FYI - For Your Information

เชิญมาพักผ่อน คลายร้อนนั่งเล่น คุยกันเย็นๆ พร้อมเรื่องกีฬา สัพเพเหระ ทัศนะนานา ชีวิตชีวา สุขภาพทั่วไป บันเทิงขำขัน รอบเรื่องเมืองไทย ชวนเที่ยวที่ไหน อยากไปก็นัดมา ...โย่วๆ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Paul VI
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 10538
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 91

โพสต์

ว่าจะไปกินอยู่เหมือนกันครับ พี่ติดแต่ตอนกลางