโรป จึงใช้เงินปอนด์และยูโรเป็นหลัก แม้บางครั้งจะมีการตกลงซื้อขายเป็นเงินบาทบ้าง ส่วนเงินดอลล์ลาสหรัฐมีจำนวนน้อยไม่ถึง 10% ของการส่งออก
นายพีรเจต สุวรรณภาศรี รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูเนี่ยนปิโตรเคมีคอล จำกัด(มหาชน) หรือ UKEM กล่าวถึงทิศทางผลการดำเนินงานไตรมาส 2/2550 คาดว่าจะออกมาดีกว่าไตรมาส 1/2550 ที่มีกำไรสุทธิ 3 ล้านบาท แม้ว่ายอดคำสั่งซื้อสินค้าจะชะลอตัวก็ตาม แต่บริษัทยังมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ที่ยังพอมีออร์เดอร์เข้ามาบ้าง
ช่วงครึ่งปีแรกออร์เดอร์ถือว่าเงียบมาก เพราะความต้องการใช้สินค้าประเภทโซลเว้นท์ ปรับตัวลงเยอะเนื่องจากภาคธุรกิจก่อสร้างชะลอตัว จึงทำให้ความต้องการใช้สีลดลง เพราะเป็นช่วงฤดูฝน แต่ก็ถือว่าโชคดีที่บริษัทยังมีสินค้าใหม่ๆมาทดแทน ซึ่งพอจะมีออร์เดอร์เข้ามาบ้าง อย่างน้อยก็ยังกระตุ้นยอดขายได้ นายพีรเจต กล่าว
นางประพีร์ ปุ้ยพันธวงศ์ ประธานกรรมการ บริษัท เด็มโก้ จำกัด (มหาชน) หรือ DEMCO ประเมินผลประกอบการไตรมาส 2/2550 คาดว่าน่าจะเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 1/2550 ที่มีรายได้ 427.05 ล้านบาท และกำไร 31.70 ล้านบาท เนื่องจากช่วงไตรมาส1/2550 อยู่ในช่วงติดตั้งเครื่องจักรเพื่อขยายกำลังการผลิต ทำให้ผลิตได้ไม่เต็มที่เท่าที่ควร จากการที่ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ ดังนั้นไตรมาส 2/2550 คาดว่าผลประกอบการเพิ่มจากกำลังผลิตที่เต็มที่ อีกทั้งธุรกิจยังขยายตัวได้ดี ทั้งงานบริการ และงานขาย รวมถึงยังมี
งานที่อยู่ในมือ(Backlog) ประมาณ 1,600-1,800 ล้านบาท
นายชัยวัฒน์ เครือชะเอม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน) หรือ UMS คาดว่าผลดำเนินงานไตรมาส
2/ 2550 น่าจะออกมาสูงกว่าไตรมาส 1/2550 จากปัจจัยที่ธุรกิจถ่านหินมีแนวโน้มเติบโตในทิศทางที่ดี และมีลูกค้าสนใจเข้ามาซื้อสินค้าของบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง ขณะที่จำนวนลูกค้าอยู่ที่ประมาณ 250 ราย ซึ่งได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเชื่อว่าในช่วงที่เหลือของปีนี้มีความเป็นไปได้ลูกค้าจะเพิ่มเป็น 300 รายได้
นายสมฤกษ์ ตั้งพิรุฬห์ธรรม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยฮา จำกัด (มหาชน) หรือ KASET เปิดเผยถึงทิศทางผลการดำเนินงาน
ไตรมาส 2/2550 คาดว่ายอดขายจะเติบโตเพิ่มขึ้นประมาณ 30% เมื่อเทียบจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากบริษัทได้มีการลงทุนในเรื่อง ของการทำโฆษณาและออกผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
http://www.msnth.com/msn/money2/content ... 846&ch=229
ผู้บริหารบจ.ตลาดmaiขายฝันคาดผลงานไตรมาส 2/2550 ออกมาถูกใจนักลงทุน นำโดย STAR
ผู้บริหารบจ.ตลาดmaiขายฝันคาดผลงานไตรมาส 2/2550 ออกมาถูกใจนักลงทุน นำโดยSTARระบุแม้ยังไม่ได้ประกาศงบ แต่วัดผลจากออเดอร์ที่มีเข้ามาต่อเนื่อง ส่วนUKEMผลิตภัณฑ์ใหม่ช่วยขับเคลื่อนกระตุ้นยอดขาย ด้านDEMCOไม่น้อยหน้าอวดธุรกิจขยายตัวได้ดีจากงานบริการ-งานขายและงานในมือ
ขณะที่UMSได้รับผลดีจากถ่านหินที่เติบโต อยู่ในทิศทางที่ดี แถมลูกค้าขยายตัว ปิดท้ายด้วย KASET คาดยอดขายเติบโตจากการลงทุนทำโฆษณาและออกผลิตภัณฑ์ใหม่
นายสมชัย ว่องอรุณ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทสตาร์ ซานิทารีแวร์ จำกัด(มหาชน) หรือ STARเปิดเผยถึงทิศทางผลประกอบการ
ไตรมาส 2/2550 ว่าจะออกมาดีถึงแม้จะยังไม่ได้ประกาศงบออกมา เนื่องจากบริษัทมั่นใจว่าธุรกิจจะยังขยายตัวสวนกระแสเศรษฐกิจในประเทศ ประกอบกับที่ผ่านมามียอดคำสั่งซื้อที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
บริษัทไม่ได้รับผลกระทบจากค่าเงินที่ยังคงแข็งค่าอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะส่งออกถึง 70% เพราะโดยปกติฐานลูกค้าจะอยู่ในประเทศในโซนยุโรป จึงใช้เงินปอนด์และยูโรเป็นหลัก แม้บางครั้งจะมีการตกลงซื้อขายเป็นเงินบาทบ้าง ส่วนเงินดอลล์ลาสหรัฐมีจำนวนน้อยไม่ถึง 10% ของการส่งออก
นายพีรเจต สุวรรณภาศรี รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูเนี่ยนปิโตรเคมีคอล จำกัด(มหาชน) หรือ UKEM กล่าวถึงทิศทางผลการดำเนินงานไตรมาส 2/2550 คาดว่าจะออกมาดีกว่าไตรมาส 1/2550 ที่มีกำไรสุทธิ 3 ล้านบาท แม้ว่ายอดคำสั่งซื้อสินค้าจะชะลอตัวก็ตาม แต่บริษัทยังมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ที่ยังพอมีออร์เดอร์เข้ามาบ้าง
ช่วงครึ่งปีแรกออร์เดอร์ถือว่าเงียบมาก เพราะความต้องการใช้สินค้าประเภทโซลเว้นท์ ปรับตัวลงเยอะเนื่องจากภาคธุรกิจก่อสร้างชะลอตัว จึงทำให้ความต้องการใช้สีลดลง เพราะเป็นช่วงฤดูฝน แต่ก็ถือว่าโชคดีที่บริษัทยังมีสินค้าใหม่ๆมาทดแทน ซึ่งพอจะมีออร์เดอร์เข้ามาบ้าง อย่างน้อยก็ยังกระตุ้นยอดขายได้ นายพีรเจต กล่าว
นางประพีร์ ปุ้ยพันธวงศ์ ประธานกรรมการ บริษัท เด็มโก้ จำกัด (มหาชน) หรือ DEMCO ประเมินผลประกอบการไตรมาส 2/2550 คาดว่าน่าจะเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 1/2550 ที่มีรายได้ 427.05 ล้านบาท และกำไร 31.70 ล้านบาท เนื่องจากช่วงไตรมาส1/2550 อยู่ในช่วงติดตั้งเครื่องจักรเพื่อขยายกำลังการผลิต ทำให้ผลิตได้ไม่เต็มที่เท่าที่ควร จากการที่ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ ดังนั้นไตรมาส 2/2550 คาดว่าผลประกอบการเพิ่มจากกำลังผลิตที่เต็มที่ อีกทั้งธุรกิจยังขยายตัวได้ดี ทั้งงานบริการ และงานขาย รวมถึงยังมี
งานที่อยู่ในมือ(Backlog) ประมาณ 1,600-1,800 ล้านบาท
นายชัยวัฒน์ เครือชะเอม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน) หรือ UMS คาดว่าผลดำเนินงานไตรมาส
2/ 2550 น่าจะออกมาสูงกว่าไตรมาส 1/2550 จากปัจจัยที่ธุรกิจถ่านหินมีแนวโน้มเติบโตในทิศทางที่ดี และมีลูกค้าสนใจเข้ามาซื้อสินค้าของบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง ขณะที่จำนวนลูกค้าอยู่ที่ประมาณ 250 ราย ซึ่งได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเชื่อว่าในช่วงที่เหลือของปีนี้มีความเป็นไปได้ลูกค้าจะเพิ่มเป็น 300 รายได้
นายสมฤกษ์ ตั้งพิรุฬห์ธรรม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยฮา จำกัด (มหาชน) หรือ KASET เปิดเผยถึงทิศทางผลการดำเนินงาน
ไตรมาส 2/2550 คาดว่ายอดขายจะเติบโตเพิ่มขึ้นประมาณ 30% เมื่อเทียบจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากบริษัทได้มีการลงทุนในเรื่อง ของการทำโฆษณาและออกผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
http://www.msnth.com/msn/money2/content ... 846&ch=229
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 104
เหล็ก-สื่อสารได้ดีบาทแข็งโผหุ้นปันผลดี
โพสต์ทูเดย์ ส้มหล่นกลุ่มเหล็ก เงินบาทแข็งช่วยลดต้นทุนนำเข้า ส่วนสื่อสารหนี้ลด กำไรอัตราแลกเปลี่ยน
ทั้งนี้ ในช่วงนี้ตลาดหุ้นอยู่ระหว่างการปรับฐานและบริษัทจดทะเบียนทยอยประกาศผลการดำเนินงานในงวดไตรมาส 2 ซึ่งบริษัทหลายแห่งน่าจะมีกำไรออกมาดี โดยเฉพาะบริษัทที่ได้ประโยชน์จากการแข็งค่าของเงินบาท แถมบางตัวยังจะจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลด้วย ดังนั้นหุ้นลงเป็นโอกาสซื้อหุ้นราคาถูก
บริษัทหลักทรัพย์นครหลวงไทยได้วิเคราะห์หุ้นที่ได้ประโยชน์จากกรณีเงินบาทแข็งค่า โดยเฉพาะธุรกิจเหล็ก เช่น บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) หรือ TSTH บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี (SSI) และบริษัท จี สตีล (GSTEEL) ที่มีต้นทุนการนำเข้าวัตถุดิบในรูปเงินเหรียญสหรัฐลดลง โดยเฉพาะ SSI มีสัดส่วนการนำเข้าสูงถึง 90%
นอกจากนั้น ธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ยังได้อานิสงส์ด้วย เช่น บริษัท ซิงเกิ้ล พอยท์ พาร์ท (ประเทศไทย) หรือ SPPT ที่มีต้นทุนนำเข้าในรูปเหรียญสหรัฐ ขณะที่มีรายได้เป็นเงินบาท และในไตรมาส 3 หรือ 4 ปีนี้ จะมีการนำเข้าเครื่องจักรแปรรูปขยะเข้ามาขายอีกด้วย
สำหรับบริษัทในกลุ่มสื่อสารก็จะมีภาระหนี้ลดลงและมีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนด้วย เช่น บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) ที่มีหนี้สกุลเหรียญสหรัฐถึง 931 ล้านเหรียญสหรัฐ แซทเทลไลท์ (SATTEL) มีภาระหนี้ 341 ล้านเหรียญ และบริษัท ทีทีแอนด์ที (TT&T) จำนวน 257 ล้านเหรียญสหรัฐ
ขณะที่กลุ่มพลังงานก็ได้ดีด้วย เช่น บริษัท ผลิตไฟฟ้า (EGCO) ที่มีหนี้เงินเหรียญสหรัฐ 61 ล้านเหรียญสหรัฐ และสกุลเงินเยนอีก 921 ล้านเยน และบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง (RATCH) มีหนี้ 160 ล้านเหรียญสหรัฐ
ด้านธุรกิจขนส่ง เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย (AOT) มีหนี้ประมาณ 2.2 แสนล้านเยน ส่วนการบินไทย (THAI) มีหนี้สกุลเหรียญสหรัฐ 319 ล้านเหรียญสหรัฐ หนี้สกุลยูโรอีก 757 ล้านยูโร ขณะที่มีต้นทุนนำเข้าน้ำมันในรูปเงินเหรียญสหรัฐประมาณ 35% อย่างไรก็ตามค่าเงินบาทก็ทำให้รายได้ในรูปเงินเหรียญสหรัฐลดลงเช่นกัน
บริษัทหลักทรัพย์พัฒนสิน แนะนำให้ซื้อหุ้นที่มีการจ่ายเงินปันผลดี เช่น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC) บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ CCET บริษัท ไดนาสตี้เซรามิค (DcC) บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) หรือ ATC http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180360
โพสต์ทูเดย์ ส้มหล่นกลุ่มเหล็ก เงินบาทแข็งช่วยลดต้นทุนนำเข้า ส่วนสื่อสารหนี้ลด กำไรอัตราแลกเปลี่ยน
ทั้งนี้ ในช่วงนี้ตลาดหุ้นอยู่ระหว่างการปรับฐานและบริษัทจดทะเบียนทยอยประกาศผลการดำเนินงานในงวดไตรมาส 2 ซึ่งบริษัทหลายแห่งน่าจะมีกำไรออกมาดี โดยเฉพาะบริษัทที่ได้ประโยชน์จากการแข็งค่าของเงินบาท แถมบางตัวยังจะจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลด้วย ดังนั้นหุ้นลงเป็นโอกาสซื้อหุ้นราคาถูก
บริษัทหลักทรัพย์นครหลวงไทยได้วิเคราะห์หุ้นที่ได้ประโยชน์จากกรณีเงินบาทแข็งค่า โดยเฉพาะธุรกิจเหล็ก เช่น บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) หรือ TSTH บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี (SSI) และบริษัท จี สตีล (GSTEEL) ที่มีต้นทุนการนำเข้าวัตถุดิบในรูปเงินเหรียญสหรัฐลดลง โดยเฉพาะ SSI มีสัดส่วนการนำเข้าสูงถึง 90%
นอกจากนั้น ธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ยังได้อานิสงส์ด้วย เช่น บริษัท ซิงเกิ้ล พอยท์ พาร์ท (ประเทศไทย) หรือ SPPT ที่มีต้นทุนนำเข้าในรูปเหรียญสหรัฐ ขณะที่มีรายได้เป็นเงินบาท และในไตรมาส 3 หรือ 4 ปีนี้ จะมีการนำเข้าเครื่องจักรแปรรูปขยะเข้ามาขายอีกด้วย
สำหรับบริษัทในกลุ่มสื่อสารก็จะมีภาระหนี้ลดลงและมีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนด้วย เช่น บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) ที่มีหนี้สกุลเหรียญสหรัฐถึง 931 ล้านเหรียญสหรัฐ แซทเทลไลท์ (SATTEL) มีภาระหนี้ 341 ล้านเหรียญ และบริษัท ทีทีแอนด์ที (TT&T) จำนวน 257 ล้านเหรียญสหรัฐ
ขณะที่กลุ่มพลังงานก็ได้ดีด้วย เช่น บริษัท ผลิตไฟฟ้า (EGCO) ที่มีหนี้เงินเหรียญสหรัฐ 61 ล้านเหรียญสหรัฐ และสกุลเงินเยนอีก 921 ล้านเยน และบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง (RATCH) มีหนี้ 160 ล้านเหรียญสหรัฐ
ด้านธุรกิจขนส่ง เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย (AOT) มีหนี้ประมาณ 2.2 แสนล้านเยน ส่วนการบินไทย (THAI) มีหนี้สกุลเหรียญสหรัฐ 319 ล้านเหรียญสหรัฐ หนี้สกุลยูโรอีก 757 ล้านยูโร ขณะที่มีต้นทุนนำเข้าน้ำมันในรูปเงินเหรียญสหรัฐประมาณ 35% อย่างไรก็ตามค่าเงินบาทก็ทำให้รายได้ในรูปเงินเหรียญสหรัฐลดลงเช่นกัน
บริษัทหลักทรัพย์พัฒนสิน แนะนำให้ซื้อหุ้นที่มีการจ่ายเงินปันผลดี เช่น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC) บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ CCET บริษัท ไดนาสตี้เซรามิค (DcC) บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) หรือ ATC http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180360
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news23/07/07
โพสต์ที่ 105
คาดส่งออกครึ่งปี ยังเพิ่มขึ้นถึง18% แม้ค่าบาทจะแข็ง
โพสต์ทูเดย์ เชื่อตัวเลขส่งออกครึ่งปีโต 18% แม้ได้รับผลกระทบจากค่าบาทแข็ง
แหล่งข่าวกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยว่า ตัวเลขการส่งออกโดยรวมในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 โดยเฉลี่ยยังมีอัตราการเติบโตกว่า 18% และยังได้ดุลการค้าต่อเนื่อง แม้ว่าภาคการส่งออกโดยรวม จะได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นมามากก็ตาม
หากคิดเป็นในรูปเงินเหรียญสหรัฐถือ ว่าการส่งออกไม่ลดลง แต่เทียบเป็นเงินบาท ถือว่าส่งออกได้น้อยลง โดยนายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.พาณิชย์ จะแถลงตัวเลขการส่งออกสินค้าไทยเดือน มิ.ย. และช่วงครึ่งปี 2550 ในสัปดาห์นี้ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอข้อมูลการ รวบรวมตัวเลขจากทางกรมศุลกากรอยู่ คาดว่าไม่เกินวันที่ 23-24 ก.ค.นี้ น่าจะสามารถสรุปตัวเลข การส่งออกที่ชัดเจนได้
กระทรวงยังเชื่อมั่นว่า การส่งออกในปี 2550 จะสามารถส่งออกได้ไม่ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ 145,962 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือมีอัตราเติบโตกว่า 12.5% จากฐานการคำนวณเงินบาทอยู่ที่ 35.5 บาทต่อเหรียญสหรัฐ แม้ค่าเงินบาทจะแข็งค่าขึ้นโดยได้เงินบาทน้อยลง แต่หากเทียบเป็นเงินเหรียญสหรัฐยังถือว่าสูงอยู่และน่าจะได้ดุลการค้าไม่ต่ำกว่า 6-7 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเป็นเงินบาทน่าจะอยูที่ 3.4-3.5 แสนล้านบาท โดย 5 เดือนแรกปีนี้ ส่งออก 58,748 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 18.8%
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180370
โพสต์ทูเดย์ เชื่อตัวเลขส่งออกครึ่งปีโต 18% แม้ได้รับผลกระทบจากค่าบาทแข็ง
แหล่งข่าวกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยว่า ตัวเลขการส่งออกโดยรวมในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 โดยเฉลี่ยยังมีอัตราการเติบโตกว่า 18% และยังได้ดุลการค้าต่อเนื่อง แม้ว่าภาคการส่งออกโดยรวม จะได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นมามากก็ตาม
หากคิดเป็นในรูปเงินเหรียญสหรัฐถือ ว่าการส่งออกไม่ลดลง แต่เทียบเป็นเงินบาท ถือว่าส่งออกได้น้อยลง โดยนายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.พาณิชย์ จะแถลงตัวเลขการส่งออกสินค้าไทยเดือน มิ.ย. และช่วงครึ่งปี 2550 ในสัปดาห์นี้ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอข้อมูลการ รวบรวมตัวเลขจากทางกรมศุลกากรอยู่ คาดว่าไม่เกินวันที่ 23-24 ก.ค.นี้ น่าจะสามารถสรุปตัวเลข การส่งออกที่ชัดเจนได้
กระทรวงยังเชื่อมั่นว่า การส่งออกในปี 2550 จะสามารถส่งออกได้ไม่ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ 145,962 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือมีอัตราเติบโตกว่า 12.5% จากฐานการคำนวณเงินบาทอยู่ที่ 35.5 บาทต่อเหรียญสหรัฐ แม้ค่าเงินบาทจะแข็งค่าขึ้นโดยได้เงินบาทน้อยลง แต่หากเทียบเป็นเงินเหรียญสหรัฐยังถือว่าสูงอยู่และน่าจะได้ดุลการค้าไม่ต่ำกว่า 6-7 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเป็นเงินบาทน่าจะอยูที่ 3.4-3.5 แสนล้านบาท โดย 5 เดือนแรกปีนี้ ส่งออก 58,748 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 18.8%
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180370
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news24/07/07
โพสต์ที่ 106
ประกันสังคมฟันกำไรลงทุน ครึ่งปีหมื่นล้าน
โพสต์ทูเดย์ ครึ่งปีแรกฟันกำไรทะลุหมื่นล้าน
นายสุรินทร์ จิรวิศิษฎ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า ในรอบ 6 เดือนของปี ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนรวม 1.01 หมื่นล้านบาท แยกเป็นดอกเบี้ยรับจากพันธบัตรและหุ้นกู้ 9.01 พันล้านบาท เงินปันผลและกำไรจากการขายหุ้น 1.1 พันล้านบาท
ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนย้อนหลัง 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิ.ย.2550 นั้น จะสูงถึง 6% ของวงเงินลงทุนทั้งหมด 4.56 แสนล้านบาท คิดเป็น 2.73 หมื่นล้านบาท และคาดว่าทั้งปีจะได้รับผลตอบแทน 55.5% สูงกว่าที่ประมาณการไว้เดิมที่ 4.55% โดยมีปัจจัยบวกจากสถานการณ์การเมืองที่คลี่คลาย ทำให้บรรยากาศการลงทุนในตลาดพันธบัตรและตลาดหลักทรัพย์ในช่วงครึ่งปีหลังดีขึ้น
หากดัชนีตลาดหลักทรัพย์สิ้นปีนี้ปิดที่ 800 จุด กองทุนประกันสังคมจะได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้น 18-20%
สำหรับการบริหารเงินกองทุนเงินทดแทนมีเงินลงทุนรวม 2.35 หมื่นล้าน บาทนั้น ในช่วง 6 เดือนแรก ได้รับผลตอบแทนรวม 517 ล้านบาท คิดเป็น 4.63%
ทั้งนี้ แต่ละปีกองทุนประกันสังคมมีเงินสมทบ 1 แสนล้านบาท มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสิทธิประโยชน์ทั้ง 7 กรณี (เจ็บป่วย ตาย ทุพพลภาพ คลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน) รวม 4 หมื่นบาท ทำให้มีเงินออมของผู้ประกันตนไหลเข้ากองทุนให้ต้องนำไปลงทุนประมาณปีละ 6 หมื่นล้านบาท ดังนั้นจึงต้องพิจารณาลงทุนในด้านต่างๆ เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีอย่างรอบคอบ
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180548
โพสต์ทูเดย์ ครึ่งปีแรกฟันกำไรทะลุหมื่นล้าน
นายสุรินทร์ จิรวิศิษฎ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า ในรอบ 6 เดือนของปี ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนรวม 1.01 หมื่นล้านบาท แยกเป็นดอกเบี้ยรับจากพันธบัตรและหุ้นกู้ 9.01 พันล้านบาท เงินปันผลและกำไรจากการขายหุ้น 1.1 พันล้านบาท
ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนย้อนหลัง 12 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิ.ย.2550 นั้น จะสูงถึง 6% ของวงเงินลงทุนทั้งหมด 4.56 แสนล้านบาท คิดเป็น 2.73 หมื่นล้านบาท และคาดว่าทั้งปีจะได้รับผลตอบแทน 55.5% สูงกว่าที่ประมาณการไว้เดิมที่ 4.55% โดยมีปัจจัยบวกจากสถานการณ์การเมืองที่คลี่คลาย ทำให้บรรยากาศการลงทุนในตลาดพันธบัตรและตลาดหลักทรัพย์ในช่วงครึ่งปีหลังดีขึ้น
หากดัชนีตลาดหลักทรัพย์สิ้นปีนี้ปิดที่ 800 จุด กองทุนประกันสังคมจะได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้น 18-20%
สำหรับการบริหารเงินกองทุนเงินทดแทนมีเงินลงทุนรวม 2.35 หมื่นล้าน บาทนั้น ในช่วง 6 เดือนแรก ได้รับผลตอบแทนรวม 517 ล้านบาท คิดเป็น 4.63%
ทั้งนี้ แต่ละปีกองทุนประกันสังคมมีเงินสมทบ 1 แสนล้านบาท มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสิทธิประโยชน์ทั้ง 7 กรณี (เจ็บป่วย ตาย ทุพพลภาพ คลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน) รวม 4 หมื่นบาท ทำให้มีเงินออมของผู้ประกันตนไหลเข้ากองทุนให้ต้องนำไปลงทุนประมาณปีละ 6 หมื่นล้านบาท ดังนั้นจึงต้องพิจารณาลงทุนในด้านต่างๆ เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีอย่างรอบคอบ
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180548
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news24/07/07
โพสต์ที่ 107
รัฐกางแผนอุ้มเอสเอ็มอี ฝ่าวิกฤตอัตราแลกเปลี่ยน เจรจาแบงก์ผ่อนปรนหนี้ ช่วยแก้ปัญหาสภาพคล่อง
สสว. ชูมาตรการดูแลและแก้ปัญหาให้กับกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs จากพิษบาทแข็งอาทิเสริมสภาพคล่องให้กิจการ ส่งเสริมให้ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือทางการเงินบริหารความเสี่ยง สนับสนุนหาตลาดใหม่ในต่างประเทศ
นางจิตราภรณ์ เตชาชาญ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เปิดเผยว่า ในภาวะที่เงินบาทมีแนวโน้มการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องและการผันผวนของค่าเงินบาททุกครั้งจะส่งผลต่อภาคการส่งออก นำเข้า รวมทั้งการลงทุนและการบริโภคในประเทศ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเปิดที่ต้องพึ่งพิงการส่งออกอยู่ในระดับค่อนข้างสูง
ทั้งนี้ภาครัฐจะมีมาตรการในการดูแลและแก้ปัญหาให้กับผู้ประกอบการ SMEs แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มมาตรการ คือด้านการเงินในระดับมหภาค เพื่อดูแลการไหลเข้าออกของเงินทุน ซึ่งจะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลัง ส่วนอีกมาตรการหนึ่ง คือการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อลดผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ การจ้างงานและผลเชื่อมโยงต่อการผลิตวัตถุดิบในประเทศ ประกอบด้วย มาตรการระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว
กลุ่มอุตสาหกรรมที่จะได้รับผลกระทบในด้านลบจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาทคือ กลุ่มที่ส่งออกมากและใช้ปัจจัยการผลิตในประเทศมาก เช่น อาหาร สิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์ และยานยนต์ ส่วนที่มีการส่งออกมากและนำเข้าปัจจัยการผลิตมาก ก็จะได้รับผลกระทบในด้านลบจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ประกอบด้วย อัญมณีและเครื่องประดับ อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ การผลิตเครื่องรับโทรทัศน์และวิทยุ และสินค้าที่เกี่ยวข้อง การผลิตเครื่องจักรสำนักงาน เครื่องทำบัญชี และเครื่องคำนวณ
มาตรการที่สสว. จะเสนอต่อภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องคือมาตรการระยะสั้น แก้ปัญหาการขาดสภาพคล่อง โดยประสานกับสถาบันการเงินเพื่อหาแนวทางร่วมกันซึ่งอาจจะช่วยเหลือด้วยรูปแบบของการผ่อนปรนระยะเวลาการชำระหนี้ (Refinance)และส่งเสริมให้SMEs ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือทางการเงินเพื่อบริหารความเสี่ยงในการค้ากับต่างประเทศ เช่นการค้ำประกันความเสี่ยง การใช้ระบบ OFF-SET ในการชำระค่าสินค้าและวัตถุดิบ ตลอดจนการส่งเสริมให้ SMEs กระจายความเสี่ยงทางธุรกิจด้วยการหาตลาดใหม่ เพื่อลดสัดส่วนรายได้ในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ และเพิ่มสัดส่วนธุรกรรมที่เป็นเงินตราสกุลอื่นๆ
ปัจจุบันสสว. มีเครื่องมือสนับสนุน SMEs ในการขยายธุรกิจในต่างประเทศได้แก่ ระบบสนับสนุน SMEs ด้านการขยายธุรกิจในต่างประเทศ หรือ Internationalization Program โดยเป็นกิจกรรมที่จะสนับสนุนการเข้าร่วมแสดงสินค้าระดับนานาชาติ การจับคู่ทางธุรกิจ การลงทุนในต่างประเทศ
นอกจากนี้ ยังได้ร่วมดำเนินโครงการจับคู่ธุรกิจ(Business Matching)กับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) โดยสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs เข้าร่วมกิจกรรมพบปะเพื่อการซื้อขาย ซึ่งจะจัดขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้จะสนับสนุนให้ปรับปรุงประสิทธิภาพภายในกิจการ เช่นลดต้นทุนปรับปรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ พัฒนาบุคลากร
ผู้ประกอบการSMEs สามารถเข้ามารับการสนับสนุนจากเครื่องมือของ สสว. ได้แก่ระบบการบริการที่ปรึกษา (Consultancy Program) เพื่ออุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาระบบธุรกิจ โดย สสว. จะสนับสนุนค่าใช้จ่ายไม่เกิน 50% ของวงเงินไม่เกิน 250,000 บาท ตลอดจนบริการให้คำปรึกษาแนะนำแบบครบวงจร และโครงการปรับปรุง/ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักร (Machine Fund) ที่สสว. ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และธนาคาร 9 แห่ง พิจารณาสินเชื่อเพื่อปรับปรุงเครื่องจักรแก่ SMEs โดย สสว. จะช่วยสนับสนุนดอกเบี้ยบางส่วนในอัตรา 3% ต่อปี สำหรับระยะเวลา 5 ปีแรก
มาตรการระยะสั้นที่ปฏิบัติได้ทันทีก็คือการสนับสนุนให้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างธุรกิจ โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น หรือต่อยอดธุรกิจไปยังสาขาธุรกิจใหม่ โดยเฉพาะการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาโดย สสว. มีระบบสนับสนุนการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับSMEs (Intellectual Property Program) เพื่อสนับสนุน SMEsในการจดทะเบียนของอนุญาตใช้สิทธิ์ หรือซื้อทรัพย์สินทางปัญญา นอกจากนี้ยังสนับสนุนการพัฒนาตราสินค้า(Brand) ของตนเอง ซึ่งดำเนินการโดยบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ เช่น สมาคมการจัดการธุรกิจ
ส่วนมาตรการในระยะปานกลาง และระยะยาวนั้น สสว. จะสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs ปรับตัวโดยการไปลงทุนหรือขยายกิจการไปสู่ต่างประเทศ การปรับเปลี่ยนธุรกิจ ซึ่ง สสว. จะได้หารือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอมาตรการที่เหมาะสม รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการต่อไป
http://www.naewna.com/news.asp?ID=68791
สสว. ชูมาตรการดูแลและแก้ปัญหาให้กับกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs จากพิษบาทแข็งอาทิเสริมสภาพคล่องให้กิจการ ส่งเสริมให้ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือทางการเงินบริหารความเสี่ยง สนับสนุนหาตลาดใหม่ในต่างประเทศ
นางจิตราภรณ์ เตชาชาญ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เปิดเผยว่า ในภาวะที่เงินบาทมีแนวโน้มการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องและการผันผวนของค่าเงินบาททุกครั้งจะส่งผลต่อภาคการส่งออก นำเข้า รวมทั้งการลงทุนและการบริโภคในประเทศ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเปิดที่ต้องพึ่งพิงการส่งออกอยู่ในระดับค่อนข้างสูง
ทั้งนี้ภาครัฐจะมีมาตรการในการดูแลและแก้ปัญหาให้กับผู้ประกอบการ SMEs แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มมาตรการ คือด้านการเงินในระดับมหภาค เพื่อดูแลการไหลเข้าออกของเงินทุน ซึ่งจะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลัง ส่วนอีกมาตรการหนึ่ง คือการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อลดผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ การจ้างงานและผลเชื่อมโยงต่อการผลิตวัตถุดิบในประเทศ ประกอบด้วย มาตรการระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว
กลุ่มอุตสาหกรรมที่จะได้รับผลกระทบในด้านลบจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาทคือ กลุ่มที่ส่งออกมากและใช้ปัจจัยการผลิตในประเทศมาก เช่น อาหาร สิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์ และยานยนต์ ส่วนที่มีการส่งออกมากและนำเข้าปัจจัยการผลิตมาก ก็จะได้รับผลกระทบในด้านลบจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ประกอบด้วย อัญมณีและเครื่องประดับ อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ การผลิตเครื่องรับโทรทัศน์และวิทยุ และสินค้าที่เกี่ยวข้อง การผลิตเครื่องจักรสำนักงาน เครื่องทำบัญชี และเครื่องคำนวณ
มาตรการที่สสว. จะเสนอต่อภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องคือมาตรการระยะสั้น แก้ปัญหาการขาดสภาพคล่อง โดยประสานกับสถาบันการเงินเพื่อหาแนวทางร่วมกันซึ่งอาจจะช่วยเหลือด้วยรูปแบบของการผ่อนปรนระยะเวลาการชำระหนี้ (Refinance)และส่งเสริมให้SMEs ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือทางการเงินเพื่อบริหารความเสี่ยงในการค้ากับต่างประเทศ เช่นการค้ำประกันความเสี่ยง การใช้ระบบ OFF-SET ในการชำระค่าสินค้าและวัตถุดิบ ตลอดจนการส่งเสริมให้ SMEs กระจายความเสี่ยงทางธุรกิจด้วยการหาตลาดใหม่ เพื่อลดสัดส่วนรายได้ในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ และเพิ่มสัดส่วนธุรกรรมที่เป็นเงินตราสกุลอื่นๆ
ปัจจุบันสสว. มีเครื่องมือสนับสนุน SMEs ในการขยายธุรกิจในต่างประเทศได้แก่ ระบบสนับสนุน SMEs ด้านการขยายธุรกิจในต่างประเทศ หรือ Internationalization Program โดยเป็นกิจกรรมที่จะสนับสนุนการเข้าร่วมแสดงสินค้าระดับนานาชาติ การจับคู่ทางธุรกิจ การลงทุนในต่างประเทศ
นอกจากนี้ ยังได้ร่วมดำเนินโครงการจับคู่ธุรกิจ(Business Matching)กับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) โดยสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs เข้าร่วมกิจกรรมพบปะเพื่อการซื้อขาย ซึ่งจะจัดขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้จะสนับสนุนให้ปรับปรุงประสิทธิภาพภายในกิจการ เช่นลดต้นทุนปรับปรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ พัฒนาบุคลากร
ผู้ประกอบการSMEs สามารถเข้ามารับการสนับสนุนจากเครื่องมือของ สสว. ได้แก่ระบบการบริการที่ปรึกษา (Consultancy Program) เพื่ออุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจ้างที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาระบบธุรกิจ โดย สสว. จะสนับสนุนค่าใช้จ่ายไม่เกิน 50% ของวงเงินไม่เกิน 250,000 บาท ตลอดจนบริการให้คำปรึกษาแนะนำแบบครบวงจร และโครงการปรับปรุง/ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักร (Machine Fund) ที่สสว. ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และธนาคาร 9 แห่ง พิจารณาสินเชื่อเพื่อปรับปรุงเครื่องจักรแก่ SMEs โดย สสว. จะช่วยสนับสนุนดอกเบี้ยบางส่วนในอัตรา 3% ต่อปี สำหรับระยะเวลา 5 ปีแรก
มาตรการระยะสั้นที่ปฏิบัติได้ทันทีก็คือการสนับสนุนให้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างธุรกิจ โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น หรือต่อยอดธุรกิจไปยังสาขาธุรกิจใหม่ โดยเฉพาะการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาโดย สสว. มีระบบสนับสนุนการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับSMEs (Intellectual Property Program) เพื่อสนับสนุน SMEsในการจดทะเบียนของอนุญาตใช้สิทธิ์ หรือซื้อทรัพย์สินทางปัญญา นอกจากนี้ยังสนับสนุนการพัฒนาตราสินค้า(Brand) ของตนเอง ซึ่งดำเนินการโดยบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ เช่น สมาคมการจัดการธุรกิจ
ส่วนมาตรการในระยะปานกลาง และระยะยาวนั้น สสว. จะสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs ปรับตัวโดยการไปลงทุนหรือขยายกิจการไปสู่ต่างประเทศ การปรับเปลี่ยนธุรกิจ ซึ่ง สสว. จะได้หารือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอมาตรการที่เหมาะสม รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการต่อไป
http://www.naewna.com/news.asp?ID=68791
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news24/07/07
โพสต์ที่ 108
พาณิชย์เผยส่งออกมิ.ย.โต 17.7%
รมว. พาณิชย์เผยส่งออก เดือนมิ.ย.ขยายตัว 17.7% นำเข้าโต 5.2% เกินดุล 882 ล้านดอลล์ รวม 6เดือนส่งออกโต 18.6% นำเข้า โต 5.6% ทำไทยเกินดุล 5,505.9 พันล้านดอลล์
นายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่า การส่งออกของไทยในเดือนมิ.ย.50 ขยายตัว 17.7% คิดเป็นมูลค่า 12,852.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนการนำเข้าขยายตัว 5.2% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 11,970 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้า 882 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สำหรับการส่งออกช่วงครึ่งปีแรก(ม.ค.-มิ.ย.50) ขยายตัว 18.6% โดยมีมูลค่า 71.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การนำเข้าขยายตัว 5.6% หรือมีมูลค่า 66,093.9 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้ไทยเกินดุลการค้าประมาณ 5,505.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
"สินค้าสำคัญส่งออกได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกหมวด ทั้งสินค้าเกษตรและ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยยอดส่งออกในเดือนมิถุนายนเกือบจะสูงสุดในรอบ 6 เดือน จะต่ำอยู่เพียงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาเท่านั้น"นายเกริกไกร กล่าว
นายเกริกไกร กล่าวว่า ในเดือนมิ.ย.การส่งออกไปยังตลาดใหม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากถึง 25.9% โดยตลาดอินเดียขยายตัว 74% ยุโรปตะวันออก 73% ตะวันออกกลาง 39% จีน 29% ส่วนตลาดหลักที่ยังขยายตัวได้ดี คือ สหภาพยุโรป 24% ญี่ปุ่น 17% ยกเว้นตลาดสหรัฐฯที่ชะลอตัวลงมาตั้งแต่ต้นปี เนื่องจากกำลังซื้อชะลอตัวลง
ส่วนด้านการนำเข้าในเดือนมิ.ย. สินค้านำเข้าเพิ่มขึ้นทุกหมวดเช่นกัน ยกเว้นสินค้าประเภทเชื้อเพลิงลดลง 1.4% เนื่องจากผลกระทบการแข็งค่าของเงินบาท
นายเกริกไกร คาดว่า การส่งออกในปีนี้น่าจะบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ว่าจะขยายตัว 12.5% แต่จะต้องติดตามสถานการณ์ค่าเงินบาทในช่วง 3 เดือนข้างหน้าด้วยว่ามีผลกระทบต่อการส่งออกหรือไม่
"แม้ค่าเงินบาทจะแข็งค่า แต่การส่งออกของเราก็ดีกว่าพวกท่านคิด" รมว.พาณิชย์ กล่าว
นายกฤษฎา เปี่ยมพงศ์สานต์ โฆษกกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า สาเหตุที่กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ปรับเป้าการส่งออกในปีนี้ เนื่องจากสถานการณ์ของค่าเงินบาทยังมีความผันผวนอยู่ หากปรับเปลี่ยนเกรงว่าอาจจะเกิดความสับสน คงจะรอให้ค่าเงินมีความชัดเจนก่อน
http://www.posttoday.com/breakingnews.php?id=180693
รมว. พาณิชย์เผยส่งออก เดือนมิ.ย.ขยายตัว 17.7% นำเข้าโต 5.2% เกินดุล 882 ล้านดอลล์ รวม 6เดือนส่งออกโต 18.6% นำเข้า โต 5.6% ทำไทยเกินดุล 5,505.9 พันล้านดอลล์
นายเกริกไกร จีระแพทย์ รมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่า การส่งออกของไทยในเดือนมิ.ย.50 ขยายตัว 17.7% คิดเป็นมูลค่า 12,852.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนการนำเข้าขยายตัว 5.2% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 11,970 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้า 882 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สำหรับการส่งออกช่วงครึ่งปีแรก(ม.ค.-มิ.ย.50) ขยายตัว 18.6% โดยมีมูลค่า 71.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การนำเข้าขยายตัว 5.6% หรือมีมูลค่า 66,093.9 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้ไทยเกินดุลการค้าประมาณ 5,505.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
"สินค้าสำคัญส่งออกได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกหมวด ทั้งสินค้าเกษตรและ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยยอดส่งออกในเดือนมิถุนายนเกือบจะสูงสุดในรอบ 6 เดือน จะต่ำอยู่เพียงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาเท่านั้น"นายเกริกไกร กล่าว
นายเกริกไกร กล่าวว่า ในเดือนมิ.ย.การส่งออกไปยังตลาดใหม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากถึง 25.9% โดยตลาดอินเดียขยายตัว 74% ยุโรปตะวันออก 73% ตะวันออกกลาง 39% จีน 29% ส่วนตลาดหลักที่ยังขยายตัวได้ดี คือ สหภาพยุโรป 24% ญี่ปุ่น 17% ยกเว้นตลาดสหรัฐฯที่ชะลอตัวลงมาตั้งแต่ต้นปี เนื่องจากกำลังซื้อชะลอตัวลง
ส่วนด้านการนำเข้าในเดือนมิ.ย. สินค้านำเข้าเพิ่มขึ้นทุกหมวดเช่นกัน ยกเว้นสินค้าประเภทเชื้อเพลิงลดลง 1.4% เนื่องจากผลกระทบการแข็งค่าของเงินบาท
นายเกริกไกร คาดว่า การส่งออกในปีนี้น่าจะบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ว่าจะขยายตัว 12.5% แต่จะต้องติดตามสถานการณ์ค่าเงินบาทในช่วง 3 เดือนข้างหน้าด้วยว่ามีผลกระทบต่อการส่งออกหรือไม่
"แม้ค่าเงินบาทจะแข็งค่า แต่การส่งออกของเราก็ดีกว่าพวกท่านคิด" รมว.พาณิชย์ กล่าว
นายกฤษฎา เปี่ยมพงศ์สานต์ โฆษกกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า สาเหตุที่กระทรวงพาณิชย์ยังไม่ปรับเป้าการส่งออกในปีนี้ เนื่องจากสถานการณ์ของค่าเงินบาทยังมีความผันผวนอยู่ หากปรับเปลี่ยนเกรงว่าอาจจะเกิดความสับสน คงจะรอให้ค่าเงินมีความชัดเจนก่อน
http://www.posttoday.com/breakingnews.php?id=180693
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news24/07/07
โพสต์ที่ 109
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เผยมาตรการแก้ไขการแข็งค่าของเงินบาท
24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 14:25:00
มาตรการแก้ไขการแข็งค่าของเงินบาท : ตลาดตอบรับ แต่ความไม่แน่นอนยังรออยู่
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : การแข็งค่าสูงสุดในรอบ 10 ปีของเงินบาท กำลังส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมส่งออกของไทยที่ต้องแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งหากทำการประเมินความสามารถทางการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับคู่ค้าผ่านดัชนีเงินดอลลาร์ฯ (Nominal Broad Dollar Index) จะพบว่า ไทยเสียเปรียบทางด้านการค้าให้กับประเทศคู่ค้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเงินดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงประมาณ 7.8% นับจากต้นปี 2549 เมื่อเทียบกับตะกร้าเงินซึ่งประกอบไปด้วยคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ในขณะที่ เงินดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงถึง 18% เมื่อเทียบกับเงินบาท ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว ทำให้มีการทยอยปิดกิจการของโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นแรงกดดันต่อเนื่องให้ภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย ต้องเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทอย่างเร่งด่วน พร้อมๆ กับการออกมาตรการช่วยเหลืออื่นๆ เพื่อดูแลให้ผลกระทบต่อผู้ประกอบการเกิดขึ้นน้อยที่สุด
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ทำการวิเคราะห์มาตรการดูแลค่าเงินบาทที่คาดว่าครม.จะให้ความเห็นชอบ โดยมาตรการดังกล่าวสามารถแบ่งออกเป็น 3 แนวทางด้วยกันดังนี้
1. มาตรการที่เน้นการถือครองเงินตราต่างประเทศให้ยาวนานขึ้น
- มาตรการผ่อนปรนการถือครองเงินดอลลาร์ฯ แก่ผู้ส่งออก ตลอดจน มาตรการขยายเวลาการนำเงินเข้าประเทศกรณีคนไทยขายสินค้าในต่างประเทศ เป็นมาตรการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อชะลอความต้องการเงินบาท และชะลอการนำเงินเข้าประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการที่มีแนวโน้มจะต้องใช้เงินตราต่างประเทศในอนาคตสามารถสะสมเงินตราต่างประเทศไว้ เพื่อเพิ่มความคล่องตัวและเพื่อรองรับกับความต้องการในอนาคต เช่น ชำระค่านำเข้าเครื่องจักร หรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต โดยมีข้อดีก็คือ ทำให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนได้
แต่มาตรการดังกล่าวจะเห็นผลก็ต่อเมื่อ ผู้ที่จะเพิ่มการถือครองเงินตราต่างประเทศจะต้องเชื่อมั่นว่าเงินบาทจะมีทิศทางอ่อนค่าลง แต่หากผู้ที่มีแนวโน้มที่จะได้รับเงินตราต่างประเทศในอนาคตยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทยังมีโอกาสที่จะแข็งค่าขึ้นอีกก็จะทำให้ปัญหาการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกมา ยังไม่ถูกแก้ไขลง
- มาตรการที่อนุญาตให้ฝากเงินในประเทศเป็นสกุลต่างประเทศได้ เป็นมาตรการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศ แต่จะได้ผลดีก็ต่อเมื่ออัตราดอกเบี้ยของการฝากเงินในรูปเงินตราต่างประเทศ เมื่อหักค่าธรรมเนียมต่างๆ แล้ว มีความน่าดึงดูดมากกว่าการฝากเงินในรูปเงินบาทที่มีความคล่องตัว และเป็นที่คุ้นเคยของประชาชนมากกว่า
- มาตรการที่ให้ภาคธุรกิจสามารถชำระค่าใช้จ่ายในรูปเงินตราต่างประเทศได้ เช่น อนุญาตให้ภาคธุรกิจสามารถชำระค่าระวางเรือหรือค่าวัตถุดิบที่ใช้ในประเทศเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ซึ่งมีความสอดคล้องกับรายได้ของภาคธุรกิจส่งออกที่มีรายได้อยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศ เป็นมาตรการที่จะสามารถช่วยลดแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ เพื่อแปลงเป็นเงินบาท
2. มาตรการที่เน้นผ่อนคลาย และสนับสนุนการไหลออกของเงินทุน
- การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท จะสามารถเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศและลดแรงกดดันต่อช่วงขาขึ้นของเงินบาทได้อย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องดูวงเงินที่สามารถทำได้จริงว่ามีมูลค่ามาก-น้อยเพียงไร และติดเงื่อนไขอื่นๆ หรือไม่ ในขณะที่ในส่วนของการแปลงหนี้ต่างประเทศกลับมาเป็นสกุลเงินบาทนั้น จะต้องมีเงื่อนไขที่ว่า ต้นทุนของการกลับมาก่อหนี้ในรูปเงินบาทจะต้องน้อยกว่าต้นทุนของการก่อหนี้ในรูปเงินตราต่างประเทศ
ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจบางแห่งอาจมีข้อจำกัดในการเร่งคืนหนี้ต่างประเทศ เช่น รัฐวิสาหกิจในสังกัดปตท.และกฟผ.เนื่องจากติดเงื่อนไขบางประการ และได้มีการทยอยคืนหนี้ในช่วงก่อนหน้านี้ไปแล้ว โดยในส่วนของปตท.หนี้ต่างประเทศส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของการออกหุ้นกู้ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งติดเงื่อนไขการไถ่ถอนคืนก่อนกำหนด ขณะที่ ในส่วนของกฟผ.จะต้องมีการเจรจากับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (ไอพีพี) ซึ่งขายไฟฟ้าเข้าระบบปัจจุบันว่าสามารถคืนหนี้ในรูปเงินดอลลาร์ฯ ก่อนกำหนดได้หรือไม่
3. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท
มาตรการดังกล่าวเน้นไปที่การเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับผู้ประกอบการ ซึ่งประกอบด้วย 1. ตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ส่งออก เพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการปล่อยกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นพิเศษ โดยจะมีวงเงินเริ่มต้นที่ 5 พันล้านบาท และ 2. การขอให้ภาครัฐเร่งคืนภาษีให้กับผู้ส่งออกทั้ง 19 ทวิ และภาษีมุมน้ำเงิน เพื่อช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ
ข้อเสนออื่นๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาท
มีนักวิชาการหลายท่านได้ออกมาเสนอวิธีการแก้ปัญหาเงินบาทอีกหลายแนวทาง ได้แก่
- ข้อเสนอให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยอย่างแรง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า เป็นความจริงที่ว่าการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างรุนแรง อาจสามารถลดแรงจูงใจของเงินทุนไหลเข้าได้ รวมทั้งอาจสามารถลดการก่อหนี้ต่างประเทศ และอาจช่วยทำให้จูงใจให้มีการไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งในท้ายที่สุดจะทำให้แรงกดดันให้เงินบาทแข็งค่ามีน้อยลง แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า การปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างมากจะเป็นการช็อกตลาด และอาจเป็นชนวนที่ทำให้เงินทุนไหลออกซึ่งอาจจะเป็นไปในระดับที่รุนแรงและยากต่อการควบคุมดูแลของทางการ ทั้งนี้ แม้ว่าผลในระยะสั้นนั้นมีความชัดเจนก็คือ การอ่อนค่าอย่างรวดเร็วของเงินบาท แต่ผลในระยะถัดไปจะต้องแลกกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่อาจต้องใช้ระยะเวลานานกว่าในการเยียวยาแก้ไข นอกจากนี้ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรุนแรงนั้น ไม่น่าจะเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาเงินบาทที่ตรงประเด็น เนื่องจากเงินทุนจากต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างมากนับตั้งแต่ต้นปี 2550 เป็นเงินทุนที่ไหลเข้ามาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ หากธปท. ยิ่งปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงก็อาจจะเป็นผลดีต่อตลาดหุ้น ซึ่งเป็นการลงทุนที่ได้รับการยกเว้นมาตรการกันสำรอง 30% และกระตุ้นให้มีเงินทุนจากต่างชาติไหลเข้าประเทศอีก และในท้ายที่สุดก็จะส่งผลกดดันต่อเงินบาทให้แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ข้อเสนอให้ยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น 30%
มาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น ถูกมองว่าเป็นตัวการหลักที่ทำให้ตลาดเงินบาทแบ่งออกเป็น 2 ตลาดอย่างชัดเจน ซึ่งถือเป็นตัวการที่บิดเบือนกลไกตลาด และก่อให้เกิดการเก็งกำไร และในช่วงที่ผ่านมา ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศ (Offshore) ที่แข็งค่ากว่าระดับ 30 บาทต่อดอลลาร์ฯ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลทางจิตวิทยาให้เกิดการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ในตลาดในประเทศ (Onshore) และทำให้เงินบาทตลาดในประเทศซึ่งได้รับปัจจัยบวกจากการไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศอยู่แล้วแข็งค่ามากขึ้นไปอีก
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า ตราบใดที่ความแตกต่างของเงินบาทระหว่าง 2 ตลาดยังไม่หมดไป แรงกดดันให้ธปท.ยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้นก็ยังคงจะมีต่อไปอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจะต้องรอดูความพยายามที่จะลดความแตกต่างระหว่างค่าเงินบาทใน 2 ตลาดของธปท.จากมาตการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2550 ที่อนุญาตปล่อยสภาพคล่องเงินบาทให้กับ Non Resident โดยธปท.ได้คาดการณ์ว่า สภาพคล่องเงินบาทที่เพิ่มขึ้นในตลาดต่างประเทศจะสามารถทำให้ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศอ่อนค่าลง พร้อมๆ กับเป็นการสร้างเสถียรภาพให้กับตลาดเงินบาท ซึ่งก็จะทำให้แรงกดดันให้ธปท.ยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% เบาบางลงด้วยอีกทางหนึ่ง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรองของธปท.ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม อาจไม่สามารถลดความผันผวนและหลีกเลี่ยงการเก็งกำไรเงินบาทได้ ทั้งนี้ มีความเป็นไปได้ว่า ผลที่เกิดจากการยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% จะออกมาในรูปของการไหลออกของเงินทุนอย่างรวดเร็ว หรือในรูปของเงินทุนไหลเข้าที่เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ทั้ง 2 ทางไม่น่าจะเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจไทยทั้งสิ้น ดังนั้น หากจะมีการประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น 30% ธปท.จะต้องมีการประเมินผลกระทบในทุกด้านอย่างถี่ถ้วน และจะต้องเลือกช่วงจังหวะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งยังไม่น่าจะเป็นช่วงเวลาขณะนี้ และจะต้องมีมาตรการอื่นที่พร้อมประกาศใช้เพื่อดูแลเสถียรภาพค่าเงินบาท ทั้งนี้ ผู้ว่าการธปท. ได้ออกมากล่าวย้ำในทิศทางเดียวกันว่า ประเทศไทยยังมีความจำเป็นต้องใช้มาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้นอยู่ เนื่องจากมาตรการดังกล่าวยังคงมีผลทางจิตวิทยา แม้ว่าในปัจจุบันนักลงทุนต่างชาติส่วนใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในไทยจะเลือกใช้วิธีการทำประกันความเสี่ยงไว้เต็มมูลค่าก็ตาม
- ข้อเสนอให้กลับไปใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การกลับไปใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (Fixed Exchange Rate Regime) เหมือนในอดีต หรือกำหนดกรอบการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทแบบที่ใช้ในประเทศจีน ไม่ใช่การตอบโจทย์ของการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทที่ตรงประเด็นนัก เนื่องจากระบบการเงินโลกในปัจจุบัน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเป็นไปอย่างรวดเร็ว การบิดเบือนกลไกตลาด ที่ทำให้อัตราแลกเปลี่ยนไม่สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจสามารถทำได้ระยะหนึ่งเท่านั้น
- ข้อเสนอให้แทรกแซงค่าเงินอย่างต่อเนื่อง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเข้าแทรกแซงตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศเป็นภาระของธปท. เนื่องจากการเข้าแทรกแซงด้วยการซื้อเงินตราต่างประเทศและขายเงินบาทนั้น จะทำให้ธปท.ต้องมีภาระดอกเบี้ยในการออกพันธบัตรตามมาเพื่อดูดซับสภาพคล่องส่วนเกินในระบบ และทำให้ธปท.มีแนวโน้มบันทึกผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อเนื่องจากปี 2548 และ2549 นอกจากนี้ การเข้าแทรกแซงตลาดท่ามกลางกระแสการไหลเวียนของเงินทุนต่างชาติมูลค่ามหาศาลนั้น ไม่สามารถเปลี่ยนทิศทางของค่าเงินได้ สามารถทำได้เพียงแค่เพื่อชะลอการแข็งค่าของเงินบาทเท่านั้น
ทิศทางค่าเงินบาท
ต้องยอมรับว่า เบื้องหลังที่ทำให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นได้อย่างต่อเนื่องนั้น มาจาก 3 ปัจจัยหลักได้แก่ การไหลเข้าของเงินทุนต่างประเทศ โดยเฉพาะเงินที่เข้ามาลงทุนในตลาดหุ้น ดังนั้นมาตรการสนับสนุนการไหลออกของเงินทุนน่าจะสามารถช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับกระแสการไหลเข้า-ออกของเงินทุนได้ดีขึ้น แรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ของผู้ส่งออก ซึ่งมีสิ่งที่หนุนหลังอยู่ก็คือ การเกินดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดซึ่งมาตรการผ่อนคลายการถือครองเงินตราต่างประเทศก็น่าจะช่วยชะลอแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกไป และการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์ฯ ซึ่งเป็นปัจจัยสุดท้ายที่ส่งผลทางอ้อมให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น และในขณะนี้ยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทจะแข็งค่าขึ้นอีกในอนาคต เนื่องจากดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยยังคงมีแนวโน้มที่จะบันทึกการเกินดุลต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดหุ้นไทยยังคงเป็นที่น่าสนใจของนักลงทุนต่างชาติ และในทางกลับกัน เงินดอลลาร์ฯ เองก็มีแนวโน้มที่ไม่สดใสนัก ความเป็นไปได้ที่จะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและบรรเทาผลกระทบจากปัญหาในตลาดซับไพร์ม ตลอดจนปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับสูงเป็นปัจจัยลบของเงินดอลลาร์ฯ ที่รออยู่เบื้องหน้า ดังนั้นประเด็นที่จะต้องมีการแก้ไข และเร่งสื่อความต่อภาคเอกชนก็คือ จะต้องมีการส่งสัญญาณที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวโน้มค่าเงินบาท และพยายามลดผลกระทบทางจิตวิทยาจากการที่ตลาดเงินบาทแบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด
อย่างไรก็ตาม การแข็งค่าของเงินบาทเป็นโอกาสของผู้ประกอบการและผู้นำเข้า ในการนำเข้าเครื่องจักร สินค้าทุน ตลอดจนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต และเมื่อการนำเข้าเร่งตัวขึ้น ก็จะส่งผลทำให้ดุลการค้ามีโอกาสเกินดุลลดลง ซึ่งก็จะช่วยบรรเทาแรงกดดันต่อการแข็งค่าของเงินบาทลงตามไปด้วย ดังนั้นรัฐบาลควรเร่งผลักดันโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ (Mega Projects) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และเรียกความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับคืนมา ประกอบกับต้องรักษาความต่อเนื่องของมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินบาททั้งในระยะสั้น และระยะยาว
สรุป
การแข็งค่าสูงสุดในรอบ 10 ปีของเงินบาท กำลังส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมส่งออกของไทยที่ต้องแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ขณะที่การทยอยปิดกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความอ่อนไหวต่ออัตราแลกเปลี่ยน เป็นแรงกดดันให้ภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย ต้องเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการและข้อเสนอที่คาดว่าจะได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีนั้น มีลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ
1.เป็นมาตการเน้นการถือครองเงินตราต่างประเทศให้ยาวนานขึ้น ได้แก่ มาตรการผ่อนปรนการถือครองเงินดอลลาร์ฯ แก่ผู้ส่งออก ตลอดจนมาตรการขยายเวลาการนำเงินเข้าประเทศกรณีคนไทยขายสินค้าในต่างประเทศ และมาตรการที่อนุญาตให้เปิดบัญชีเงินฝากในรูปเงินตราต่างประเทศได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า กลุ่มมาตรการดังกล่าวมีข้อดีก็คือ ทำให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนได้ แต่มาตรการดังกล่าวจะเห็นผลก็ต่อเมื่อ ผู้ที่จะเพิ่มการถือครองเงินตราต่างประเทศมีความมั่นใจว่าเงินบาทจะมีทิศทางอ่อนค่าลง แต่หากผู้ที่มีแนวโน้มที่จะได้รับเงินตราต่างประเทศในอนาคตยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทยังคงมีโอกาสที่จะแข็งค่าขึ้นอีกก็จะทำให้ปัญหาการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกมา ยังไม่ถูกแก้ไขลง
2.เป็นมาตรการเน้นผ่อนคลาย และสนับสนุนการไหลออกของเงินทุน ได้แก่ ให้รัฐบาลเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท จะสามารถเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศและลดแรงกดดันต่อช่วงขาขึ้นของเงินบาทได้อย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องดูวงเงินที่สามารถทำได้จริงว่ามีมูลค่ามาก-น้อยเพียงไร และติดเงื่อนไขอื่นๆ หรือไม่ ในขณะที่ในส่วนของการแปลงหนี้ต่างประเทศกลับมาเป็นสกุลเงินบาทนั้น จะต้องมีเงื่อนไขที่ว่า ต้นทุนของการกลับมาก่อหนี้ในรูปเงินบาทจะต้องน้อยกว่าต้นทุนของการก่อหนี้ในรูปเงินตราต่างประเทศ
3. เป็นมาตรการบรรเทาผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท ได้แก่ การจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ส่งออก เพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการปล่อยกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นพิเศษให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท โดยจะมีวงเงินเริ่มต้นที่ 5 พันล้านบาท และการเร่งคืนภาษีให้กับผู้ส่งออกทั้ง 19 ทวิ และภาษีมุมน้ำเงินตามข้อเสนอของกกร. เพื่อช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ
เงินบาทปรับตัวในทิศทางที่อ่อนค่าลงเพื่อรับข่าวเกี่ยวกับมาตรการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทจากทางการ โดยล่าสุดในวันที่ 23 กรกฎาคม 2550 เงินบาทในประเทศ (Onshore) ปิดตลาดที่ระดับ 33.67 บาทต่อดอลลาร์ฯ หรืออ่อนค่าลงแล้วประมาณ 1.5% หลังจากที่ได้ทะยานขึ้นทำสถิติสูงสุดในรอบ 10 ปีที่ระดับ 33.17 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2550 โดยเงินบาทมีปัจจัยลบจากแรงซื้อเงินดอลลาร์ฯ ซึ่งตลาดคาดว่าเป็นการเข้าแทรกแซงของธปท. นอกจากนี้ ยังเป็นผลทางด้านจิตวิทยาที่นักลงทุนส่วนใหญ่ยังรอการประกาศมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินบาทจากทางการ ขณะที่ผู้เล่นหลักในตลาดเงินบาทในประเทศ กลายเป็นฝั่งผู้นำเข้าที่เริ่มกลับเข้ามาซื้อเงินดอลลาร์ฯ ขณะที่ ผู้ส่งออกชะลอแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกไปก่อนเพื่อรอความชัดเจน และประเมินผลกระทบจากมาตรการของทางการ
อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การปรับตัวอ่อนค่าลงของเงินบาทเพื่อตอบรับกับมาตรการแก้ปัญหาค่าเงินบาทของทางการนั้น น่าจะเป็นเพียงผลทางจิตวิทยาที่เกิดขึ้นเท่านั้น แต่ผลในทางรูปธรรมยังไม่สามารถประเมินได้อย่างชัดเจน เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานที่จะสนับสนุนให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องนั้นยังคงมีอยู่ ทั้งนี้ เงินบาทยังมีแนวโน้มที่จะได้รับปัจจัยบวกจากการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างต่อเนื่องในช่วงที่เหลือของปี ขณะที่ เงินดอลลาร์ฯ มีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัญหาในตลาดซับไพร์มที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ และอาจทำให้เฟดต้องปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ความไร้เสถียรภาพของตลาดที่อยู่อาศัยในสหรัฐฯ อาจเป็นชนวนที่ทำให้เงินทุนจำนวนมากไหลออกจากตลาดการเงินสหรัฐฯ ซึ่งประเทศในแถบเอเชียรวมทั้งไทย อาจตกเป็นเป้าหมายของกองทุนเหล่านั้น และในท้ายที่สุดก็จะส่งผลทำให้แรงกดดันต่อการแข็งค่าของเงินบาทเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า มาตรการล่าสุดในการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทยังไม่ใช่คำตอบสุดท้ายที่จะสร้างเสถียรภาพให้กับค่าเงิน โดยยังมีอีกหลายปัจจัยที่อาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินบาทรออยู่ในช่วงถัดไป ซึ่งทำให้ความต่อเนื่องของมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นเพื่อบรรเทาผลกระทบ และลดความผันผวนที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ภาคธุรกิจไทยได้มีเวลาปรับตัว ทั้งนี้ เงินบาทได้แข็งค่าขึ้นมาอย่างต่อเนื่องแล้วในช่วงประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา และในขณะนี้มาถึงจุดเปลี่ยนของผู้ส่งออกที่จะต้องเร่งปรับตัวเอง เรียนรู้ที่จะประเมินความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อหลีกเลี่ยงการเดินตามรอยเดิมเมื่อความผันผวนของเงินบาทกลายเป็นปัจจัยเสี่ยงอีกครั้งในอนาคต ขณะที่ ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องเตรียมมาตรการดูแลการเคลื่อนไหวของเงินทุนที่มีประสิทธิภาพ พร้อมๆ กับการปรับโครงสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมอย่างจริงจังตามข้อเสนอระยะกลางและระยะยาวของกกร.เมื่อประเทศคู่แข่งทางการค้ามีความได้เปรียบอุตสาหกรรมไทยมากขึ้น เพื่อให้ภาคธุรกิจไทยมีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะรองรับกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และสามารถรักษาความสามารถทางการแข่งขันได้
ที่มา:บริษัทศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/2 ... wsid=85818
24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 14:25:00
มาตรการแก้ไขการแข็งค่าของเงินบาท : ตลาดตอบรับ แต่ความไม่แน่นอนยังรออยู่
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : การแข็งค่าสูงสุดในรอบ 10 ปีของเงินบาท กำลังส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมส่งออกของไทยที่ต้องแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งหากทำการประเมินความสามารถทางการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับคู่ค้าผ่านดัชนีเงินดอลลาร์ฯ (Nominal Broad Dollar Index) จะพบว่า ไทยเสียเปรียบทางด้านการค้าให้กับประเทศคู่ค้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเงินดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงประมาณ 7.8% นับจากต้นปี 2549 เมื่อเทียบกับตะกร้าเงินซึ่งประกอบไปด้วยคู่ค้าหลักของสหรัฐฯ ในขณะที่ เงินดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงถึง 18% เมื่อเทียบกับเงินบาท ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว ทำให้มีการทยอยปิดกิจการของโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นแรงกดดันต่อเนื่องให้ภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย ต้องเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทอย่างเร่งด่วน พร้อมๆ กับการออกมาตรการช่วยเหลืออื่นๆ เพื่อดูแลให้ผลกระทบต่อผู้ประกอบการเกิดขึ้นน้อยที่สุด
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ทำการวิเคราะห์มาตรการดูแลค่าเงินบาทที่คาดว่าครม.จะให้ความเห็นชอบ โดยมาตรการดังกล่าวสามารถแบ่งออกเป็น 3 แนวทางด้วยกันดังนี้
1. มาตรการที่เน้นการถือครองเงินตราต่างประเทศให้ยาวนานขึ้น
- มาตรการผ่อนปรนการถือครองเงินดอลลาร์ฯ แก่ผู้ส่งออก ตลอดจน มาตรการขยายเวลาการนำเงินเข้าประเทศกรณีคนไทยขายสินค้าในต่างประเทศ เป็นมาตรการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อชะลอความต้องการเงินบาท และชะลอการนำเงินเข้าประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการที่มีแนวโน้มจะต้องใช้เงินตราต่างประเทศในอนาคตสามารถสะสมเงินตราต่างประเทศไว้ เพื่อเพิ่มความคล่องตัวและเพื่อรองรับกับความต้องการในอนาคต เช่น ชำระค่านำเข้าเครื่องจักร หรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต โดยมีข้อดีก็คือ ทำให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนได้
แต่มาตรการดังกล่าวจะเห็นผลก็ต่อเมื่อ ผู้ที่จะเพิ่มการถือครองเงินตราต่างประเทศจะต้องเชื่อมั่นว่าเงินบาทจะมีทิศทางอ่อนค่าลง แต่หากผู้ที่มีแนวโน้มที่จะได้รับเงินตราต่างประเทศในอนาคตยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทยังมีโอกาสที่จะแข็งค่าขึ้นอีกก็จะทำให้ปัญหาการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกมา ยังไม่ถูกแก้ไขลง
- มาตรการที่อนุญาตให้ฝากเงินในประเทศเป็นสกุลต่างประเทศได้ เป็นมาตรการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศ แต่จะได้ผลดีก็ต่อเมื่ออัตราดอกเบี้ยของการฝากเงินในรูปเงินตราต่างประเทศ เมื่อหักค่าธรรมเนียมต่างๆ แล้ว มีความน่าดึงดูดมากกว่าการฝากเงินในรูปเงินบาทที่มีความคล่องตัว และเป็นที่คุ้นเคยของประชาชนมากกว่า
- มาตรการที่ให้ภาคธุรกิจสามารถชำระค่าใช้จ่ายในรูปเงินตราต่างประเทศได้ เช่น อนุญาตให้ภาคธุรกิจสามารถชำระค่าระวางเรือหรือค่าวัตถุดิบที่ใช้ในประเทศเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ซึ่งมีความสอดคล้องกับรายได้ของภาคธุรกิจส่งออกที่มีรายได้อยู่ในรูปเงินตราต่างประเทศ เป็นมาตรการที่จะสามารถช่วยลดแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ เพื่อแปลงเป็นเงินบาท
2. มาตรการที่เน้นผ่อนคลาย และสนับสนุนการไหลออกของเงินทุน
- การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท จะสามารถเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศและลดแรงกดดันต่อช่วงขาขึ้นของเงินบาทได้อย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องดูวงเงินที่สามารถทำได้จริงว่ามีมูลค่ามาก-น้อยเพียงไร และติดเงื่อนไขอื่นๆ หรือไม่ ในขณะที่ในส่วนของการแปลงหนี้ต่างประเทศกลับมาเป็นสกุลเงินบาทนั้น จะต้องมีเงื่อนไขที่ว่า ต้นทุนของการกลับมาก่อหนี้ในรูปเงินบาทจะต้องน้อยกว่าต้นทุนของการก่อหนี้ในรูปเงินตราต่างประเทศ
ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจบางแห่งอาจมีข้อจำกัดในการเร่งคืนหนี้ต่างประเทศ เช่น รัฐวิสาหกิจในสังกัดปตท.และกฟผ.เนื่องจากติดเงื่อนไขบางประการ และได้มีการทยอยคืนหนี้ในช่วงก่อนหน้านี้ไปแล้ว โดยในส่วนของปตท.หนี้ต่างประเทศส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของการออกหุ้นกู้ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งติดเงื่อนไขการไถ่ถอนคืนก่อนกำหนด ขณะที่ ในส่วนของกฟผ.จะต้องมีการเจรจากับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (ไอพีพี) ซึ่งขายไฟฟ้าเข้าระบบปัจจุบันว่าสามารถคืนหนี้ในรูปเงินดอลลาร์ฯ ก่อนกำหนดได้หรือไม่
3. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท
มาตรการดังกล่าวเน้นไปที่การเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับผู้ประกอบการ ซึ่งประกอบด้วย 1. ตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ส่งออก เพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการปล่อยกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นพิเศษ โดยจะมีวงเงินเริ่มต้นที่ 5 พันล้านบาท และ 2. การขอให้ภาครัฐเร่งคืนภาษีให้กับผู้ส่งออกทั้ง 19 ทวิ และภาษีมุมน้ำเงิน เพื่อช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ
ข้อเสนออื่นๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาท
มีนักวิชาการหลายท่านได้ออกมาเสนอวิธีการแก้ปัญหาเงินบาทอีกหลายแนวทาง ได้แก่
- ข้อเสนอให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยอย่างแรง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า เป็นความจริงที่ว่าการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างรุนแรง อาจสามารถลดแรงจูงใจของเงินทุนไหลเข้าได้ รวมทั้งอาจสามารถลดการก่อหนี้ต่างประเทศ และอาจช่วยทำให้จูงใจให้มีการไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งในท้ายที่สุดจะทำให้แรงกดดันให้เงินบาทแข็งค่ามีน้อยลง แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า การปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างมากจะเป็นการช็อกตลาด และอาจเป็นชนวนที่ทำให้เงินทุนไหลออกซึ่งอาจจะเป็นไปในระดับที่รุนแรงและยากต่อการควบคุมดูแลของทางการ ทั้งนี้ แม้ว่าผลในระยะสั้นนั้นมีความชัดเจนก็คือ การอ่อนค่าอย่างรวดเร็วของเงินบาท แต่ผลในระยะถัดไปจะต้องแลกกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่อาจต้องใช้ระยะเวลานานกว่าในการเยียวยาแก้ไข นอกจากนี้ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรุนแรงนั้น ไม่น่าจะเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาเงินบาทที่ตรงประเด็น เนื่องจากเงินทุนจากต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างมากนับตั้งแต่ต้นปี 2550 เป็นเงินทุนที่ไหลเข้ามาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ หากธปท. ยิ่งปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงก็อาจจะเป็นผลดีต่อตลาดหุ้น ซึ่งเป็นการลงทุนที่ได้รับการยกเว้นมาตรการกันสำรอง 30% และกระตุ้นให้มีเงินทุนจากต่างชาติไหลเข้าประเทศอีก และในท้ายที่สุดก็จะส่งผลกดดันต่อเงินบาทให้แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ข้อเสนอให้ยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น 30%
มาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น ถูกมองว่าเป็นตัวการหลักที่ทำให้ตลาดเงินบาทแบ่งออกเป็น 2 ตลาดอย่างชัดเจน ซึ่งถือเป็นตัวการที่บิดเบือนกลไกตลาด และก่อให้เกิดการเก็งกำไร และในช่วงที่ผ่านมา ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศ (Offshore) ที่แข็งค่ากว่าระดับ 30 บาทต่อดอลลาร์ฯ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลทางจิตวิทยาให้เกิดการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ในตลาดในประเทศ (Onshore) และทำให้เงินบาทตลาดในประเทศซึ่งได้รับปัจจัยบวกจากการไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศอยู่แล้วแข็งค่ามากขึ้นไปอีก
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า ตราบใดที่ความแตกต่างของเงินบาทระหว่าง 2 ตลาดยังไม่หมดไป แรงกดดันให้ธปท.ยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้นก็ยังคงจะมีต่อไปอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจะต้องรอดูความพยายามที่จะลดความแตกต่างระหว่างค่าเงินบาทใน 2 ตลาดของธปท.จากมาตการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2550 ที่อนุญาตปล่อยสภาพคล่องเงินบาทให้กับ Non Resident โดยธปท.ได้คาดการณ์ว่า สภาพคล่องเงินบาทที่เพิ่มขึ้นในตลาดต่างประเทศจะสามารถทำให้ค่าเงินบาทในตลาดต่างประเทศอ่อนค่าลง พร้อมๆ กับเป็นการสร้างเสถียรภาพให้กับตลาดเงินบาท ซึ่งก็จะทำให้แรงกดดันให้ธปท.ยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% เบาบางลงด้วยอีกทางหนึ่ง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรองของธปท.ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม อาจไม่สามารถลดความผันผวนและหลีกเลี่ยงการเก็งกำไรเงินบาทได้ ทั้งนี้ มีความเป็นไปได้ว่า ผลที่เกิดจากการยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% จะออกมาในรูปของการไหลออกของเงินทุนอย่างรวดเร็ว หรือในรูปของเงินทุนไหลเข้าที่เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ทั้ง 2 ทางไม่น่าจะเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจไทยทั้งสิ้น ดังนั้น หากจะมีการประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้น 30% ธปท.จะต้องมีการประเมินผลกระทบในทุกด้านอย่างถี่ถ้วน และจะต้องเลือกช่วงจังหวะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งยังไม่น่าจะเป็นช่วงเวลาขณะนี้ และจะต้องมีมาตรการอื่นที่พร้อมประกาศใช้เพื่อดูแลเสถียรภาพค่าเงินบาท ทั้งนี้ ผู้ว่าการธปท. ได้ออกมากล่าวย้ำในทิศทางเดียวกันว่า ประเทศไทยยังมีความจำเป็นต้องใช้มาตรการกันสำรองเงินทุนระยะสั้นอยู่ เนื่องจากมาตรการดังกล่าวยังคงมีผลทางจิตวิทยา แม้ว่าในปัจจุบันนักลงทุนต่างชาติส่วนใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในไทยจะเลือกใช้วิธีการทำประกันความเสี่ยงไว้เต็มมูลค่าก็ตาม
- ข้อเสนอให้กลับไปใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การกลับไปใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (Fixed Exchange Rate Regime) เหมือนในอดีต หรือกำหนดกรอบการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทแบบที่ใช้ในประเทศจีน ไม่ใช่การตอบโจทย์ของการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทที่ตรงประเด็นนัก เนื่องจากระบบการเงินโลกในปัจจุบัน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเป็นไปอย่างรวดเร็ว การบิดเบือนกลไกตลาด ที่ทำให้อัตราแลกเปลี่ยนไม่สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจสามารถทำได้ระยะหนึ่งเท่านั้น
- ข้อเสนอให้แทรกแซงค่าเงินอย่างต่อเนื่อง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเข้าแทรกแซงตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศเป็นภาระของธปท. เนื่องจากการเข้าแทรกแซงด้วยการซื้อเงินตราต่างประเทศและขายเงินบาทนั้น จะทำให้ธปท.ต้องมีภาระดอกเบี้ยในการออกพันธบัตรตามมาเพื่อดูดซับสภาพคล่องส่วนเกินในระบบ และทำให้ธปท.มีแนวโน้มบันทึกผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อเนื่องจากปี 2548 และ2549 นอกจากนี้ การเข้าแทรกแซงตลาดท่ามกลางกระแสการไหลเวียนของเงินทุนต่างชาติมูลค่ามหาศาลนั้น ไม่สามารถเปลี่ยนทิศทางของค่าเงินได้ สามารถทำได้เพียงแค่เพื่อชะลอการแข็งค่าของเงินบาทเท่านั้น
ทิศทางค่าเงินบาท
ต้องยอมรับว่า เบื้องหลังที่ทำให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นได้อย่างต่อเนื่องนั้น มาจาก 3 ปัจจัยหลักได้แก่ การไหลเข้าของเงินทุนต่างประเทศ โดยเฉพาะเงินที่เข้ามาลงทุนในตลาดหุ้น ดังนั้นมาตรการสนับสนุนการไหลออกของเงินทุนน่าจะสามารถช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับกระแสการไหลเข้า-ออกของเงินทุนได้ดีขึ้น แรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ของผู้ส่งออก ซึ่งมีสิ่งที่หนุนหลังอยู่ก็คือ การเกินดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดซึ่งมาตรการผ่อนคลายการถือครองเงินตราต่างประเทศก็น่าจะช่วยชะลอแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกไป และการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์ฯ ซึ่งเป็นปัจจัยสุดท้ายที่ส่งผลทางอ้อมให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น และในขณะนี้ยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทจะแข็งค่าขึ้นอีกในอนาคต เนื่องจากดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยยังคงมีแนวโน้มที่จะบันทึกการเกินดุลต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดหุ้นไทยยังคงเป็นที่น่าสนใจของนักลงทุนต่างชาติ และในทางกลับกัน เงินดอลลาร์ฯ เองก็มีแนวโน้มที่ไม่สดใสนัก ความเป็นไปได้ที่จะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและบรรเทาผลกระทบจากปัญหาในตลาดซับไพร์ม ตลอดจนปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับสูงเป็นปัจจัยลบของเงินดอลลาร์ฯ ที่รออยู่เบื้องหน้า ดังนั้นประเด็นที่จะต้องมีการแก้ไข และเร่งสื่อความต่อภาคเอกชนก็คือ จะต้องมีการส่งสัญญาณที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวโน้มค่าเงินบาท และพยายามลดผลกระทบทางจิตวิทยาจากการที่ตลาดเงินบาทแบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด
อย่างไรก็ตาม การแข็งค่าของเงินบาทเป็นโอกาสของผู้ประกอบการและผู้นำเข้า ในการนำเข้าเครื่องจักร สินค้าทุน ตลอดจนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต และเมื่อการนำเข้าเร่งตัวขึ้น ก็จะส่งผลทำให้ดุลการค้ามีโอกาสเกินดุลลดลง ซึ่งก็จะช่วยบรรเทาแรงกดดันต่อการแข็งค่าของเงินบาทลงตามไปด้วย ดังนั้นรัฐบาลควรเร่งผลักดันโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ (Mega Projects) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และเรียกความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับคืนมา ประกอบกับต้องรักษาความต่อเนื่องของมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินบาททั้งในระยะสั้น และระยะยาว
สรุป
การแข็งค่าสูงสุดในรอบ 10 ปีของเงินบาท กำลังส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมส่งออกของไทยที่ต้องแบกรับภาระการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ขณะที่การทยอยปิดกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความอ่อนไหวต่ออัตราแลกเปลี่ยน เป็นแรงกดดันให้ภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย ต้องเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการและข้อเสนอที่คาดว่าจะได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีนั้น มีลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ
1.เป็นมาตการเน้นการถือครองเงินตราต่างประเทศให้ยาวนานขึ้น ได้แก่ มาตรการผ่อนปรนการถือครองเงินดอลลาร์ฯ แก่ผู้ส่งออก ตลอดจนมาตรการขยายเวลาการนำเงินเข้าประเทศกรณีคนไทยขายสินค้าในต่างประเทศ และมาตรการที่อนุญาตให้เปิดบัญชีเงินฝากในรูปเงินตราต่างประเทศได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า กลุ่มมาตรการดังกล่าวมีข้อดีก็คือ ทำให้ผู้ประกอบการสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนได้ แต่มาตรการดังกล่าวจะเห็นผลก็ต่อเมื่อ ผู้ที่จะเพิ่มการถือครองเงินตราต่างประเทศมีความมั่นใจว่าเงินบาทจะมีทิศทางอ่อนค่าลง แต่หากผู้ที่มีแนวโน้มที่จะได้รับเงินตราต่างประเทศในอนาคตยังคงมีการคาดการณ์ว่า เงินบาทยังคงมีโอกาสที่จะแข็งค่าขึ้นอีกก็จะทำให้ปัญหาการเร่งเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกมา ยังไม่ถูกแก้ไขลง
2.เป็นมาตรการเน้นผ่อนคลาย และสนับสนุนการไหลออกของเงินทุน ได้แก่ ให้รัฐบาลเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การเร่งรัดการชำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการปรับโครงสร้างและแปลงหนี้ต่างประเทศมาเป็นหนี้สกุลเงินบาท จะสามารถเพิ่มความต้องการเงินตราต่างประเทศและลดแรงกดดันต่อช่วงขาขึ้นของเงินบาทได้อย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องดูวงเงินที่สามารถทำได้จริงว่ามีมูลค่ามาก-น้อยเพียงไร และติดเงื่อนไขอื่นๆ หรือไม่ ในขณะที่ในส่วนของการแปลงหนี้ต่างประเทศกลับมาเป็นสกุลเงินบาทนั้น จะต้องมีเงื่อนไขที่ว่า ต้นทุนของการกลับมาก่อหนี้ในรูปเงินบาทจะต้องน้อยกว่าต้นทุนของการก่อหนี้ในรูปเงินตราต่างประเทศ
3. เป็นมาตรการบรรเทาผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท ได้แก่ การจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ส่งออก เพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการปล่อยกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นพิเศษให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท โดยจะมีวงเงินเริ่มต้นที่ 5 พันล้านบาท และการเร่งคืนภาษีให้กับผู้ส่งออกทั้ง 19 ทวิ และภาษีมุมน้ำเงินตามข้อเสนอของกกร. เพื่อช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ
เงินบาทปรับตัวในทิศทางที่อ่อนค่าลงเพื่อรับข่าวเกี่ยวกับมาตรการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทจากทางการ โดยล่าสุดในวันที่ 23 กรกฎาคม 2550 เงินบาทในประเทศ (Onshore) ปิดตลาดที่ระดับ 33.67 บาทต่อดอลลาร์ฯ หรืออ่อนค่าลงแล้วประมาณ 1.5% หลังจากที่ได้ทะยานขึ้นทำสถิติสูงสุดในรอบ 10 ปีที่ระดับ 33.17 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2550 โดยเงินบาทมีปัจจัยลบจากแรงซื้อเงินดอลลาร์ฯ ซึ่งตลาดคาดว่าเป็นการเข้าแทรกแซงของธปท. นอกจากนี้ ยังเป็นผลทางด้านจิตวิทยาที่นักลงทุนส่วนใหญ่ยังรอการประกาศมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินบาทจากทางการ ขณะที่ผู้เล่นหลักในตลาดเงินบาทในประเทศ กลายเป็นฝั่งผู้นำเข้าที่เริ่มกลับเข้ามาซื้อเงินดอลลาร์ฯ ขณะที่ ผู้ส่งออกชะลอแรงเทขายเงินดอลลาร์ฯ ออกไปก่อนเพื่อรอความชัดเจน และประเมินผลกระทบจากมาตรการของทางการ
อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า การปรับตัวอ่อนค่าลงของเงินบาทเพื่อตอบรับกับมาตรการแก้ปัญหาค่าเงินบาทของทางการนั้น น่าจะเป็นเพียงผลทางจิตวิทยาที่เกิดขึ้นเท่านั้น แต่ผลในทางรูปธรรมยังไม่สามารถประเมินได้อย่างชัดเจน เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานที่จะสนับสนุนให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องนั้นยังคงมีอยู่ ทั้งนี้ เงินบาทยังมีแนวโน้มที่จะได้รับปัจจัยบวกจากการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างต่อเนื่องในช่วงที่เหลือของปี ขณะที่ เงินดอลลาร์ฯ มีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัญหาในตลาดซับไพร์มที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ และอาจทำให้เฟดต้องปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ความไร้เสถียรภาพของตลาดที่อยู่อาศัยในสหรัฐฯ อาจเป็นชนวนที่ทำให้เงินทุนจำนวนมากไหลออกจากตลาดการเงินสหรัฐฯ ซึ่งประเทศในแถบเอเชียรวมทั้งไทย อาจตกเป็นเป้าหมายของกองทุนเหล่านั้น และในท้ายที่สุดก็จะส่งผลทำให้แรงกดดันต่อการแข็งค่าของเงินบาทเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีความเห็นว่า มาตรการล่าสุดในการแก้ปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทยังไม่ใช่คำตอบสุดท้ายที่จะสร้างเสถียรภาพให้กับค่าเงิน โดยยังมีอีกหลายปัจจัยที่อาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินบาทรออยู่ในช่วงถัดไป ซึ่งทำให้ความต่อเนื่องของมาตรการแก้ไขปัญหาค่าเงินเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นเพื่อบรรเทาผลกระทบ และลดความผันผวนที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ภาคธุรกิจไทยได้มีเวลาปรับตัว ทั้งนี้ เงินบาทได้แข็งค่าขึ้นมาอย่างต่อเนื่องแล้วในช่วงประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา และในขณะนี้มาถึงจุดเปลี่ยนของผู้ส่งออกที่จะต้องเร่งปรับตัวเอง เรียนรู้ที่จะประเมินความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อหลีกเลี่ยงการเดินตามรอยเดิมเมื่อความผันผวนของเงินบาทกลายเป็นปัจจัยเสี่ยงอีกครั้งในอนาคต ขณะที่ ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องเตรียมมาตรการดูแลการเคลื่อนไหวของเงินทุนที่มีประสิทธิภาพ พร้อมๆ กับการปรับโครงสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมอย่างจริงจังตามข้อเสนอระยะกลางและระยะยาวของกกร.เมื่อประเทศคู่แข่งทางการค้ามีความได้เปรียบอุตสาหกรรมไทยมากขึ้น เพื่อให้ภาคธุรกิจไทยมีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะรองรับกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และสามารถรักษาความสามารถทางการแข่งขันได้
ที่มา:บริษัทศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด
http://www.bangkokbiznews.com/2007/07/2 ... wsid=85818
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news25/07/07
โพสต์ที่ 110
หนี้รัฐพุ่งกองทุนฟื้นฟูกู้2แสนล.
โพสต์ทูเดย์ ขิงแก่เพิ่มกรอบการก่อหนี้รัฐบาลในปี50 ใหม่จาก 9.87 แสนล้าน เป็น 1.05 ล้านล้าน เปิดทางกองทุนฟื้นฟูฯ ออกพันธบัตร
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กล่าวว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติอนุมัติการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2550 ครั้งที่ 3 จากวงเงิน 9.87 แสนล้านบาท เป็น 1.05 ล้านล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6.7 หมื่นล้านบาท ในจำนวนนั้นเป็นการกู้เงินใหม่ 2.7 แสนล้านบาท และการบริหารหนี้เก่า 7.84 แสนล้านบาท
ด้านนายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกรัฐบาล กล่าวว่า การปรับเพิ่มหนี้สาธารณะขึ้นมาครั้งนี้ เพื่อ ให้ครอบคลุมถึงการอนุมัติให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินสามารถที่จะออกพันธบัตรจำนวน 2 แสนล้านบาท เพื่อทดแทนการกู้เงินเพื่อเสริมสภาพคล่องในตลาดซื้อคืนพันธบัตรในระยะที่ผ่านมาและจะปิดตัวลงในปลายปีนี้
ปัจจุบันกองทุนฟื้นฟูฯ ระดมทุนโดยการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินผ่านตลาดอาร์/พี โดยเสียอัตราดอกเบี้ยที่ประมาณ 3.5%
สำหรับรายละเอียดเงื่อนไขการออกพันธบัตรดังกล่าว ทั้งเรื่องของอายุ อัตราดอกเบี้ย และวงเงิน กองทุนฟื้นฟูฯ และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ต้องไปหารือกันต่อไป
ก่อนหน้านี้ กระทรวงการ คลังอนุมัติให้กองทุนฟื้นฟูฯ ออกพันธบัตรวงเงิน 2.2 แสนล้าน บาท แทนการกู้ยืมในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์/พี)
ขณะที่นายไพโรจน์ เฮงสกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการสายจัดการกองทุน ธปท. กล่าวก่อนหน้านี้ว่า การออกพันธบัตรดังกล่าว จะทยอยออกเป็น 3 ล็อต ล็อตละ 7-8 หมื่นล้านบาท
สำหรับแผนการบริหารหนี้สาธารณะที่มีการเปลี่ยนแปลงในครั้งที่ 3 นั้น นายพงษ์ภาณุ กล่าวว่า การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐบาล ลดลงจากเดิม 4.68 แสนล้านบาท เหลือ 4.33 แสนล้านบาท เนื่องจากรัฐบาลมีงบชำระหนี้ไม่เพียงพอ ขณะที่การจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ เพิ่มขึ้นอีก 1.34 แสนล้านบาท เป็น 3.75 แสนล้านบาท
นายพงษ์ภาณุ กล่าวว่า แผนการก่อหนี้กู้เงินจากธนาคารเพื่อความร่วมมือแห่งประเทศญี่ปุ่น (เจบิก) ในการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีแดงและ สีน้ำเงินนั้น ได้เลื่อนออกไปเป็นปีงบประมาณ 2551 เพราะก่อสร้าง ไม่ทัน ส่วนหนี้ต่างประเทศนั้นก็ได้ปรับลดลง 2.11 หมื่นล้านบาท เหลือ 1.25 แสนล้านบาท จากเดิม 1.46 แสนล้านบาท เนื่องจากก่อหนี้ไม่ทันและการชะลอการกู้เงินเพื่อแก้บาทแข็งค่า http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180785
โพสต์ทูเดย์ ขิงแก่เพิ่มกรอบการก่อหนี้รัฐบาลในปี50 ใหม่จาก 9.87 แสนล้าน เป็น 1.05 ล้านล้าน เปิดทางกองทุนฟื้นฟูฯ ออกพันธบัตร
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กล่าวว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติอนุมัติการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2550 ครั้งที่ 3 จากวงเงิน 9.87 แสนล้านบาท เป็น 1.05 ล้านล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6.7 หมื่นล้านบาท ในจำนวนนั้นเป็นการกู้เงินใหม่ 2.7 แสนล้านบาท และการบริหารหนี้เก่า 7.84 แสนล้านบาท
ด้านนายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกรัฐบาล กล่าวว่า การปรับเพิ่มหนี้สาธารณะขึ้นมาครั้งนี้ เพื่อ ให้ครอบคลุมถึงการอนุมัติให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินสามารถที่จะออกพันธบัตรจำนวน 2 แสนล้านบาท เพื่อทดแทนการกู้เงินเพื่อเสริมสภาพคล่องในตลาดซื้อคืนพันธบัตรในระยะที่ผ่านมาและจะปิดตัวลงในปลายปีนี้
ปัจจุบันกองทุนฟื้นฟูฯ ระดมทุนโดยการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินผ่านตลาดอาร์/พี โดยเสียอัตราดอกเบี้ยที่ประมาณ 3.5%
สำหรับรายละเอียดเงื่อนไขการออกพันธบัตรดังกล่าว ทั้งเรื่องของอายุ อัตราดอกเบี้ย และวงเงิน กองทุนฟื้นฟูฯ และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ต้องไปหารือกันต่อไป
ก่อนหน้านี้ กระทรวงการ คลังอนุมัติให้กองทุนฟื้นฟูฯ ออกพันธบัตรวงเงิน 2.2 แสนล้าน บาท แทนการกู้ยืมในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร์/พี)
ขณะที่นายไพโรจน์ เฮงสกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการสายจัดการกองทุน ธปท. กล่าวก่อนหน้านี้ว่า การออกพันธบัตรดังกล่าว จะทยอยออกเป็น 3 ล็อต ล็อตละ 7-8 หมื่นล้านบาท
สำหรับแผนการบริหารหนี้สาธารณะที่มีการเปลี่ยนแปลงในครั้งที่ 3 นั้น นายพงษ์ภาณุ กล่าวว่า การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐบาล ลดลงจากเดิม 4.68 แสนล้านบาท เหลือ 4.33 แสนล้านบาท เนื่องจากรัฐบาลมีงบชำระหนี้ไม่เพียงพอ ขณะที่การจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ เพิ่มขึ้นอีก 1.34 แสนล้านบาท เป็น 3.75 แสนล้านบาท
นายพงษ์ภาณุ กล่าวว่า แผนการก่อหนี้กู้เงินจากธนาคารเพื่อความร่วมมือแห่งประเทศญี่ปุ่น (เจบิก) ในการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีแดงและ สีน้ำเงินนั้น ได้เลื่อนออกไปเป็นปีงบประมาณ 2551 เพราะก่อสร้าง ไม่ทัน ส่วนหนี้ต่างประเทศนั้นก็ได้ปรับลดลง 2.11 หมื่นล้านบาท เหลือ 1.25 แสนล้านบาท จากเดิม 1.46 แสนล้านบาท เนื่องจากก่อหนี้ไม่ทันและการชะลอการกู้เงินเพื่อแก้บาทแข็งค่า http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180785
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news25/07/07
โพสต์ที่ 111
รอเก็บตกอาเซียนถกอินเดีย
โพสต์ทูเดย์ ไทยรอผลถกเอฟทีเอ กรอบอาเซียน/อินเดีย หากไม่คืบค่อยสานต่อกรอบไทย/อินเดีย
นายชนะ คณารัตนดิลก รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กล่าวถึงความคืบหน้าการเจรจาเขตการค้าเสรี (เอฟทีเอ) ไทย-อินเดีย ในรายการสินค้าที่เหลือ 5 พันรายการว่า คณะเจรจาจัดทำข้อตกลงเอฟทีเอในกรอบไทย-อินเดีย จะรอให้ผลข้อตกลงการเจรจาเอฟทีเอกรอบอาเซียน-อินเดีย ซึ่งจะประชุมในสัปดาห์นี้ ที่ประเทศกัมพูชา เสร็จสิ้นลงเสียก่อน
กรณีผลการประชุมระหว่างอาเซียนและอินเดียไม่ได้ข้อสรุป คาดว่า ทั้งอินเดีย-อาเซียนจะยุติการเจรจาระหว่างกัน ทำให้การเจรจาเอฟทีเอระหว่างไทยและอินเดียที่จะหารือกลางเดือน ส.ค. ที่ประเทศอินเดีย จะมีความยืดหยุ่นมากขึ้น
หากการเจรจากรอบอาเซียน-อินเดีย ตกลงกันไม่ได้ มีแนวโน้มว่าอาเซียนคงจะหยุดการเจรจาเอฟทีเอกับอินเดีย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อไทยในการเจรจากับอินเดียที่เกิดขึ้นหลังจากนี้ เพราะอินเดียคงหันมาเจรจากับไทยด้วยท่าทีผ่อนปรนมากขึ้น โดยฝ่ายไทยจะมี น.ส.ชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เป็นหัวหน้าคณะเจรจา นายชนะ กล่าว
กำหนดเดิมไทยจะเจรจาเอฟทีเอกับอินเดียในช่วงวันที่ 11-15 ก.ค. แต่ได้เลื่อนการเจรจาออกไป เป็นหลัง เอฟทีเออาเซียน-อินเดีย ซึ่งอาจเกิดจากอินเดียต้องการทำเอฟทีเอในกรอบอาเซียนมากกว่าไทย
ทั้งนี้ การเจรจาในกรอบดังกล่าว ก็ยังติดปัญหาที่อินเดียไม่ยอมผ่อนปรนเงื่อนไขรายการสินค้าลดภาษีตามที่อาเซียนต้องการ และหากอินเดียไม่ยอมตกลงผ่อนปรนเงื่อนไขตามที่อาเซียนเสนอ คาดกันว่า อาเซียนก็คงมีมติหยุดการเจรจากับอินเดียไว้เท่านี้ นายชนะ กล่าวว่า การเจรจาในกรอบอาเซียนจะลำบากมากกว่าการเจรจาในกรอบไทย เพราะมีถึง 10 ประเทศ แต่อินเดียก็มีความพยายาม ที่จะตกลงในกรอบอาเซียนให้ได้ก่อนไทย แต่หากอินเดียตกลงกับอาเซียนไม่ได้ และหันกลับมาเจรจาในกรอบไทย ทางไทยต้องการที่จะได้รับข้อตกลงที่มากกว่าอินเดียให้กับอาเซียน (อาเซียนพลัส) ซึ่งต้องติดตามกันต่อไป
ประเด็นที่ไทยยังตกลงกับอินเดียไม่ได้ และเป็นปัญหามากสุด คือ ข้อสรุปกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ไทยต้องการให้อินเดียใช้พิกัดศุลกากร 6 หลัก ควบคู่กับการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าภายในประเทศ 35%
อินเดียต้องการให้ใช้พิกัดศุลกากร 4 หลัก และแหล่งกำเนิดสินค้าภายในประเทศ 40%
ส่งผลให้ภาคเอกชนไทยไม่พอใจ และคัดค้านการเจรจา เพราะหากอินเดียไม่ยอมผ่อนปรนเงื่อนไขตามที่ไทยเสนอ จะทำให้สินค้าไทยประมาณ 3 พันรายการ ไม่สามารถใช้สิทธิลดภาษีภายใต้เอฟทีเอได้
ปัจจุบัน อินเดียเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญลำดับที่ 18 ของไทย โดยปี 2549 มีมูลค่าการค้าระหว่างกันประมาณ 3.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ และในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2550 (ม.ค.-พ.ค.) ไทยส่งออกสินค้าไปอินเดียได้แล้ว 955 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 60% คาดว่าทั้งปีจะได้ตามเป้าหมายที่ตั้งเป้าส่งออกไปตลาดอินเดียไว้ 2.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 20%
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180850
โพสต์ทูเดย์ ไทยรอผลถกเอฟทีเอ กรอบอาเซียน/อินเดีย หากไม่คืบค่อยสานต่อกรอบไทย/อินเดีย
นายชนะ คณารัตนดิลก รองอธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กล่าวถึงความคืบหน้าการเจรจาเขตการค้าเสรี (เอฟทีเอ) ไทย-อินเดีย ในรายการสินค้าที่เหลือ 5 พันรายการว่า คณะเจรจาจัดทำข้อตกลงเอฟทีเอในกรอบไทย-อินเดีย จะรอให้ผลข้อตกลงการเจรจาเอฟทีเอกรอบอาเซียน-อินเดีย ซึ่งจะประชุมในสัปดาห์นี้ ที่ประเทศกัมพูชา เสร็จสิ้นลงเสียก่อน
กรณีผลการประชุมระหว่างอาเซียนและอินเดียไม่ได้ข้อสรุป คาดว่า ทั้งอินเดีย-อาเซียนจะยุติการเจรจาระหว่างกัน ทำให้การเจรจาเอฟทีเอระหว่างไทยและอินเดียที่จะหารือกลางเดือน ส.ค. ที่ประเทศอินเดีย จะมีความยืดหยุ่นมากขึ้น
หากการเจรจากรอบอาเซียน-อินเดีย ตกลงกันไม่ได้ มีแนวโน้มว่าอาเซียนคงจะหยุดการเจรจาเอฟทีเอกับอินเดีย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อไทยในการเจรจากับอินเดียที่เกิดขึ้นหลังจากนี้ เพราะอินเดียคงหันมาเจรจากับไทยด้วยท่าทีผ่อนปรนมากขึ้น โดยฝ่ายไทยจะมี น.ส.ชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เป็นหัวหน้าคณะเจรจา นายชนะ กล่าว
กำหนดเดิมไทยจะเจรจาเอฟทีเอกับอินเดียในช่วงวันที่ 11-15 ก.ค. แต่ได้เลื่อนการเจรจาออกไป เป็นหลัง เอฟทีเออาเซียน-อินเดีย ซึ่งอาจเกิดจากอินเดียต้องการทำเอฟทีเอในกรอบอาเซียนมากกว่าไทย
ทั้งนี้ การเจรจาในกรอบดังกล่าว ก็ยังติดปัญหาที่อินเดียไม่ยอมผ่อนปรนเงื่อนไขรายการสินค้าลดภาษีตามที่อาเซียนต้องการ และหากอินเดียไม่ยอมตกลงผ่อนปรนเงื่อนไขตามที่อาเซียนเสนอ คาดกันว่า อาเซียนก็คงมีมติหยุดการเจรจากับอินเดียไว้เท่านี้ นายชนะ กล่าวว่า การเจรจาในกรอบอาเซียนจะลำบากมากกว่าการเจรจาในกรอบไทย เพราะมีถึง 10 ประเทศ แต่อินเดียก็มีความพยายาม ที่จะตกลงในกรอบอาเซียนให้ได้ก่อนไทย แต่หากอินเดียตกลงกับอาเซียนไม่ได้ และหันกลับมาเจรจาในกรอบไทย ทางไทยต้องการที่จะได้รับข้อตกลงที่มากกว่าอินเดียให้กับอาเซียน (อาเซียนพลัส) ซึ่งต้องติดตามกันต่อไป
ประเด็นที่ไทยยังตกลงกับอินเดียไม่ได้ และเป็นปัญหามากสุด คือ ข้อสรุปกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ไทยต้องการให้อินเดียใช้พิกัดศุลกากร 6 หลัก ควบคู่กับการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าภายในประเทศ 35%
อินเดียต้องการให้ใช้พิกัดศุลกากร 4 หลัก และแหล่งกำเนิดสินค้าภายในประเทศ 40%
ส่งผลให้ภาคเอกชนไทยไม่พอใจ และคัดค้านการเจรจา เพราะหากอินเดียไม่ยอมผ่อนปรนเงื่อนไขตามที่ไทยเสนอ จะทำให้สินค้าไทยประมาณ 3 พันรายการ ไม่สามารถใช้สิทธิลดภาษีภายใต้เอฟทีเอได้
ปัจจุบัน อินเดียเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญลำดับที่ 18 ของไทย โดยปี 2549 มีมูลค่าการค้าระหว่างกันประมาณ 3.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ และในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2550 (ม.ค.-พ.ค.) ไทยส่งออกสินค้าไปอินเดียได้แล้ว 955 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 60% คาดว่าทั้งปีจะได้ตามเป้าหมายที่ตั้งเป้าส่งออกไปตลาดอินเดียไว้ 2.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 20%
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=180850
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news25/07/07
โพสต์ที่ 112
คลังนัดถก7รัฐวิสาหกิจ ชำระคืนหนี้ภายในปีนี้
โดย มติชน วัน พุธ ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 08:22 น.
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) แถลงยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2550 มีจำนวน 3,211,592 ล้านบาท หรือ 38.24% ของจีดีพี เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้าหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น 10,093 ล้านบาท
นายพงษ์ภาณะกล่าวว่า สำหรับหนี้สาธารณะจำแนกเป็นหนี้ต่างประเทศ 415,773 ล้านบาท หรือ 12.95% และหนี้ในประเทศ 2,795,819 ล้านบาท หรือ 87.05% และเป็นหนี้ระยะยาว 2,790,332 ล้านบาท หรือ 86.88% และหนี้ระยะสั้น 421,260 ล้านบาท หรือ 13.12% ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง
ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้ปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศจากธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น หรือเจบิค โดยการชำระคืนก่อนครบกำหนด วงเงิน 35,762 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 10,183 ล้านบาท ทำให้สามารถลดยอดหนี้คงค้างได้ 10,183 ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยในอนาคตได้ 1,805 ล้านบาท ส่วนช่วง 9 เดือนที่ผ่านมาของปีงบประมาณ 2550 กระทรวงการคลังได้ปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ต่างประเทศโดยชำระคืนก่อนครบกำหนด 28,890 ล้านบาท และรีไฟแนนซ์เงินกู้ต่างประเทศด้วยเงินบาท 17,200 ล้านบาท สามารถลดยอดหนี้คงค้างได้รวม 28,890 ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยได้รวม 2,370 ล้านบาท
สบน.ได้เร่งชำระหนี้ก่อนกำหนดมาโดยตลอดเพื่อผ่อนคลายการแข็งค่าของเงินบาท นอกจากนี้ ในสัปดาห์นี้จะได้เชิญรัฐวิสาหกิจ 7 แห่ง ที่มีหนี้รวม 3,183 ล้านดอลลาร์ มาประชุมเพื่อเร่งรัดชำระหนี้ให้หมดภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งหากรัฐวิสาหกิจไม่สนใจ เราก็ต้องหาทางกดดันทุกวิธี นายพงษ์ภาณุระบุ
http://news.sanook.com/economic/economic_160914.php
โดย มติชน วัน พุธ ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 08:22 น.
นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) แถลงยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2550 มีจำนวน 3,211,592 ล้านบาท หรือ 38.24% ของจีดีพี เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้าหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น 10,093 ล้านบาท
นายพงษ์ภาณะกล่าวว่า สำหรับหนี้สาธารณะจำแนกเป็นหนี้ต่างประเทศ 415,773 ล้านบาท หรือ 12.95% และหนี้ในประเทศ 2,795,819 ล้านบาท หรือ 87.05% และเป็นหนี้ระยะยาว 2,790,332 ล้านบาท หรือ 86.88% และหนี้ระยะสั้น 421,260 ล้านบาท หรือ 13.12% ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง
ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้ปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศจากธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น หรือเจบิค โดยการชำระคืนก่อนครบกำหนด วงเงิน 35,762 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 10,183 ล้านบาท ทำให้สามารถลดยอดหนี้คงค้างได้ 10,183 ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยในอนาคตได้ 1,805 ล้านบาท ส่วนช่วง 9 เดือนที่ผ่านมาของปีงบประมาณ 2550 กระทรวงการคลังได้ปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ต่างประเทศโดยชำระคืนก่อนครบกำหนด 28,890 ล้านบาท และรีไฟแนนซ์เงินกู้ต่างประเทศด้วยเงินบาท 17,200 ล้านบาท สามารถลดยอดหนี้คงค้างได้รวม 28,890 ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยได้รวม 2,370 ล้านบาท
สบน.ได้เร่งชำระหนี้ก่อนกำหนดมาโดยตลอดเพื่อผ่อนคลายการแข็งค่าของเงินบาท นอกจากนี้ ในสัปดาห์นี้จะได้เชิญรัฐวิสาหกิจ 7 แห่ง ที่มีหนี้รวม 3,183 ล้านดอลลาร์ มาประชุมเพื่อเร่งรัดชำระหนี้ให้หมดภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งหากรัฐวิสาหกิจไม่สนใจ เราก็ต้องหาทางกดดันทุกวิธี นายพงษ์ภาณุระบุ
http://news.sanook.com/economic/economic_160914.php
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news26/07/07
โพสต์ที่ 113
ชี้หุ้นไทยคึกไม่ใช่ศก.ดีแนะ ธปท.คุมบาทแข็งแบบมี กึ๋น - 26/7/2550
ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานสภาธุรกิจตลาดทุนไทย ชี้ตลาดหุ้นไทยที่คึกคักขณะนี้ ด้วยแรงซื้อนักลงทุนต่างชาติ ไม่ใช่เหตุจากเศรษฐกิจไทยดี แต่เพราะพีอีหุ้นไทยต่ำกว่าตลาดหุ้นอื่นๆ ในเอเซีย ซึ่งถือว่ายังถูก พร้อมแนะทีมแบงก์ชาติ (ธปท.) ที่ดูแลค่าเงินบาท ที่ยังแข็งโป๊ก ต้องมี กึ๋น หรือ Feel เพื่อให้ทันเกมนักเก็งกำไรค่าเงินต่างชาติ ที่เชื่อว่าน่าจะเป็นแบงก์ใหญ่ๆ ของโลก ขณะที่ สุวิทย์ เมษินทรีย์ กลุ่มรวมใจไทย ยันสถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งขณะนี้เกิดจาก ความไม่เชื่อมั่น ในสถานการณ์บ้านเมืองที่เป็นอยู่ขณะนี้ ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตเชิงซ้อน ที่เกิดจาก 4 กับดัก
นายก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานสภาธุรกิจตลาดทุนไทย กล่าวว่าตลาดหุ้นไทยที่คึกคักขณะนี้ ด้วยแรงซื้อจากนักลงทุนต่างประเทศเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่เพราะเชื่อมั่นในภาวะเศรษฐกิจไทย แต่เป็นเพราะสัดส่วนราคาหุ้นต่อกำไร (พีอี) ของบริษัทจดทะเบียนไทย เมื่อเทียบกับตลาดหุ้นเอเซียอื่นๆ ต่ำ ขณะที่ภาวะเศรษฐกิจไทย ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง
แนะ ธปท. แก้ค่าบาทอย่างคนมี -กี๋น
เขายังกล่าวแนะนำทีมผู้บริหารของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ดูแลค่าเงินบาท ให้มี กึ๋น หรือ Feel ในการตอบสนองข้อเรียกร้องของภาคเอกชน ในการรับรับมือกับนักเก็งกำไรค่าเงินบาทในขณะนี้ เพื่อให้มาตรการต่างๆ ที่ ธปท. ออกมา สามารถตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนได้ตรงจุด เพื่อให้เศรษฐกิจไทยเดินหน้าได้ต่อเนื่อง
ทีมผู้ดูแลค่าเงินบาท ต้องมี กึ๋น หรือ Feel เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนได้อย่างตรงจุด ต้องมีความรู้ว่าตลาดต่างประเทศคิดยังไง ไม่ใช่นั่งบนหอคอยงาช้าง Feel เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เหมือนเราออกรบในแนวหน้า เขากล่าว
นายก้องเกียรติกล่าวว่ากลไก และกระบวนการตัดสินใจดูแลค่าเงินบาทขณะนี้ ไม่ต่างจาก 10 ปีก่อน ที่ ธปท. ตัดสินใจผิดพลาด ขนบาทสู้นักเก็งกำไร จนไทยเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง เขากล่าว พร้อมเสริมว่ากระบวนการเก็งกำไรค่าเงินปัจจุบันซับซ้อน เงินไหลเข้า-เข้าไหลออก จากประเทศหนึ่ง สู่อีกประเทศหนึ่ง อย่างรวดเร็ว
เขากล่าวว่าส่วนต่างราคาค่าเงินบาท ระหว่างตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศ ขณะนี้ประมาณดอลลาร์ละ 3 บาท ซึ่งการที่เงินบาทมี 2 ราคา ถือว่าอันตราย
นายก้องเกียรติยังเรียกร้องให้ ธปท. ยกเลิกมาตรการสำรอง 30% โดยการที่แบงก์ชาติเหน็ดเหนื่อยกับการแก้ไขในสิ่งที่ผิด เขาเชื่อว่าไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้น เพราะมาตรการดังกล่าว เปรียบเสมือนเขียนเสือบนกระดาษให้วัวกลัว แล้วแปะอยู่บนกำแพง แต่ตอนนี้ ไม่มีคนกลัวแล้ว
หุ้นไทยขึ้นไม่ใช่เพราะพื้นฐานเศรษฐกิจดี
การที่เงินต่างประเทศไหลเข้าตลาดหุ้นไทยกว่าแสนล้านบาท ตั้งแต่ต้นปีนี้ถึงปัจจุบัน ไม่ใช่เพราะพื้นฐานของประเทศ เพราะเศรษฐกิจของประเทศขณะนี้ ยังไม่ดีเลย บ้านเราถูกคนอื่นหิ้วปีกให้ขึ้น นายก้องเกียรติยืนยัน ด้วยเหตุผลว่า ก่อนหน้านี้ สัดส่วนพีอีในตลาดหุ้นเอเซียโดยเฉลี่ย ประมาณ 17-18 เท่า แต่ตลาดหุ้นไทยมีพีอีเพียง 9 เท่า ซึ่งถือว่าถูก เขากล่าว
ขณะที่นักลงทุน และนักเก็งกำไร มีอยู่ทั่วโลก ซึ่งหลายคนมองว่าอย่างไรเสีย พื้นฐานเศรษฐกิจไทยจะดีขึ้นเรื่อยๆ หลังลงต่ำมาแล้วด้านมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (มาร์เก็ตแคป) ของตลาดหุ้นไทยปัจจุบัน 6.5 ล้านล้านบาท กว่าครึ่ง เป็นมูลค่าของหุ้นในสินค้าโภคภัณฑ์ เช่น น้ำมัน แก๊ส ระวางเรือ เหมืองแร่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ไทยต้องนำเข้า
ยังไม่มีเมกะโปรเจกท์ให้เห็น
ประธานสภาตลาดทุนไทยกล่าวอีกว่า ในแง่การลงทุนของภาครัฐ ยัง เป๋ โดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (เมกะโปรเจกท์) ซึ่งตั้งแต่รัฐบาลปัจจุบันเข้ารับตำแหน่ง จนบัดนี้ ยังไม่มีโครงการก่อสร้างเมกะโปรเจกท์ให้เห็นเลย
วิกฤตบาทแข็งเกิดจาก 4 กับดัก
ทางด้านนายสุวิทย์ เมษินทรีย์ สมาชิกกลุ่มรวมใจไทย กล่าวในบทความของเขาว่า สถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งขณะนี้เกิดจาก ความไม่เชื่อมั่น ในสถานการณ์บ้านเมืองที่เป็นอยู่ขณะนี้ ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตเชิงซ้อน ที่เกิดจาก 4 กับดัก คือ
1. กับดักแห่งความสับสน เป็นสังคมที่ไร้ทิศทาง
2. กับดักแห่งความขัดแย้ง มีการแบ่งเป็นฝักเป็นฝ่าย เป็นความขัดแย้งที่นำไปสู่ความรุนแรง
3. กับดักแห่งความถดถอย ดัชนีชี้วัดความสามารถการแข่งขันของประเทศทุกตัว ตกอย่างต่อเนื่องมากกว่า 2 ปีแล้ว และ
4. กับดักแห่งความเหลื่อมล้ำ ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นขณะนี้ เป็นช่องว่างของอำนาจ ความมั่งคั่ง และโอกาสระหว่างคนจนและคนรวย รวมถึงเริ่มมีช่องว่างระหว่างคนรู้และคนที่ไม่รู้ ระหว่างคนได้โอกาสและคนด้อยโอกาส
วิกฤตคราวนี้หนักหน่วงกว่าวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อ 10 ปีที่แล้วมาก ที่น่าเศร้าใจเป็นอย่างยิ่ง คือวิกฤตเชิงซ้อนครั้งนี้ เกิดขึ้นด้วยน้ำมือของคนไทยด้วยกันเอง เขากล่าว
ทางด้านเสถียรภาพทางการเงินการคลัง ปัญหาขณะนี้ อยู่ที่การบริหาร Flow (การไหลเวียนของเงิน) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากเงินดอลลาร์ ที่ไหลบ่าเข้ามาจากการส่งออก และการลงทุนจากต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงการเก็งกำไรค่าเงินระยะสั้น การบริหาร Flow หลังจากดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดช่วงที่ผ่านมา เขากล่าวว่าขณะนี้ ทางการเริ่มรับฟังข้อคิดเห็นจากทุกฝ่าย ทั้งภาคเอกชนและนักวิชาการ คงจะมีนโยบาย และมาตรการต่างๆ ที่ถูกต้อง และการบริหารจัดการที่ดี เกี่ยวกับค่าเงินบาท ทุกอย่างน่าจะเข้าที่เข้าทางในไม่ช้า
อย่างไรก็ดี โครงสร้างทางมหภาคที่ถูก ต้องเป็น เงื่อนไขที่สำคัญแต่ไม่พอเพียง (Necessary But Not Sufficient Condition) ต่อการสร้างความมั่งคั่งของชาติ เพราะโครงสร้างทางมหภาคที่เหมาะสม จะเปรียบเสมือนเข็มทิศที่ชี้นำทิศทาง ว่าได้มาถูกทิศถูกทางหรือไม่ แต่ไม่ได้บ่งบอกศักยภาพของการเติบโต ขีดความสามารถในการแข่งขัน และการปรับตัวเข้ากับพลวัตในเวทีโลก ปัจจัยต่างๆ ข้างต้น ไม่ใช่เรื่อง โครงสร้างทางมหภาค แต่เป็นเรื่อง ฐานรากทางจุลภาค ที่ประเทศไทยมีความความอ่อนด้อยเกือบทุกด้าน
กรณีการปิดกิจการของไทยศิลป์ ฯ ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเครื่องนุ่งห่มระดับโลก (Global OEM) นายสุวิทย์กล่าวว่าผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็ง เป็นเพียงฟางเส้นสุดท้าย จริงๆ แล้วเกิดจากการบริหารกิจการที่ผิดพลาด ไม่มีการบริหารความเสี่ยง ไร้อำนาจต่อรอง เนื่องจากเป็นการผลิตแบบ หยาดเหงื่อและน้ำตา (Sweat & Tear) ส่วนใหญ่ บริษัทรับคำสั่งซื้อจากลูกค้ารายใหญ่ ซึ่งลูกค้าถอนคำสั่งซื้อ และย้ายฐานการผลิต ทำให้บริษัทไม่สามารถหาลูกค้ารายใหญ่อื่นๆ มาแทนได้ทัน
ประกอบกับเงินบาทแข็งค่าขึ้น ทำให้ Margin ลดลง โรงงานจึงขาดสภาพคล่อง ไม่สามารถชำระหนี้คืนให้กับธนาคารได้ ในที่สุด จึงต้องปิดกิจการ ไม่เพียงแต่ไทยศิลป์ฯ เฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย ยังมีโรงงานในระดับ SMEs ที่ได้ปิดกิจการไปแล้วกว่า 109 โรงงาน ด้วยปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
ยิ่งอนาคตอันใกล้นี้ ไม่ว่าผู้ประกอบการไทยจะชอบหรือไม่ก็ตาม จะพร้อมหรือไม่ก็ตาม แนวโน้มการเปิดเสรีทางการค้า (ภาคบังคับ) จะมากขึ้นเรื่อยๆ ยกตัวอย่างเช่น ภายใต้ข้อตกลงอาเซียน-จีน ปีนี้ ไทยมีการลดภาษีสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ส่วนใหญ่อยู่ที่ 12.5% และจะเป็น 0% ในปี 2553
ปัญหาของผู้ประกอบการไทย จึงเป็นปัญหาเรื้อรัง ผู้ประกอบการหลายรายที่เพิ่ง พลิกฟื้นกิจการ จากผลกระทบของวิกฤตทางการเงินเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ความท้าทายของผู้ประกอบการไทยจากนี้ไป จะเป็นเรื่องของการ พลิกฟื้นธุรกิจ ให้มีภูมิคุ้มกัน มีศักยภาพ มีองค์ความรู้ มีความสมดุล เพียงพอที่จะสร้างขีดความสามารถแข่งขัน และรอดพ้นจากการถูกรุกรานทางการค้า ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ที่เชี่ยวกรากในขณะนี้
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178233
ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานสภาธุรกิจตลาดทุนไทย ชี้ตลาดหุ้นไทยที่คึกคักขณะนี้ ด้วยแรงซื้อนักลงทุนต่างชาติ ไม่ใช่เหตุจากเศรษฐกิจไทยดี แต่เพราะพีอีหุ้นไทยต่ำกว่าตลาดหุ้นอื่นๆ ในเอเซีย ซึ่งถือว่ายังถูก พร้อมแนะทีมแบงก์ชาติ (ธปท.) ที่ดูแลค่าเงินบาท ที่ยังแข็งโป๊ก ต้องมี กึ๋น หรือ Feel เพื่อให้ทันเกมนักเก็งกำไรค่าเงินต่างชาติ ที่เชื่อว่าน่าจะเป็นแบงก์ใหญ่ๆ ของโลก ขณะที่ สุวิทย์ เมษินทรีย์ กลุ่มรวมใจไทย ยันสถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งขณะนี้เกิดจาก ความไม่เชื่อมั่น ในสถานการณ์บ้านเมืองที่เป็นอยู่ขณะนี้ ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตเชิงซ้อน ที่เกิดจาก 4 กับดัก
นายก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานสภาธุรกิจตลาดทุนไทย กล่าวว่าตลาดหุ้นไทยที่คึกคักขณะนี้ ด้วยแรงซื้อจากนักลงทุนต่างประเทศเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่เพราะเชื่อมั่นในภาวะเศรษฐกิจไทย แต่เป็นเพราะสัดส่วนราคาหุ้นต่อกำไร (พีอี) ของบริษัทจดทะเบียนไทย เมื่อเทียบกับตลาดหุ้นเอเซียอื่นๆ ต่ำ ขณะที่ภาวะเศรษฐกิจไทย ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง
แนะ ธปท. แก้ค่าบาทอย่างคนมี -กี๋น
เขายังกล่าวแนะนำทีมผู้บริหารของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ดูแลค่าเงินบาท ให้มี กึ๋น หรือ Feel ในการตอบสนองข้อเรียกร้องของภาคเอกชน ในการรับรับมือกับนักเก็งกำไรค่าเงินบาทในขณะนี้ เพื่อให้มาตรการต่างๆ ที่ ธปท. ออกมา สามารถตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนได้ตรงจุด เพื่อให้เศรษฐกิจไทยเดินหน้าได้ต่อเนื่อง
ทีมผู้ดูแลค่าเงินบาท ต้องมี กึ๋น หรือ Feel เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนได้อย่างตรงจุด ต้องมีความรู้ว่าตลาดต่างประเทศคิดยังไง ไม่ใช่นั่งบนหอคอยงาช้าง Feel เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เหมือนเราออกรบในแนวหน้า เขากล่าว
นายก้องเกียรติกล่าวว่ากลไก และกระบวนการตัดสินใจดูแลค่าเงินบาทขณะนี้ ไม่ต่างจาก 10 ปีก่อน ที่ ธปท. ตัดสินใจผิดพลาด ขนบาทสู้นักเก็งกำไร จนไทยเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง เขากล่าว พร้อมเสริมว่ากระบวนการเก็งกำไรค่าเงินปัจจุบันซับซ้อน เงินไหลเข้า-เข้าไหลออก จากประเทศหนึ่ง สู่อีกประเทศหนึ่ง อย่างรวดเร็ว
เขากล่าวว่าส่วนต่างราคาค่าเงินบาท ระหว่างตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศ ขณะนี้ประมาณดอลลาร์ละ 3 บาท ซึ่งการที่เงินบาทมี 2 ราคา ถือว่าอันตราย
นายก้องเกียรติยังเรียกร้องให้ ธปท. ยกเลิกมาตรการสำรอง 30% โดยการที่แบงก์ชาติเหน็ดเหนื่อยกับการแก้ไขในสิ่งที่ผิด เขาเชื่อว่าไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้น เพราะมาตรการดังกล่าว เปรียบเสมือนเขียนเสือบนกระดาษให้วัวกลัว แล้วแปะอยู่บนกำแพง แต่ตอนนี้ ไม่มีคนกลัวแล้ว
หุ้นไทยขึ้นไม่ใช่เพราะพื้นฐานเศรษฐกิจดี
การที่เงินต่างประเทศไหลเข้าตลาดหุ้นไทยกว่าแสนล้านบาท ตั้งแต่ต้นปีนี้ถึงปัจจุบัน ไม่ใช่เพราะพื้นฐานของประเทศ เพราะเศรษฐกิจของประเทศขณะนี้ ยังไม่ดีเลย บ้านเราถูกคนอื่นหิ้วปีกให้ขึ้น นายก้องเกียรติยืนยัน ด้วยเหตุผลว่า ก่อนหน้านี้ สัดส่วนพีอีในตลาดหุ้นเอเซียโดยเฉลี่ย ประมาณ 17-18 เท่า แต่ตลาดหุ้นไทยมีพีอีเพียง 9 เท่า ซึ่งถือว่าถูก เขากล่าว
ขณะที่นักลงทุน และนักเก็งกำไร มีอยู่ทั่วโลก ซึ่งหลายคนมองว่าอย่างไรเสีย พื้นฐานเศรษฐกิจไทยจะดีขึ้นเรื่อยๆ หลังลงต่ำมาแล้วด้านมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (มาร์เก็ตแคป) ของตลาดหุ้นไทยปัจจุบัน 6.5 ล้านล้านบาท กว่าครึ่ง เป็นมูลค่าของหุ้นในสินค้าโภคภัณฑ์ เช่น น้ำมัน แก๊ส ระวางเรือ เหมืองแร่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ไทยต้องนำเข้า
ยังไม่มีเมกะโปรเจกท์ให้เห็น
ประธานสภาตลาดทุนไทยกล่าวอีกว่า ในแง่การลงทุนของภาครัฐ ยัง เป๋ โดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (เมกะโปรเจกท์) ซึ่งตั้งแต่รัฐบาลปัจจุบันเข้ารับตำแหน่ง จนบัดนี้ ยังไม่มีโครงการก่อสร้างเมกะโปรเจกท์ให้เห็นเลย
วิกฤตบาทแข็งเกิดจาก 4 กับดัก
ทางด้านนายสุวิทย์ เมษินทรีย์ สมาชิกกลุ่มรวมใจไทย กล่าวในบทความของเขาว่า สถานการณ์ค่าเงินบาทแข็งขณะนี้เกิดจาก ความไม่เชื่อมั่น ในสถานการณ์บ้านเมืองที่เป็นอยู่ขณะนี้ ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตเชิงซ้อน ที่เกิดจาก 4 กับดัก คือ
1. กับดักแห่งความสับสน เป็นสังคมที่ไร้ทิศทาง
2. กับดักแห่งความขัดแย้ง มีการแบ่งเป็นฝักเป็นฝ่าย เป็นความขัดแย้งที่นำไปสู่ความรุนแรง
3. กับดักแห่งความถดถอย ดัชนีชี้วัดความสามารถการแข่งขันของประเทศทุกตัว ตกอย่างต่อเนื่องมากกว่า 2 ปีแล้ว และ
4. กับดักแห่งความเหลื่อมล้ำ ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นขณะนี้ เป็นช่องว่างของอำนาจ ความมั่งคั่ง และโอกาสระหว่างคนจนและคนรวย รวมถึงเริ่มมีช่องว่างระหว่างคนรู้และคนที่ไม่รู้ ระหว่างคนได้โอกาสและคนด้อยโอกาส
วิกฤตคราวนี้หนักหน่วงกว่าวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อ 10 ปีที่แล้วมาก ที่น่าเศร้าใจเป็นอย่างยิ่ง คือวิกฤตเชิงซ้อนครั้งนี้ เกิดขึ้นด้วยน้ำมือของคนไทยด้วยกันเอง เขากล่าว
ทางด้านเสถียรภาพทางการเงินการคลัง ปัญหาขณะนี้ อยู่ที่การบริหาร Flow (การไหลเวียนของเงิน) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากเงินดอลลาร์ ที่ไหลบ่าเข้ามาจากการส่งออก และการลงทุนจากต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงการเก็งกำไรค่าเงินระยะสั้น การบริหาร Flow หลังจากดำเนินนโยบายที่ผิดพลาดช่วงที่ผ่านมา เขากล่าวว่าขณะนี้ ทางการเริ่มรับฟังข้อคิดเห็นจากทุกฝ่าย ทั้งภาคเอกชนและนักวิชาการ คงจะมีนโยบาย และมาตรการต่างๆ ที่ถูกต้อง และการบริหารจัดการที่ดี เกี่ยวกับค่าเงินบาท ทุกอย่างน่าจะเข้าที่เข้าทางในไม่ช้า
อย่างไรก็ดี โครงสร้างทางมหภาคที่ถูก ต้องเป็น เงื่อนไขที่สำคัญแต่ไม่พอเพียง (Necessary But Not Sufficient Condition) ต่อการสร้างความมั่งคั่งของชาติ เพราะโครงสร้างทางมหภาคที่เหมาะสม จะเปรียบเสมือนเข็มทิศที่ชี้นำทิศทาง ว่าได้มาถูกทิศถูกทางหรือไม่ แต่ไม่ได้บ่งบอกศักยภาพของการเติบโต ขีดความสามารถในการแข่งขัน และการปรับตัวเข้ากับพลวัตในเวทีโลก ปัจจัยต่างๆ ข้างต้น ไม่ใช่เรื่อง โครงสร้างทางมหภาค แต่เป็นเรื่อง ฐานรากทางจุลภาค ที่ประเทศไทยมีความความอ่อนด้อยเกือบทุกด้าน
กรณีการปิดกิจการของไทยศิลป์ ฯ ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเครื่องนุ่งห่มระดับโลก (Global OEM) นายสุวิทย์กล่าวว่าผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็ง เป็นเพียงฟางเส้นสุดท้าย จริงๆ แล้วเกิดจากการบริหารกิจการที่ผิดพลาด ไม่มีการบริหารความเสี่ยง ไร้อำนาจต่อรอง เนื่องจากเป็นการผลิตแบบ หยาดเหงื่อและน้ำตา (Sweat & Tear) ส่วนใหญ่ บริษัทรับคำสั่งซื้อจากลูกค้ารายใหญ่ ซึ่งลูกค้าถอนคำสั่งซื้อ และย้ายฐานการผลิต ทำให้บริษัทไม่สามารถหาลูกค้ารายใหญ่อื่นๆ มาแทนได้ทัน
ประกอบกับเงินบาทแข็งค่าขึ้น ทำให้ Margin ลดลง โรงงานจึงขาดสภาพคล่อง ไม่สามารถชำระหนี้คืนให้กับธนาคารได้ ในที่สุด จึงต้องปิดกิจการ ไม่เพียงแต่ไทยศิลป์ฯ เฉพาะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย ยังมีโรงงานในระดับ SMEs ที่ได้ปิดกิจการไปแล้วกว่า 109 โรงงาน ด้วยปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
ยิ่งอนาคตอันใกล้นี้ ไม่ว่าผู้ประกอบการไทยจะชอบหรือไม่ก็ตาม จะพร้อมหรือไม่ก็ตาม แนวโน้มการเปิดเสรีทางการค้า (ภาคบังคับ) จะมากขึ้นเรื่อยๆ ยกตัวอย่างเช่น ภายใต้ข้อตกลงอาเซียน-จีน ปีนี้ ไทยมีการลดภาษีสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ส่วนใหญ่อยู่ที่ 12.5% และจะเป็น 0% ในปี 2553
ปัญหาของผู้ประกอบการไทย จึงเป็นปัญหาเรื้อรัง ผู้ประกอบการหลายรายที่เพิ่ง พลิกฟื้นกิจการ จากผลกระทบของวิกฤตทางการเงินเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ความท้าทายของผู้ประกอบการไทยจากนี้ไป จะเป็นเรื่องของการ พลิกฟื้นธุรกิจ ให้มีภูมิคุ้มกัน มีศักยภาพ มีองค์ความรู้ มีความสมดุล เพียงพอที่จะสร้างขีดความสามารถแข่งขัน และรอดพ้นจากการถูกรุกรานทางการค้า ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ที่เชี่ยวกรากในขณะนี้
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178233
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news26/07/07
โพสต์ที่ 114
สกัดบาทแข็งหนุนหุ้นส่งออก
มาตรการสกัดบาทแข็งแบงก์ชาติหนุนหุ้นส่งออกทั้งอิเล็กทรอนิกส์และอาหารพุ่งพรวด โบรกคาดกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ไตรมาส 3 ผลงานยังไปได้สวย เข้าจังหวะช่วงไฮซีซั่นชดเชยขาดทุนบาทแข็งได้สบาย เด่นสุดรอบนี้ต้อง CCET HANA และ CPF แนะ ซื้อ รับผลงานเติบโต
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์เกียรตินาคิน จำกัด เปิดเผยว่า ถึงแม้มาตรการควบคุมเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) จะไม่สามารถทำให้ค่าเงินบาทอ่อนค่ามากนัก แต่ก็ถือว่าส่งผลดีต่อราคาหุ้นกลุ่มที่มีการแกว่งตัวตามค่าเงิน เช่นหุ้นกลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะบริษัทที่ป้องกันความเสี่ยงไว้ในสัดส่วนสูง เช่น บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) CCET ป้องกันความเสี่ยงไว้ประมาณ 90%
บริษัทที่ป้องกันความเสี่ยงไว้มากๆ ผลงานจะเริ่มดีดกลับ เพราะสามารถกำหนดต้นทุนได้ดีขึ้น เพราะในอนาคตค่าเงินอาจจะทรงตัว นักวิเคราะห์กล่าว
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์เอเชีย พลัส จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า มาตรการของธปท.ถือว่าช่วยผู้ส่งออกได้ในระดับหนึ่ง เพราะจะทำให้ผู้ส่งออกกำหนดราคาจำหน่ายได้ง่าย สำหรับกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์มองว่าไตรมาสที่ 3/2550 จะเป็นช่วงที่มีการส่งออกสูงที่สุดของปี และคาดว่าจะช่วยชดเชยการแข็งค่าของเงินบาทได้
อีกทั้งหากเทียบกับปีที่ผ่านมาถือว่าปีนี้ค่าเงินบาทไม่ได้แข็งค่ามากเท่านัก จึงคาดว่าผลการดำเนินงานไตรมาส 3/2550 จะยังออกมาดี โดยยังคงแนะนำ ซื้อ CCET เพราะไตรมาส 3/2550 จะรับรู้รายได้การส่งออกชิ้นส่วนมือถืออย่างเต็มกำลัง หลังจากที่เริ่มรับรู้ในไตรมาส 2/2550 โดยมองราคาเป้าหมาย 7.42 บาท
นอกจากนี้ยังแนะนำ ซื้อ บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) HANA ที่ราคาเป้าหมาย 30.48 บาท เพราะแนวโน้มธุรกิจ IC เริ่มฟื้นตัวอย่างเห็นได้ชัดช่วงครึ่งปีหลังของปีนี้ และจะทำให้อัตรากำไรขั้นต้นปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย หรือคิดเป็น 30% ของรายดีรวม ส่วนหุ้น บริษัท เอสวีไอ จำกัด (มหาชน) SVI ก็ยังคงแนะนำ ซื้อ เช่นเดียวกันเพราะธุรกิจจะดีขึ้นในช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้เช่นกัน
ด้านนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด กล่าวว่า บริษัทในกลุ่มเกษตรและกลุ่มอาหาร มีหลายบริษัทที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงิน และคาดว่ามาตรการธปท.ออกมาไม่น่าจะช่วยได้มากนัก แต่ บริษัทที่สามารถปรับตัวและทรงตัวได้ดีคือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) CPF เนื่องจากบริษัทได้ป้องกันความเสี่ยงไว้ทำให้ที่ผ่านมาไม่ได้รับผลกระทบมากเท่าบริษัทอื่น
สำหรับบริษัทน้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) KSL มีสัดส่วนส่งออก 30% แต่สามารถจัดการต้นทุนได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับ บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) TUF แม้จะได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาทค่อนข้างมาก แต่มาตรการธปท.ที่ออกมาน่าจะช่วยทำให้ยอดขายปรับตัวดีขึ้นได้
ความเคลื่อนไหวราคาหุ้น CCET ( 25 ก.ค.50 ) ปิดซื้อขายที่ 6.50 บาท เพิ่มขึ้น 0.15 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 38.59 ล้านบาท ส่วน HANA ปิดซื้อขายที่ 25.75 บาท ลดลง 0.25 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 100 ล้านบาท ส่วน CPF ปิดซื้อขายที่ 5.35 บาท ลกลง 0.05 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 50.70 ล้านบาท
http://www.thunhoon.com/home/default.asp
มาตรการสกัดบาทแข็งแบงก์ชาติหนุนหุ้นส่งออกทั้งอิเล็กทรอนิกส์และอาหารพุ่งพรวด โบรกคาดกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ไตรมาส 3 ผลงานยังไปได้สวย เข้าจังหวะช่วงไฮซีซั่นชดเชยขาดทุนบาทแข็งได้สบาย เด่นสุดรอบนี้ต้อง CCET HANA และ CPF แนะ ซื้อ รับผลงานเติบโต
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์เกียรตินาคิน จำกัด เปิดเผยว่า ถึงแม้มาตรการควบคุมเงินบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) จะไม่สามารถทำให้ค่าเงินบาทอ่อนค่ามากนัก แต่ก็ถือว่าส่งผลดีต่อราคาหุ้นกลุ่มที่มีการแกว่งตัวตามค่าเงิน เช่นหุ้นกลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะบริษัทที่ป้องกันความเสี่ยงไว้ในสัดส่วนสูง เช่น บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) CCET ป้องกันความเสี่ยงไว้ประมาณ 90%
บริษัทที่ป้องกันความเสี่ยงไว้มากๆ ผลงานจะเริ่มดีดกลับ เพราะสามารถกำหนดต้นทุนได้ดีขึ้น เพราะในอนาคตค่าเงินอาจจะทรงตัว นักวิเคราะห์กล่าว
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์เอเชีย พลัส จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า มาตรการของธปท.ถือว่าช่วยผู้ส่งออกได้ในระดับหนึ่ง เพราะจะทำให้ผู้ส่งออกกำหนดราคาจำหน่ายได้ง่าย สำหรับกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์มองว่าไตรมาสที่ 3/2550 จะเป็นช่วงที่มีการส่งออกสูงที่สุดของปี และคาดว่าจะช่วยชดเชยการแข็งค่าของเงินบาทได้
อีกทั้งหากเทียบกับปีที่ผ่านมาถือว่าปีนี้ค่าเงินบาทไม่ได้แข็งค่ามากเท่านัก จึงคาดว่าผลการดำเนินงานไตรมาส 3/2550 จะยังออกมาดี โดยยังคงแนะนำ ซื้อ CCET เพราะไตรมาส 3/2550 จะรับรู้รายได้การส่งออกชิ้นส่วนมือถืออย่างเต็มกำลัง หลังจากที่เริ่มรับรู้ในไตรมาส 2/2550 โดยมองราคาเป้าหมาย 7.42 บาท
นอกจากนี้ยังแนะนำ ซื้อ บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) HANA ที่ราคาเป้าหมาย 30.48 บาท เพราะแนวโน้มธุรกิจ IC เริ่มฟื้นตัวอย่างเห็นได้ชัดช่วงครึ่งปีหลังของปีนี้ และจะทำให้อัตรากำไรขั้นต้นปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย หรือคิดเป็น 30% ของรายดีรวม ส่วนหุ้น บริษัท เอสวีไอ จำกัด (มหาชน) SVI ก็ยังคงแนะนำ ซื้อ เช่นเดียวกันเพราะธุรกิจจะดีขึ้นในช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้เช่นกัน
ด้านนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด กล่าวว่า บริษัทในกลุ่มเกษตรและกลุ่มอาหาร มีหลายบริษัทที่ได้รับผลกระทบจากค่าเงิน และคาดว่ามาตรการธปท.ออกมาไม่น่าจะช่วยได้มากนัก แต่ บริษัทที่สามารถปรับตัวและทรงตัวได้ดีคือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) CPF เนื่องจากบริษัทได้ป้องกันความเสี่ยงไว้ทำให้ที่ผ่านมาไม่ได้รับผลกระทบมากเท่าบริษัทอื่น
สำหรับบริษัทน้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) KSL มีสัดส่วนส่งออก 30% แต่สามารถจัดการต้นทุนได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับ บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) TUF แม้จะได้รับผลกระทบจากค่าเงินบาทค่อนข้างมาก แต่มาตรการธปท.ที่ออกมาน่าจะช่วยทำให้ยอดขายปรับตัวดีขึ้นได้
ความเคลื่อนไหวราคาหุ้น CCET ( 25 ก.ค.50 ) ปิดซื้อขายที่ 6.50 บาท เพิ่มขึ้น 0.15 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 38.59 ล้านบาท ส่วน HANA ปิดซื้อขายที่ 25.75 บาท ลดลง 0.25 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 100 ล้านบาท ส่วน CPF ปิดซื้อขายที่ 5.35 บาท ลกลง 0.05 บาท มูลค่าการซื้อขายทั้งสิ้น 50.70 ล้านบาท
http://www.thunhoon.com/home/default.asp
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news26/07/07
โพสต์ที่ 115
สศค. ยืนยัน คงประมาณการขยายตัวเศรษฐกิจปีนี้ที่ 3.8 -4.3% เหมือนเดิม
Posted on Thursday, July 26, 2007
นางพรรณี สถาวโรดม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กระทรวงการคลัง ได้แถลงข่าวรายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนมิถุนายน และไตรมาส 2 ปีนี้ สรุปได้ว่า การใช้จ่ายของรัฐบาลมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ควบคู่กับการส่งออกที่ขยายตัวในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ส่วนการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย
อย่างไรก็ตาม การบริโภคภาคเอกชนยังมีแนวโน้มขยายตัวลดลง สำหรับด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจด้านการคลังในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ปีนี้ แสดงถึงบทบาทของรัฐบาลในการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณเพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในภาวะที่อุปสงค์ภายในประเทศยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ โดยรายจ่ายงบประมาณในเดือนมิถุนายนสามารถเบิกจ่ายได้รวมทั้งสิ้น 164.4 พันล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นในระดับสูงที่ 40.1% ในขณะที่รายจ่ายงบประมาณในไตรมาส 2 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 417.3 พันล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 36.3% แบ่งออกเป็นรายจ่ายประจำจำนวน 314.5 พันล้านบาท รายจ่ายลงทุนจำนวน 86.7 พันล้านบาท และรายจ่ายเหลื่อมปีจำนวน 16.2 พันล้านบาท
สำหรับรายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในเดือนมิถุนายน สามารถจัดเก็บได้รวม 99.4 พันล้านบาท ขยายตัว 29.2% ซึ่งเป็นการขยายตัวในระดับสูงกว่าปกติ เนื่องจากปัจจัยฐานต่ำในช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีการหักเงินจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทั้งนี้ หากไม่รวมผลกระทบจากการหักเงินจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าว พบว่า รายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในเดือนมิถุนายนขยายตัว 4.1% ในขณะที่รายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในไตรมาส 2 อยู่ที่ 429.8 พันล้านบาท หรือขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 3.2%
ส่วนการบริโภคภาคเอกชนในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเครื่องชี้การบริโภคจากภาษีมูลค่าเพิ่ม (ณ ราคาคงที่) ในเดือนมิถุนายนยังคงหดตัว 0.5% ทำให้ภาษีมูลค่าเพิ่มในไตรมาส 2 ขยายตัว 0.7% ชะลอลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัว 3.3% ในขณะที่เครื่องชี้การบริโภคสินค้าคงทนยังคงหดตัวต่อเนื่อง
โดยปริมาณจำหน่ายรถยนต์นั่งในเดือนมิถุนายนหดตัว 0.7% ทำให้ปริมาณจำหน่ายรถยนต์นั่งในไตรมาส 2 ยังคงหดตัว 7.9% ส่วนปริมาณจำหน่ายรถจักรยานยนต์ในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 หดตัว 19.0% และ 23.0% ตามลำดับ
นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในเดือนมิถุนายนลดลงมาอยู่ที่ 71.0 จุด ชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 นับตั้งแต่เดือนตุลาคมปีที่ผ่านมา เนื่องจากผู้บริโภคยังมีความกังวลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้น และสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่แน่นอน
สำหรับการลงทุนภาคเอกชนในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ของปี มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย โดยเครื่องชี้การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรจากมูลค่าการนำเข้าสินค้าทุนในเดือนมิถุนายนขยายตัวเพิ่มขึ้น 4.5% ทำให้มูลค่านำเข้าสินค้าทุนในไตรมาส 2 ขยายตัว 3.9%
ทั้งนี้ หากหักมูลค่าการนำเข้าเครื่องบินซึ่งเป็นรายการนำเข้าพิเศษในไตรมาส 2 จะพบว่ามูลค่าการนำเข้าสินค้าทุน (หักเครื่องบิน) ในไตรมาส 2 ขยายตัว 1.6% ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสแรกที่หดตัวลง 4.5%
ขณะที่เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชนด้านการก่อสร้างปรับตัวดีขึ้น โดยภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือนมิถุนายนขยายตัว 6.6% จากที่หดตัวในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในไตรมาส 2 ยังหดตัวที่ 2.5%
สำหรับมูลค่าการส่งออกยังคงขยายตัวได้ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง โดยการส่งออกในเดือนมิถุนายนมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 12.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัว 17.7% ขณะที่มูลค่าการส่งออกในไตรมาส 2 มีมูลค่ารวม 36.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวได้สูงถึง 19.1%
โดยสินค้ากลุ่มหลักที่ขยายตัวได้ดี ได้แก่ กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง และ ข้าว ดังนั้น การส่งออกจึงยังคงเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สำหรับมูลค่าการนำเข้าในเดือนมิถุนายนและในไตรมาส 2 ปรับตัวดีขึ้นตามการลงทุนในประเทศที่ฟื้นตัว โดยมูลค่าการนำเข้าในเดือนมิถุนายนรวมทั้งสิ้น 11.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัว 5.2% ในขณะที่มูลค่าการนำเข้าในไตรมาส 2 อยู่ที่ 34.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ 7.3%
สำหรับดุลการค้าในเดือนมิถุนายน ยังคงเกินดุลในระดับสูงใกล้เคียงกับเดือนก่อนที่ 882.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้ดุลการค้าในไตรมาส 2 เกินดุลทั้งสิ้นเป็น 1.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ด้านเครื่องชี้ในด้านอุปทานพบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงขยายตัวได้ดี ที่ 6.8% และ 11.7% ตามลำดับ เนื่องจากผลผลิตหลัก เช่น ข้าวนาปรังและมันสำปะหลัง ขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก ส่วนเครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรมพบว่า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม(เบื้องต้น)ในเดือนมิถุนายนขยายตัว 5.9% ทำให้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมในไตรมาส 2 ชะลอตัวลงเล็กน้อยมาขยายตัวที่ 5.1% จากไตรมาสแรกที่ขยายตัว 5.4% สอดคล้องกับมูลค่าการนำเข้าสินค้าวัตถุดิบในไตรมาส 2 ที่ขยายตัวชะลอลงมาอยู่ที่ 13.3% ลดลงจาก 15.2% ในไตรมาสแรก
ในด้านเครื่องชี้ภาคบริการโดยเฉพาะการท่องเที่ยว พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือนมิถุนายน มีจำนวน 1.02 ล้านคน ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในไตรมาส 2 รวมทั้งสิ้น 3.1 ล้านคน ลดลงจากไตรมาสแรกที่มีจำนวน 3.8 ล้านคน เนื่องจากปัจจัยฤดูกาลที่นักท่องเที่ยวต่างชาติชะลอการท่องเที่ยวในไตรมาส 2
และเมื่อพิจารณาในแง่เสถียรภาพเศรษฐกิจ ทั้งภายในและต่างประเทศ จะพบด้วยว่า อยู่ในเกณฑ์ดี โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.9% ขณะที่อัตราการว่างงานเดือนพฤษภาคม ยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.6% และสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ในเดือนพฤษภาคม อยู่ที่ 38.2% ซึ่งยังคงต่ำกว่ากรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ตั้งไว้ 50.0% ค่อนข้างมาก
สำหรับเครื่องชี้เสถียรภาพภายนอกประเทศอยู่ในระดับแข็งแกร่ง โดยทุนสำรองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 73.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าหนี้ต่างประเทศระยะสั้นค่อนข้างมาก
และการที่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ ก็ทำให้ผู้อำนวยการ สศค. ยืนยันว่า จะไม่มทีการปรับลดประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปีนี้แต่อย่างใด โดยยังคงไว้ที่ 3.8 - 4.3% เหมือนเดิม
มันนี่ ชาเนล - วรนนท์ อัศวพิริยานนท์
โทรศัพท์ - 02- 229 - 2000 ต่อ 2616
อีเมล - [email protected]
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
Posted on Thursday, July 26, 2007
นางพรรณี สถาวโรดม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กระทรวงการคลัง ได้แถลงข่าวรายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนมิถุนายน และไตรมาส 2 ปีนี้ สรุปได้ว่า การใช้จ่ายของรัฐบาลมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ควบคู่กับการส่งออกที่ขยายตัวในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ส่วนการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย
อย่างไรก็ตาม การบริโภคภาคเอกชนยังมีแนวโน้มขยายตัวลดลง สำหรับด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจด้านการคลังในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ปีนี้ แสดงถึงบทบาทของรัฐบาลในการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณเพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในภาวะที่อุปสงค์ภายในประเทศยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ โดยรายจ่ายงบประมาณในเดือนมิถุนายนสามารถเบิกจ่ายได้รวมทั้งสิ้น 164.4 พันล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นในระดับสูงที่ 40.1% ในขณะที่รายจ่ายงบประมาณในไตรมาส 2 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 417.3 พันล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 36.3% แบ่งออกเป็นรายจ่ายประจำจำนวน 314.5 พันล้านบาท รายจ่ายลงทุนจำนวน 86.7 พันล้านบาท และรายจ่ายเหลื่อมปีจำนวน 16.2 พันล้านบาท
สำหรับรายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในเดือนมิถุนายน สามารถจัดเก็บได้รวม 99.4 พันล้านบาท ขยายตัว 29.2% ซึ่งเป็นการขยายตัวในระดับสูงกว่าปกติ เนื่องจากปัจจัยฐานต่ำในช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีการหักเงินจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทั้งนี้ หากไม่รวมผลกระทบจากการหักเงินจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าว พบว่า รายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในเดือนมิถุนายนขยายตัว 4.1% ในขณะที่รายได้จัดเก็บสุทธิของรัฐบาลในไตรมาส 2 อยู่ที่ 429.8 พันล้านบาท หรือขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 3.2%
ส่วนการบริโภคภาคเอกชนในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเครื่องชี้การบริโภคจากภาษีมูลค่าเพิ่ม (ณ ราคาคงที่) ในเดือนมิถุนายนยังคงหดตัว 0.5% ทำให้ภาษีมูลค่าเพิ่มในไตรมาส 2 ขยายตัว 0.7% ชะลอลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัว 3.3% ในขณะที่เครื่องชี้การบริโภคสินค้าคงทนยังคงหดตัวต่อเนื่อง
โดยปริมาณจำหน่ายรถยนต์นั่งในเดือนมิถุนายนหดตัว 0.7% ทำให้ปริมาณจำหน่ายรถยนต์นั่งในไตรมาส 2 ยังคงหดตัว 7.9% ส่วนปริมาณจำหน่ายรถจักรยานยนต์ในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 หดตัว 19.0% และ 23.0% ตามลำดับ
นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในเดือนมิถุนายนลดลงมาอยู่ที่ 71.0 จุด ชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 นับตั้งแต่เดือนตุลาคมปีที่ผ่านมา เนื่องจากผู้บริโภคยังมีความกังวลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้น และสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่แน่นอน
สำหรับการลงทุนภาคเอกชนในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ของปี มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อย โดยเครื่องชี้การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรจากมูลค่าการนำเข้าสินค้าทุนในเดือนมิถุนายนขยายตัวเพิ่มขึ้น 4.5% ทำให้มูลค่านำเข้าสินค้าทุนในไตรมาส 2 ขยายตัว 3.9%
ทั้งนี้ หากหักมูลค่าการนำเข้าเครื่องบินซึ่งเป็นรายการนำเข้าพิเศษในไตรมาส 2 จะพบว่ามูลค่าการนำเข้าสินค้าทุน (หักเครื่องบิน) ในไตรมาส 2 ขยายตัว 1.6% ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสแรกที่หดตัวลง 4.5%
ขณะที่เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชนด้านการก่อสร้างปรับตัวดีขึ้น โดยภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือนมิถุนายนขยายตัว 6.6% จากที่หดตัวในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในไตรมาส 2 ยังหดตัวที่ 2.5%
สำหรับมูลค่าการส่งออกยังคงขยายตัวได้ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง โดยการส่งออกในเดือนมิถุนายนมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 12.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัว 17.7% ขณะที่มูลค่าการส่งออกในไตรมาส 2 มีมูลค่ารวม 36.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวได้สูงถึง 19.1%
โดยสินค้ากลุ่มหลักที่ขยายตัวได้ดี ได้แก่ กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง และ ข้าว ดังนั้น การส่งออกจึงยังคงเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สำหรับมูลค่าการนำเข้าในเดือนมิถุนายนและในไตรมาส 2 ปรับตัวดีขึ้นตามการลงทุนในประเทศที่ฟื้นตัว โดยมูลค่าการนำเข้าในเดือนมิถุนายนรวมทั้งสิ้น 11.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัว 5.2% ในขณะที่มูลค่าการนำเข้าในไตรมาส 2 อยู่ที่ 34.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ 7.3%
สำหรับดุลการค้าในเดือนมิถุนายน ยังคงเกินดุลในระดับสูงใกล้เคียงกับเดือนก่อนที่ 882.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้ดุลการค้าในไตรมาส 2 เกินดุลทั้งสิ้นเป็น 1.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ด้านเครื่องชี้ในด้านอุปทานพบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงขยายตัวได้ดี ที่ 6.8% และ 11.7% ตามลำดับ เนื่องจากผลผลิตหลัก เช่น ข้าวนาปรังและมันสำปะหลัง ขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก ส่วนเครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรมพบว่า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม(เบื้องต้น)ในเดือนมิถุนายนขยายตัว 5.9% ทำให้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมในไตรมาส 2 ชะลอตัวลงเล็กน้อยมาขยายตัวที่ 5.1% จากไตรมาสแรกที่ขยายตัว 5.4% สอดคล้องกับมูลค่าการนำเข้าสินค้าวัตถุดิบในไตรมาส 2 ที่ขยายตัวชะลอลงมาอยู่ที่ 13.3% ลดลงจาก 15.2% ในไตรมาสแรก
ในด้านเครื่องชี้ภาคบริการโดยเฉพาะการท่องเที่ยว พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือนมิถุนายน มีจำนวน 1.02 ล้านคน ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในไตรมาส 2 รวมทั้งสิ้น 3.1 ล้านคน ลดลงจากไตรมาสแรกที่มีจำนวน 3.8 ล้านคน เนื่องจากปัจจัยฤดูกาลที่นักท่องเที่ยวต่างชาติชะลอการท่องเที่ยวในไตรมาส 2
และเมื่อพิจารณาในแง่เสถียรภาพเศรษฐกิจ ทั้งภายในและต่างประเทศ จะพบด้วยว่า อยู่ในเกณฑ์ดี โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมิถุนายนและไตรมาส 2 ยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.9% ขณะที่อัตราการว่างงานเดือนพฤษภาคม ยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.6% และสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ในเดือนพฤษภาคม อยู่ที่ 38.2% ซึ่งยังคงต่ำกว่ากรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ตั้งไว้ 50.0% ค่อนข้างมาก
สำหรับเครื่องชี้เสถียรภาพภายนอกประเทศอยู่ในระดับแข็งแกร่ง โดยทุนสำรองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 73.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าหนี้ต่างประเทศระยะสั้นค่อนข้างมาก
และการที่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ ก็ทำให้ผู้อำนวยการ สศค. ยืนยันว่า จะไม่มทีการปรับลดประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปีนี้แต่อย่างใด โดยยังคงไว้ที่ 3.8 - 4.3% เหมือนเดิม
มันนี่ ชาเนล - วรนนท์ อัศวพิริยานนท์
โทรศัพท์ - 02- 229 - 2000 ต่อ 2616
อีเมล - [email protected]
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news27/07/07
โพสต์ที่ 116
เตรียมอัดลงทุนทุนสำรองฯ2.7แสนล.บาท - 27/7/2550
เตรียมอัดลงทุนทุนสำรองฯ2.7แสนล.บาท
ธาริษา เชื่อ 6 มาตรการเอาค่าบาทอยู่
ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติ (ธปท.) ธาริษา วัฒนเกส เตรียมเดินหน้าระดมความเห็นผู้รู้ บริหารทุนสำรองฯ ส่วนเกิน หาทางลงทุน ให้ได้ผลตอบแทนมากที่สุด หลังทุนสำรองฯ ไทยล่าสุดอยู่ที่กว่า 8.4 หมื่นล้านดอลลาร์มะกัน (ประมาณ 2.77 แสนล้านบาท) พร้อมยันค่าเงินบาทขณะนี้มีเสถียรภาพ เชื่อ 6 มาตรการแก้ปัญหาบาทแข็งที่ประกาศต้นสัปดาห์นี้ จะช่วยดูแลไม่ให้ค่าบาทผันผวน ทำให้เอกชนปรับตัวได้ดีขึ้น ยอมรับ ธปท. ขาดทุนแล้วกว่า 1.7 แสนล้านบาท หลังเพียงสัปดาห์แรกเดือน ก.ค.นี้ มีเงินไหลเข้ากว่าพันล้านดอลลาร์ ทำให้การบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนของ ธปท.ไม่เป็นไปตามแนวที่ต้องการเห็น
นางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าววานนี้ว่า ธปท.จะเชิญผู้ที่มีความรู้จากหลายๆ ภาคส่วนหารือ เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการทุนสำรองฯ ส่วนเกินให้เป็นประโยชน์มากที่สุด และมีความเสี่ยงน้อยที่สุด ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ เห็นด้วย
ผู้ว่าการ ธปท.กล่าวว่าการแยกทุนสำรองฯ ส่วนเกินออกมาตั้งเป็นกองทุนที่จะสามารถไปลงทุนหาผลประโยชน์ด้านต่างๆ เป็นแนวทางหนึ่งในการบริหารจัดการที่หลายประเทศดำเนินการอยู่ปัจจุบัน แต่ ธปท.ในฐานะธนาคารกลาง จำเป็นต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบ การนำเงินไปลงทุนต้องระมัดระวัง
เป็นสิ่งที่ตั้งใจ และรัฐมนตรีคลังก็เห็นด้วย อยากเรียนเชิญผู้รู้มาร่วมพูดคุยกัน เพื่อหาทางออกที่ดี มีการบริหารจัดการที่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด เป็นทางออกทางหนึ่ง คงทำได้หลายๆ อย่าง และทางออกทางนี้ หลายประเทศก็ทำอยู่ ถ้าเราแยกออกมา และมีการบริหารจัดการที่ดี ก็สามารถไปลงทุนหาผลประโยชน์ได้ดีขึ้น ซึ่งแบงก์ชาติ ในฐานะที่เป็นธนาคารกลาง การลงทุนของเราต้องระมัดระวัง อะไรที่มีความเสี่ยงเราก็จะไม่ลง นางธาริษากล่าววานนี้
ธปท. เผยล่าสุด ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศของไทยอยู่ที่ 8.4 หมื่นล้านดอลลาร์ ขณะที่ฐานะฟอร์เวิร์ดสุทธิ อยู่ที่ 1.25 หมื่นนล้านดอลลาร์
ก่อนหน้านี้ ธปท.เสนอแก้ไข พ.ร.บ.ธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อเปิดทางให้ ธปท.สามารถนำเงินทุนสำรองระหว่างประเทศไปบริหารได้กว้างขวาง และหลากหลายยิ่งขึ้น เช่น การเพิ่มประเภทของพันธบัตรที่มีความมั่นคงสูงในต่างประเทศ ที่ ธปท. สามารถจะไปลงทุนได้ ขณะนี้ พ.ร.บ.ดังกล่าว อยู่ในขั้นการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา
เชื่อ 6 มาตรการเอาค่าเงินบาทอยู่
นางธาริษากล่าวอีกว่า 6 มาตรการดูแลความผันผวนค่าเงินบาท แก้ปัญหาบาทแข็งที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบต้นสัปดาห์นี้ สามารถรับมือกับเงินทุนที่ไหลเข้าจำนวนมาก เนื่องจากหลายมาตรการ มีความเห็นภาคเอกชนร่วมด้วย
เราพยายามดูแลไม่ให้เงินบาทมีความผันผวน แต่ก็ไม่ควรต้านไว้อย่างรุนแรง ที่ผ่านมา ก็มีบางช่วงที่เราไม่ต้องการให้บาทแข็ง แต่ก็มีหลุดบ้าง นางธาริษากล่าวเขากล่าวอีกว่า ธปท.ดูเรื่องความผันผวน มากกว่าการกำหนดเป้า (ค่าเงินบาท) ถ้า (ค่าเงิน) ทุกประเทศแข็งพอกัน เราก็ไม่เสียความสามารถในการแข่งขัน
ผู้ว่าการ ธปท. กล่าวว่าค่าเงินบาทขณะนี้ มีเสถียรภาพมากขึ้นแล้ว หลังจากทางการออกมาตรการดูแลค่าเงินบาทช่วงต้นสัปดาห์นี้ และได้รับการยืนยันจากภาคเอกชนว่า ปรับตัวได้ หากค่าเงินบาทไม่ผันผวน และแข็งขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพราะที่ผ่านมา ค่าเงินบาทแข็งขึ้นเร็วเกินไป จนปรับตัวไม่ทัน
บาทเทียบดอลลาร์เช้าวานนี้อยู่ที่ 33.64/67 จาก 33.61/64 วันพุธ หลังแบงก์ชาติเข้าแทรกแซงต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดต่างประเทศ (offshore) อยู่ที่ 30.00/15 จาก 29.73/82 วันพุธ
นางธาริษากล่าวว่าเงินบาทแข็งค่าช่วงนี้ มาจากค่าดอลลาร์ที่อ่อนลง ซึ่งทำให้มีเงินทุนไหลเข้าไทย จะเข้ามาเป็นระลอกๆ โดยเพียงสัปดาห์แรกของเดือน ก.ค.นี้ มีเงินไหลเข้ามาเท่ากับเงินที่เข้ามาทั้งเดือน มิ.ย. ทำให้การบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนบางช่วงของ ธปท.ไม่เป็นไปตามแนวที่ ธปท.ต้องการเห็นก่อนหน้านี้ ผู้ว่าการ ธปท. กล่าวว่าช่วง 11 วันแรกเดือน ก.ค. เงินไหลเข้าไทยสุทธิ กว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อย่างไรก็ตาม เขาเชื่อว่าจากนี้ไป ธปท.จะสามารถดูแลความผันผวนของค่าเงินบาทได้ดียิ่งขึ้น เพราะได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชน ทั้งการเสนอแนวคิดในการออกมาตรการ การประสานงานกับเอกชนรายใหญ่ จึงเชื่อว่า ไม่จำเป็นต้องมีมาตรการที่รุนแรงออกมาเพิ่มเติมในขณะนี้
อย่างอื่นยังไม่น่าจะต้องจำเป็น หากมีการร่วมกันระหว่างเอกชนและรัฐแล้ว ก็จะมีพลัง (ในการแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่า) เราเปิดทางให้เอกชนเข้ามา อาจเรียกว่า มาช่วยกันช่วยชาติก็ได้ เอกชนรายใหญ่ๆ ก็ประสานงานกับเราอยู่ ขอเรียนว่า มีพลัง
มากขึ้นกว่าเก่า ผู้ว่าการ ธปท. กล่าว
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178313
เตรียมอัดลงทุนทุนสำรองฯ2.7แสนล.บาท
ธาริษา เชื่อ 6 มาตรการเอาค่าบาทอยู่
ผู้ว่าฯ แบงก์ชาติ (ธปท.) ธาริษา วัฒนเกส เตรียมเดินหน้าระดมความเห็นผู้รู้ บริหารทุนสำรองฯ ส่วนเกิน หาทางลงทุน ให้ได้ผลตอบแทนมากที่สุด หลังทุนสำรองฯ ไทยล่าสุดอยู่ที่กว่า 8.4 หมื่นล้านดอลลาร์มะกัน (ประมาณ 2.77 แสนล้านบาท) พร้อมยันค่าเงินบาทขณะนี้มีเสถียรภาพ เชื่อ 6 มาตรการแก้ปัญหาบาทแข็งที่ประกาศต้นสัปดาห์นี้ จะช่วยดูแลไม่ให้ค่าบาทผันผวน ทำให้เอกชนปรับตัวได้ดีขึ้น ยอมรับ ธปท. ขาดทุนแล้วกว่า 1.7 แสนล้านบาท หลังเพียงสัปดาห์แรกเดือน ก.ค.นี้ มีเงินไหลเข้ากว่าพันล้านดอลลาร์ ทำให้การบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนของ ธปท.ไม่เป็นไปตามแนวที่ต้องการเห็น
นางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าววานนี้ว่า ธปท.จะเชิญผู้ที่มีความรู้จากหลายๆ ภาคส่วนหารือ เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการทุนสำรองฯ ส่วนเกินให้เป็นประโยชน์มากที่สุด และมีความเสี่ยงน้อยที่สุด ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ เห็นด้วย
ผู้ว่าการ ธปท.กล่าวว่าการแยกทุนสำรองฯ ส่วนเกินออกมาตั้งเป็นกองทุนที่จะสามารถไปลงทุนหาผลประโยชน์ด้านต่างๆ เป็นแนวทางหนึ่งในการบริหารจัดการที่หลายประเทศดำเนินการอยู่ปัจจุบัน แต่ ธปท.ในฐานะธนาคารกลาง จำเป็นต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบ การนำเงินไปลงทุนต้องระมัดระวัง
เป็นสิ่งที่ตั้งใจ และรัฐมนตรีคลังก็เห็นด้วย อยากเรียนเชิญผู้รู้มาร่วมพูดคุยกัน เพื่อหาทางออกที่ดี มีการบริหารจัดการที่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด เป็นทางออกทางหนึ่ง คงทำได้หลายๆ อย่าง และทางออกทางนี้ หลายประเทศก็ทำอยู่ ถ้าเราแยกออกมา และมีการบริหารจัดการที่ดี ก็สามารถไปลงทุนหาผลประโยชน์ได้ดีขึ้น ซึ่งแบงก์ชาติ ในฐานะที่เป็นธนาคารกลาง การลงทุนของเราต้องระมัดระวัง อะไรที่มีความเสี่ยงเราก็จะไม่ลง นางธาริษากล่าววานนี้
ธปท. เผยล่าสุด ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศของไทยอยู่ที่ 8.4 หมื่นล้านดอลลาร์ ขณะที่ฐานะฟอร์เวิร์ดสุทธิ อยู่ที่ 1.25 หมื่นนล้านดอลลาร์
ก่อนหน้านี้ ธปท.เสนอแก้ไข พ.ร.บ.ธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อเปิดทางให้ ธปท.สามารถนำเงินทุนสำรองระหว่างประเทศไปบริหารได้กว้างขวาง และหลากหลายยิ่งขึ้น เช่น การเพิ่มประเภทของพันธบัตรที่มีความมั่นคงสูงในต่างประเทศ ที่ ธปท. สามารถจะไปลงทุนได้ ขณะนี้ พ.ร.บ.ดังกล่าว อยู่ในขั้นการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา
เชื่อ 6 มาตรการเอาค่าเงินบาทอยู่
นางธาริษากล่าวอีกว่า 6 มาตรการดูแลความผันผวนค่าเงินบาท แก้ปัญหาบาทแข็งที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบต้นสัปดาห์นี้ สามารถรับมือกับเงินทุนที่ไหลเข้าจำนวนมาก เนื่องจากหลายมาตรการ มีความเห็นภาคเอกชนร่วมด้วย
เราพยายามดูแลไม่ให้เงินบาทมีความผันผวน แต่ก็ไม่ควรต้านไว้อย่างรุนแรง ที่ผ่านมา ก็มีบางช่วงที่เราไม่ต้องการให้บาทแข็ง แต่ก็มีหลุดบ้าง นางธาริษากล่าวเขากล่าวอีกว่า ธปท.ดูเรื่องความผันผวน มากกว่าการกำหนดเป้า (ค่าเงินบาท) ถ้า (ค่าเงิน) ทุกประเทศแข็งพอกัน เราก็ไม่เสียความสามารถในการแข่งขัน
ผู้ว่าการ ธปท. กล่าวว่าค่าเงินบาทขณะนี้ มีเสถียรภาพมากขึ้นแล้ว หลังจากทางการออกมาตรการดูแลค่าเงินบาทช่วงต้นสัปดาห์นี้ และได้รับการยืนยันจากภาคเอกชนว่า ปรับตัวได้ หากค่าเงินบาทไม่ผันผวน และแข็งขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพราะที่ผ่านมา ค่าเงินบาทแข็งขึ้นเร็วเกินไป จนปรับตัวไม่ทัน
บาทเทียบดอลลาร์เช้าวานนี้อยู่ที่ 33.64/67 จาก 33.61/64 วันพุธ หลังแบงก์ชาติเข้าแทรกแซงต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดต่างประเทศ (offshore) อยู่ที่ 30.00/15 จาก 29.73/82 วันพุธ
นางธาริษากล่าวว่าเงินบาทแข็งค่าช่วงนี้ มาจากค่าดอลลาร์ที่อ่อนลง ซึ่งทำให้มีเงินทุนไหลเข้าไทย จะเข้ามาเป็นระลอกๆ โดยเพียงสัปดาห์แรกของเดือน ก.ค.นี้ มีเงินไหลเข้ามาเท่ากับเงินที่เข้ามาทั้งเดือน มิ.ย. ทำให้การบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนบางช่วงของ ธปท.ไม่เป็นไปตามแนวที่ ธปท.ต้องการเห็นก่อนหน้านี้ ผู้ว่าการ ธปท. กล่าวว่าช่วง 11 วันแรกเดือน ก.ค. เงินไหลเข้าไทยสุทธิ กว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อย่างไรก็ตาม เขาเชื่อว่าจากนี้ไป ธปท.จะสามารถดูแลความผันผวนของค่าเงินบาทได้ดียิ่งขึ้น เพราะได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชน ทั้งการเสนอแนวคิดในการออกมาตรการ การประสานงานกับเอกชนรายใหญ่ จึงเชื่อว่า ไม่จำเป็นต้องมีมาตรการที่รุนแรงออกมาเพิ่มเติมในขณะนี้
อย่างอื่นยังไม่น่าจะต้องจำเป็น หากมีการร่วมกันระหว่างเอกชนและรัฐแล้ว ก็จะมีพลัง (ในการแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่า) เราเปิดทางให้เอกชนเข้ามา อาจเรียกว่า มาช่วยกันช่วยชาติก็ได้ เอกชนรายใหญ่ๆ ก็ประสานงานกับเราอยู่ ขอเรียนว่า มีพลัง
มากขึ้นกว่าเก่า ผู้ว่าการ ธปท. กล่าว
http://www.siamrath.co.th/Economic.asp?ReviewID=178313
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news27/07/07
โพสต์ที่ 117
คลังเร่งฉีดเงินอุ้มขรก.เกษียณ
โพสต์ทูเดย์ กรมบัญชีกลางเร่งจ่ายเงินข้าราชการเกษียณอายุ 1.5 หมื่นคนภายในเดือน ต.ค.
นายมนัส แจ่มเวหา รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง กล่าวว่า ข้าราชการที่จะเกษียณอายุราชการในปีงบประมาณ 2550 ควรรีบยื่นเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญกับส่วนราชการต้นสังกัด และขอให้ต้นสังกัดเร่งส่งเรื่องให้กรมบัญชีกลางภายในวันที่ 15 ก.ย. นี้ เพื่อกรมบัญชีกลางจะอนุมัติสั่งจ่ายและโอนเงินเข้าบัญชีได้ทันภายในเดือน ต.ค.
ทั้งนี้ ปีงบประมาณ 2550 จะมีข้าราชการเกษียณอายุราชการจำนวน 15,193 คน ยื่นเรื่องเข้ามาแล้วจำนวน 7,266 คน เป็นเงิน 1,112 ล้านบาท ได้อนุมัติแล้วเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2550 จำนวน 5,915 คน เป็นเงิน 903 ล้านบาท
นายมนัส กล่าวว่า ปีนี้กรมบัญชีกลางเร่งรัดให้ส่วนราชการยื่นคำขอรับเข้ามาเร็วขึ้น และจะอนุมัติสั่งจ่ายเงินบำนาญ โดยใช้เงินเดือนที่เลื่อนคนละครึ่งขั้นจากเงินเดือน ณ วันที่ 1 เม.ย. 2550 ไปก่อน แล้วจะปรับปรุงข้อมูลให้สอดคล้องกับคำสั่งที่ถูกต้องในเดือนถัดไป ซึ่งเป็นการปรับระบบการทำงานเพื่อให้ผู้ที่เกษียณอายุราชการได้รับเงินบำเหน็จบำนาญต่อเนื่องจากเงินเดือน ซึ่งจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนในการที่ข้าราชการไม่ได้รับเงินต่อเนื่อง
ที่ผ่านมา การจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญให้แก่ข้าราชการที่เกษียณอายุราชการพร้อมกันในเดือน ต.ค. ของทุกปี ประมาณ 1.6 หมื่นคน กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายได้ภายในเดือน ต.ค. ของทุกปีเพียง 50% ที่เหลือสั่งจ่ายได้ในเดือน พ.ย.
ในปีงบประมาณ 2549 มีผู้เกษียณอายุราชการจำนวนทั้งสิ้น 16,378 คน ได้อนุมัติสั่งจ่ายเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2549 แต่โอนเงินเข้าบัญชีในเดือน ต.ค. 2549 จำนวน 8,407 คน คิดเป็น 51% ของจำนวนผู้ที่เกษียณราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เนื่องจากส่วนราชการยังไม่ยื่นเรื่องขอรับมา มีปัญหาเรื่องรอคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน และ ขั้นตอนการทำงานของกรมบัญชีกลางส่วนหนึ่ง
ก่อนหน้านี้ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรียังมีการอนุมัติเพิ่มเงินบำนาญ 4% ให้แก่ข้าราชการที่เกษียณอายุอีกด้วย เนื่องจากภาวะค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=181259
โพสต์ทูเดย์ กรมบัญชีกลางเร่งจ่ายเงินข้าราชการเกษียณอายุ 1.5 หมื่นคนภายในเดือน ต.ค.
นายมนัส แจ่มเวหา รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง กล่าวว่า ข้าราชการที่จะเกษียณอายุราชการในปีงบประมาณ 2550 ควรรีบยื่นเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญกับส่วนราชการต้นสังกัด และขอให้ต้นสังกัดเร่งส่งเรื่องให้กรมบัญชีกลางภายในวันที่ 15 ก.ย. นี้ เพื่อกรมบัญชีกลางจะอนุมัติสั่งจ่ายและโอนเงินเข้าบัญชีได้ทันภายในเดือน ต.ค.
ทั้งนี้ ปีงบประมาณ 2550 จะมีข้าราชการเกษียณอายุราชการจำนวน 15,193 คน ยื่นเรื่องเข้ามาแล้วจำนวน 7,266 คน เป็นเงิน 1,112 ล้านบาท ได้อนุมัติแล้วเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2550 จำนวน 5,915 คน เป็นเงิน 903 ล้านบาท
นายมนัส กล่าวว่า ปีนี้กรมบัญชีกลางเร่งรัดให้ส่วนราชการยื่นคำขอรับเข้ามาเร็วขึ้น และจะอนุมัติสั่งจ่ายเงินบำนาญ โดยใช้เงินเดือนที่เลื่อนคนละครึ่งขั้นจากเงินเดือน ณ วันที่ 1 เม.ย. 2550 ไปก่อน แล้วจะปรับปรุงข้อมูลให้สอดคล้องกับคำสั่งที่ถูกต้องในเดือนถัดไป ซึ่งเป็นการปรับระบบการทำงานเพื่อให้ผู้ที่เกษียณอายุราชการได้รับเงินบำเหน็จบำนาญต่อเนื่องจากเงินเดือน ซึ่งจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนในการที่ข้าราชการไม่ได้รับเงินต่อเนื่อง
ที่ผ่านมา การจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญให้แก่ข้าราชการที่เกษียณอายุราชการพร้อมกันในเดือน ต.ค. ของทุกปี ประมาณ 1.6 หมื่นคน กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายได้ภายในเดือน ต.ค. ของทุกปีเพียง 50% ที่เหลือสั่งจ่ายได้ในเดือน พ.ย.
ในปีงบประมาณ 2549 มีผู้เกษียณอายุราชการจำนวนทั้งสิ้น 16,378 คน ได้อนุมัติสั่งจ่ายเมื่อวันที่ 15 ก.ย. 2549 แต่โอนเงินเข้าบัญชีในเดือน ต.ค. 2549 จำนวน 8,407 คน คิดเป็น 51% ของจำนวนผู้ที่เกษียณราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เนื่องจากส่วนราชการยังไม่ยื่นเรื่องขอรับมา มีปัญหาเรื่องรอคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน และ ขั้นตอนการทำงานของกรมบัญชีกลางส่วนหนึ่ง
ก่อนหน้านี้ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรียังมีการอนุมัติเพิ่มเงินบำนาญ 4% ให้แก่ข้าราชการที่เกษียณอายุอีกด้วย เนื่องจากภาวะค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=181259
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news27/07/07
โพสต์ที่ 118
ดัชนีภาคอุตสาหกรรมร่วงอีก หอการค้าชี้Q3ศก.ถึงจุดต่ำสุด
ภาคการลงทุนยังไม่ฟื้น สอท.เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ครึ่งปีร่วงอีก สอดคล้องโพลล์หอการค้า ระบุปัจจัยการมือง ค่าบาท น้ำมัน กดหัวเศรษฐกิจไทย กำไรผู้ประกอบการลดลง
นายอดิศักดิ์ โรหิตะศุน รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) เปิดเผยผลการสำรวจความเชื่อมั่นของภาคอุตสาหกรรมไทย (Thai Industries Sentiment Index: TISI) ในเดือนมิถุนายน 2550 ที่ได้จากการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 505 ตัวอย่าง ครอบคลุม 35 กลุ่มอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมฯ ว่า ค่าดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 80.9 จาก 86.1 ในเดือนพฤษภาคม ที่ผ่านมา และอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าเดือนมิถุนายน 2549 ที่อยู่ในระดับ 87.9 สำหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมโดยคือ ปัจจัยด้านสถานการณ์ทางการเมือง ค่าเงินบาท ต้นทุนพลังงาน เศรษฐกิจ/กำลังซื้อ และต้นทุนวัตถุดิบ ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่เน้นตลาดส่งออกได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาทเป็นสำคัญ ขณะที่ผู้ประกอบการที่เน้นตลาดภายในประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติและกำลังซื้อทางเศรษฐกิจ ยอดคำสั่งซื้อและยอดขายทั้งในประเทศและต่างประเทศปรับตัวลดลง
ด้านนายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่าสำหรับการประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทย ตลอดปี 2550 ซึ่งปัจจุบันยอมรับว่ามีสัญญาณการชะลอตัวของการลงทุนและการบริโภคตั้งแต่ต้นปี และเชื่อว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้ จะถึงจุดต่ำสุดในปลายไตรมาสที่ 3 หลังจากนั้นจะปรับตัวดีขึ้นในต้นไตรมาสที่ 4 จากปัจจัยที่เชื่อว่า การส่งออกจะขยายตัวได้ในอัตราที่ดี หากภาครัฐดูแลไม่ให้ปัญหาค่าเงินบาทส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออกมากไป ยังเชื่อว่าภาคการส่งออกจะขยายตัวได้ร้อยละ 12.5 ในขณะเดียวกันจะได้อานิสงส์จากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐ ทั้งที่ยังค้างเบิกจ่ายอยู่อีก 300,000 ล้านบาท รวมถึงการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในปี 2550 ซึ่งคาดว่าจะมีเม็ดเงินหาเสียงสะพัดอีกประมาณ 30,000 ล้านบาท
"สมมติฐานเรื่องการเลือกตั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานที่การเลือกตั้งจะต้องไม่ล่าช้าออกไปมากนักคือ อย่างน้อยต้องมีการเลือกตั้งในเดือนมกราคม และมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 1 หากล่าช้าออกไปจนการตั้งรัฐบาลใหม่เลื่อนออกไตรมาสที่ 2 ก็จะส่งผลเสียมากกว่าผลดี เพราะขณะนี้ต่างประเทศและนักลงทุนกำลังรอความชัดเจนของนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่อยู่" นายธนวรรธน์ กล่าว
นายธนวรรธน์ กล่าวอีกว่าจากปัจจัยที่มองเห็นว่า เศรษฐกิจไทยจะมีโอกาสฟื้นตัวได้ในไตรมาสที่ 4 นั้น จะส่งผลดีช่วยให้เศรษฐกิจของไทยตลอดทั้งปี 2550 ขยายตัวได้ระหว่างร้อยละ 3.8 - 4.3 หรือเฉลี่ยที่ร้อยละ 4.1 ซึ่งเป็นการปรับประมาณการเพิ่มขึ้นจากเดิมที่ศูนย์พยากรณ์ประมาณการว่า เศรษฐกิจจะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.5 - 4.0 หรือเฉลี่ยร้อยละ 3.8
สำหรับปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทนั้น จากการสำรวจความเห็นของผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าอัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบันที่เงินบาทแข็งค่าอยู่ที่ 33.60 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ถือเป็นการแข็งค่ามากเกินไป และส่งผลกระทบกับผู้ประกอบการส่งออกอย่างมาก โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่า ค่าเงินที่เหมาะสมเอื้อต่อการทำธุรกิจจะอยู่ที่ 34.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และผู้ประกอบการส่วนใหญ่ระบุว่าจะมีผลประกอบการขาดทุนถ้วนหน้า หากค่าเงินบาทแข็งค่าถึง 33.00 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
นอกจากนี้ ผลสำรวจของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่าการแข็งค่าขึ้นของค่าเงินบาท ทุก 1 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จะทำให้ผู้ประกอบการมียอดขายลดลงร้อยละ 8.16 มีกำไรลดลงร้อยละ 9.0 และมีต้นทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.46 ลง
http://www.naewna.com/news.asp?ID=69234
ภาคการลงทุนยังไม่ฟื้น สอท.เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ครึ่งปีร่วงอีก สอดคล้องโพลล์หอการค้า ระบุปัจจัยการมือง ค่าบาท น้ำมัน กดหัวเศรษฐกิจไทย กำไรผู้ประกอบการลดลง
นายอดิศักดิ์ โรหิตะศุน รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) เปิดเผยผลการสำรวจความเชื่อมั่นของภาคอุตสาหกรรมไทย (Thai Industries Sentiment Index: TISI) ในเดือนมิถุนายน 2550 ที่ได้จากการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 505 ตัวอย่าง ครอบคลุม 35 กลุ่มอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมฯ ว่า ค่าดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 80.9 จาก 86.1 ในเดือนพฤษภาคม ที่ผ่านมา และอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าเดือนมิถุนายน 2549 ที่อยู่ในระดับ 87.9 สำหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมโดยคือ ปัจจัยด้านสถานการณ์ทางการเมือง ค่าเงินบาท ต้นทุนพลังงาน เศรษฐกิจ/กำลังซื้อ และต้นทุนวัตถุดิบ ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่เน้นตลาดส่งออกได้รับผลกระทบจากปัญหาค่าเงินบาทเป็นสำคัญ ขณะที่ผู้ประกอบการที่เน้นตลาดภายในประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติและกำลังซื้อทางเศรษฐกิจ ยอดคำสั่งซื้อและยอดขายทั้งในประเทศและต่างประเทศปรับตัวลดลง
ด้านนายธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่าสำหรับการประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทย ตลอดปี 2550 ซึ่งปัจจุบันยอมรับว่ามีสัญญาณการชะลอตัวของการลงทุนและการบริโภคตั้งแต่ต้นปี และเชื่อว่าเศรษฐกิจไทยปีนี้ จะถึงจุดต่ำสุดในปลายไตรมาสที่ 3 หลังจากนั้นจะปรับตัวดีขึ้นในต้นไตรมาสที่ 4 จากปัจจัยที่เชื่อว่า การส่งออกจะขยายตัวได้ในอัตราที่ดี หากภาครัฐดูแลไม่ให้ปัญหาค่าเงินบาทส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออกมากไป ยังเชื่อว่าภาคการส่งออกจะขยายตัวได้ร้อยละ 12.5 ในขณะเดียวกันจะได้อานิสงส์จากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐ ทั้งที่ยังค้างเบิกจ่ายอยู่อีก 300,000 ล้านบาท รวมถึงการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในปี 2550 ซึ่งคาดว่าจะมีเม็ดเงินหาเสียงสะพัดอีกประมาณ 30,000 ล้านบาท
"สมมติฐานเรื่องการเลือกตั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานที่การเลือกตั้งจะต้องไม่ล่าช้าออกไปมากนักคือ อย่างน้อยต้องมีการเลือกตั้งในเดือนมกราคม และมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 1 หากล่าช้าออกไปจนการตั้งรัฐบาลใหม่เลื่อนออกไตรมาสที่ 2 ก็จะส่งผลเสียมากกว่าผลดี เพราะขณะนี้ต่างประเทศและนักลงทุนกำลังรอความชัดเจนของนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่อยู่" นายธนวรรธน์ กล่าว
นายธนวรรธน์ กล่าวอีกว่าจากปัจจัยที่มองเห็นว่า เศรษฐกิจไทยจะมีโอกาสฟื้นตัวได้ในไตรมาสที่ 4 นั้น จะส่งผลดีช่วยให้เศรษฐกิจของไทยตลอดทั้งปี 2550 ขยายตัวได้ระหว่างร้อยละ 3.8 - 4.3 หรือเฉลี่ยที่ร้อยละ 4.1 ซึ่งเป็นการปรับประมาณการเพิ่มขึ้นจากเดิมที่ศูนย์พยากรณ์ประมาณการว่า เศรษฐกิจจะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.5 - 4.0 หรือเฉลี่ยร้อยละ 3.8
สำหรับปัญหาการแข็งค่าของเงินบาทนั้น จากการสำรวจความเห็นของผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าอัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบันที่เงินบาทแข็งค่าอยู่ที่ 33.60 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ถือเป็นการแข็งค่ามากเกินไป และส่งผลกระทบกับผู้ประกอบการส่งออกอย่างมาก โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่า ค่าเงินที่เหมาะสมเอื้อต่อการทำธุรกิจจะอยู่ที่ 34.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และผู้ประกอบการส่วนใหญ่ระบุว่าจะมีผลประกอบการขาดทุนถ้วนหน้า หากค่าเงินบาทแข็งค่าถึง 33.00 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
นอกจากนี้ ผลสำรวจของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่าการแข็งค่าขึ้นของค่าเงินบาท ทุก 1 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จะทำให้ผู้ประกอบการมียอดขายลดลงร้อยละ 8.16 มีกำไรลดลงร้อยละ 9.0 และมีต้นทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.46 ลง
http://www.naewna.com/news.asp?ID=69234
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news27/07/07
โพสต์ที่ 119
ธปท.ปรับเพิ่มตัวเลขการขยายตัวทางเศรษฐกิจปีนี้ และปีหน้าเพิ่มเป็น 4.0 - 4.5% และ 4.5 - 6.0%
Posted on Friday, July 27, 2007
นางสุชาดา กิระกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ธปท. ปรับเพิ่มประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจปีนี้ใหม่ จากที่เคบปรับลดในช่วงก่อนหน้าที่ 3.8 - 4.8% เป็น 4.0 - 4.5% พร้อมทั้งปรับเพิ่มประมาณการขยายตัสวทางเศรษฐกิจในปีหน้าใหม่ จาก 4.3 - 5.8% เป็น 4.5 - 6.0% เนื่องจากเมื่อพิจารณาสถานการณ์ทั่วไปแล้ว มีปัจจัยบวกช่วยเคลื่อนเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การส่งออกที่ยังคงขยายตัวได้ปีนี้ ในกรอบ 12 - 15% ขณะที่การนำเข้ามีการเร่งตัวขึ้น เป็นลำดับ
ส่วนการบริโภค และการลงทุนภาคเอกชน น่าจะเริ่มฟื้นตัวได้ตั้งแต่ไตรมาสสุดท้ายปีนี้ เมื่อปัญหาการเมืองคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้นเป็นลำดับ แถมยังได้ประโยชน์จากการที่ดอกเบี้ยต่ำ และไม่มีแรงกดดันจากเงินเฟ้อ และราคาน้ำมัน มากระทบอีก แต่จะเห็นผลชัดเจนหลังจากมีการเลือกตั้ง และได้รัฐบาลใหม่เข้าบริหารประเทศแล้ว
ทั้งนี้ ธปท.ตั้งสมมติฐานเงินเฟ้อปีนี้ และปีหน้า ว่า จะสามารถควบคุมไม่ให้สูงเกิน 2.5% โดยเงินเฟ้อพื้นฐานในปีนี้ และปีหน้า จะไม่ปรับตัวเกิน 2.0% เนื่องจากแรงกดดันจากการปรับตัวของราคาน้ำมันมีน้อย ส่วนหนึ่งเพราะ ธปท.ประเมินแนวโน้มราคาน้ำมันในตลาดโลก อิงตลาดดูไบว่า จะประคองตัวไม่สูงเกิน บาร์เรลละ 65 ดอลลาร์สหรัฐ
สำหรับตัวเลขประมาณการขยายตัวของการส่งออกนั้น เนื่องจากในปีนี้ การส่งออกคงขยายตัวในอัตราไม่ต่ำกว่า 12% ทำให้ฐานในการเปรียบเทียบปีหน้าอยู่ในระดับสูง ประกอบกับการที่เงินบาทมีแนวโน้มจะแข็งค่าขึ้น เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ จึงมีผลให้การส่งออกน่าจะขยายตัวในอัตราชะลอตัวลง เหลือ 5.5 - 8.5% ขณะที่การนำเข้านั้น จะเร่งตัวขึ้น จาก 9.0 - 12.0% ในปีนี้ และ 10.5 - 13.5% ในปีหน้า ตามลำดับ ส่วนหนึ่งเกิดจากการเดินหน้าโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า และการลงทุนที่มากขึ้น หลังมีรัฐบาลไม่ที่มาจากการเลือกตั้ง
นอกจากนี้ ในการตัดสินใจปรับประมาณการขยายตัวยเศรษฐกิจรอบนี้ ได้มีการพิจารณาฐานเงินฝาก ฐานเงินกู้ในระบบธนาคารพาณิชย์ ประกอบเข้าด้วยกับตัวเลขดอกเบี้ยที่แท้จริง และแนวโน้มการขยายสินเชื่อ เข้ามาประเมินไว้ด้วย
สรุปตัวเลขประมาณการเศรษฐกิจ ธปท.
(%) 2548 2549 2550 2551
อัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4.5 5.0 4.0-5.0 4.5-6.0
(เดิม) (3.8-4.8) (4.3-5.8)
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน 1.6 2.3 0.8-1.5 1.0-2.0
(เดิม) (1.0-2.0) (1.0-2.0)
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 4.5 4.7 1.5-2.5 1.0-2.5
(เดิม) (1.5-2.5) (1.0-2.5)
การบริโภคภาครัฐและเอกชน 5.5 3.2 3.5-4.5 4.0-5.0
(เดิม) (3.5-4.5) (4.0-5.0)
การลงทุนภาครัฐและเอกชน 11.1 4.0 1.5-2.5 7.5-8.5
(เดิม) (4.0-5.0) (7.5-8.5)
มูลค่าการส่งออกสินค้า 15.0 17.4 12.0-15.0 5.5-8.5
(เดิม) (9.0-12.0) (5.5-8.5)
มูลค่าการนำเข้าสินค้า 26.0 7.0 9.0-12.0 10.5-13.5
(เดิม) (7.5-10.5) (8.0-11.0)
ดุลการค้า(พันล้านดอลลาร์) -8.6 2.2 5.5-7.5 0.0-3.0
(เดิม) (3.0-5.0) (0.0-3.0)
บัญชีเดินสะพัด(พันล้านดอลลาร์) -7.9 3.2 7.0-9.0 1.0-4.0
(เดิม) (4.0-6.0) (1.0-4.0)
ที่มา / ธปท.
มันนี่ ชาเนล - วรนนท์ อัศวพิริยานนท์
โทรศัพท์ - 02- 229 - 2000 ต่อ 2616
อีเมล - [email protected]
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
Posted on Friday, July 27, 2007
นางสุชาดา กิระกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ธปท. ปรับเพิ่มประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจปีนี้ใหม่ จากที่เคบปรับลดในช่วงก่อนหน้าที่ 3.8 - 4.8% เป็น 4.0 - 4.5% พร้อมทั้งปรับเพิ่มประมาณการขยายตัสวทางเศรษฐกิจในปีหน้าใหม่ จาก 4.3 - 5.8% เป็น 4.5 - 6.0% เนื่องจากเมื่อพิจารณาสถานการณ์ทั่วไปแล้ว มีปัจจัยบวกช่วยเคลื่อนเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การส่งออกที่ยังคงขยายตัวได้ปีนี้ ในกรอบ 12 - 15% ขณะที่การนำเข้ามีการเร่งตัวขึ้น เป็นลำดับ
ส่วนการบริโภค และการลงทุนภาคเอกชน น่าจะเริ่มฟื้นตัวได้ตั้งแต่ไตรมาสสุดท้ายปีนี้ เมื่อปัญหาการเมืองคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้นเป็นลำดับ แถมยังได้ประโยชน์จากการที่ดอกเบี้ยต่ำ และไม่มีแรงกดดันจากเงินเฟ้อ และราคาน้ำมัน มากระทบอีก แต่จะเห็นผลชัดเจนหลังจากมีการเลือกตั้ง และได้รัฐบาลใหม่เข้าบริหารประเทศแล้ว
ทั้งนี้ ธปท.ตั้งสมมติฐานเงินเฟ้อปีนี้ และปีหน้า ว่า จะสามารถควบคุมไม่ให้สูงเกิน 2.5% โดยเงินเฟ้อพื้นฐานในปีนี้ และปีหน้า จะไม่ปรับตัวเกิน 2.0% เนื่องจากแรงกดดันจากการปรับตัวของราคาน้ำมันมีน้อย ส่วนหนึ่งเพราะ ธปท.ประเมินแนวโน้มราคาน้ำมันในตลาดโลก อิงตลาดดูไบว่า จะประคองตัวไม่สูงเกิน บาร์เรลละ 65 ดอลลาร์สหรัฐ
สำหรับตัวเลขประมาณการขยายตัวของการส่งออกนั้น เนื่องจากในปีนี้ การส่งออกคงขยายตัวในอัตราไม่ต่ำกว่า 12% ทำให้ฐานในการเปรียบเทียบปีหน้าอยู่ในระดับสูง ประกอบกับการที่เงินบาทมีแนวโน้มจะแข็งค่าขึ้น เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ จึงมีผลให้การส่งออกน่าจะขยายตัวในอัตราชะลอตัวลง เหลือ 5.5 - 8.5% ขณะที่การนำเข้านั้น จะเร่งตัวขึ้น จาก 9.0 - 12.0% ในปีนี้ และ 10.5 - 13.5% ในปีหน้า ตามลำดับ ส่วนหนึ่งเกิดจากการเดินหน้าโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า และการลงทุนที่มากขึ้น หลังมีรัฐบาลไม่ที่มาจากการเลือกตั้ง
นอกจากนี้ ในการตัดสินใจปรับประมาณการขยายตัวยเศรษฐกิจรอบนี้ ได้มีการพิจารณาฐานเงินฝาก ฐานเงินกู้ในระบบธนาคารพาณิชย์ ประกอบเข้าด้วยกับตัวเลขดอกเบี้ยที่แท้จริง และแนวโน้มการขยายสินเชื่อ เข้ามาประเมินไว้ด้วย
สรุปตัวเลขประมาณการเศรษฐกิจ ธปท.
(%) 2548 2549 2550 2551
อัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4.5 5.0 4.0-5.0 4.5-6.0
(เดิม) (3.8-4.8) (4.3-5.8)
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน 1.6 2.3 0.8-1.5 1.0-2.0
(เดิม) (1.0-2.0) (1.0-2.0)
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 4.5 4.7 1.5-2.5 1.0-2.5
(เดิม) (1.5-2.5) (1.0-2.5)
การบริโภคภาครัฐและเอกชน 5.5 3.2 3.5-4.5 4.0-5.0
(เดิม) (3.5-4.5) (4.0-5.0)
การลงทุนภาครัฐและเอกชน 11.1 4.0 1.5-2.5 7.5-8.5
(เดิม) (4.0-5.0) (7.5-8.5)
มูลค่าการส่งออกสินค้า 15.0 17.4 12.0-15.0 5.5-8.5
(เดิม) (9.0-12.0) (5.5-8.5)
มูลค่าการนำเข้าสินค้า 26.0 7.0 9.0-12.0 10.5-13.5
(เดิม) (7.5-10.5) (8.0-11.0)
ดุลการค้า(พันล้านดอลลาร์) -8.6 2.2 5.5-7.5 0.0-3.0
(เดิม) (3.0-5.0) (0.0-3.0)
บัญชีเดินสะพัด(พันล้านดอลลาร์) -7.9 3.2 7.0-9.0 1.0-4.0
(เดิม) (4.0-6.0) (1.0-4.0)
ที่มา / ธปท.
มันนี่ ชาเนล - วรนนท์ อัศวพิริยานนท์
โทรศัพท์ - 02- 229 - 2000 ต่อ 2616
อีเมล - [email protected]
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news27/07/07
โพสต์ที่ 120
หุ้นไทยดิ่งตามดัชนีตลาดหุ้นทั่วโลก ข่าว 18.00 น.
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Friday, July 27, 2007
ตลาดหุ้นไทยเช้าวันนี้ ได้รับอิทธิพลจากตลาดหุ้นต่างประเทศเกือบทั่วโลกที่ปรับตัวลงแรง ทำให้ไม่สามารถสวนกระแสได้ โดยทันทีที่เปิดตลาด ดัชนีหุ้นไทยปรับลดลงแรง 18.12 จุด หรือ 2.05% และยิ่งปรับตัวลงแรงในการซื้อขายช่วงบ่าย โดยร่วงไปถึง 30 จุด ลงไปต่ำสุดที่ระดับ 854.07 จุด แต่ในชั่วโมงสุดท้ายของการซื้อขาย สามารถดีดกลับขึ้นมาเล็กน้อยมาปิดที่ระดับ 863.58 จุด ปรับตัวลงไป 20.58 จุด หรือ 2.33% ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 34,784 ล้านบาท โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิถึง 4,184 ล้านบาท
การปรับตัวลงของดัชนีหุ้นไทยในวันนี้ ถือเป็นระดับเดียงกับการปรับตัวลงของตลาดหุ้นในภูมิภาคเอเชียส่วนใหญ่ คือ เฉลี่ยปรับตัวลงกว่า 2% โดยตลาดหุ้นไต้หวันดิ่งลงแรงที่สุด 4.22% ตามมาด้วยตลาดหุ้นเกาหลี 4.09%
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์คาดการณ์ว่า สาเหตุที่ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงแรง เกิดจากแรงเทขายทำกำไรของนักลงทุนต่างประเทศ ที่ได้ปรับพอร์ตขายหุ้นทั่วโลก เห็นได้จากตลาดหุ้นทั่วโลกก็ปรับตัวลงแรงเช่นกัน โดยนักลงทุนเริ่มวิตกว่า ปัญหาสินเชื่อในสหรัฐฯ อาจทำให้เกิดวิกฤติทางการเงินในวงกว้าง ส่วนการที่ราคาน้ำมันยังอยู่ในระดับสูง ก็อาจจะส่งผลกระทบต่อสภาพเศราฐฏิจโดยรวมได้เช่นกัน นักลงทุนจึงเทขายหุ้นออกมาเพื่อลดความเสี่ยงทำให้ตลาดหุ้นร่วงลงทั่วโลก
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Mon ... fault.aspx
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Friday, July 27, 2007
ตลาดหุ้นไทยเช้าวันนี้ ได้รับอิทธิพลจากตลาดหุ้นต่างประเทศเกือบทั่วโลกที่ปรับตัวลงแรง ทำให้ไม่สามารถสวนกระแสได้ โดยทันทีที่เปิดตลาด ดัชนีหุ้นไทยปรับลดลงแรง 18.12 จุด หรือ 2.05% และยิ่งปรับตัวลงแรงในการซื้อขายช่วงบ่าย โดยร่วงไปถึง 30 จุด ลงไปต่ำสุดที่ระดับ 854.07 จุด แต่ในชั่วโมงสุดท้ายของการซื้อขาย สามารถดีดกลับขึ้นมาเล็กน้อยมาปิดที่ระดับ 863.58 จุด ปรับตัวลงไป 20.58 จุด หรือ 2.33% ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 34,784 ล้านบาท โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิถึง 4,184 ล้านบาท
การปรับตัวลงของดัชนีหุ้นไทยในวันนี้ ถือเป็นระดับเดียงกับการปรับตัวลงของตลาดหุ้นในภูมิภาคเอเชียส่วนใหญ่ คือ เฉลี่ยปรับตัวลงกว่า 2% โดยตลาดหุ้นไต้หวันดิ่งลงแรงที่สุด 4.22% ตามมาด้วยตลาดหุ้นเกาหลี 4.09%
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์คาดการณ์ว่า สาเหตุที่ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงแรง เกิดจากแรงเทขายทำกำไรของนักลงทุนต่างประเทศ ที่ได้ปรับพอร์ตขายหุ้นทั่วโลก เห็นได้จากตลาดหุ้นทั่วโลกก็ปรับตัวลงแรงเช่นกัน โดยนักลงทุนเริ่มวิตกว่า ปัญหาสินเชื่อในสหรัฐฯ อาจทำให้เกิดวิกฤติทางการเงินในวงกว้าง ส่วนการที่ราคาน้ำมันยังอยู่ในระดับสูง ก็อาจจะส่งผลกระทบต่อสภาพเศราฐฏิจโดยรวมได้เช่นกัน นักลงทุนจึงเทขายหุ้นออกมาเพื่อลดความเสี่ยงทำให้ตลาดหุ้นร่วงลงทั่วโลก
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Mon ... fault.aspx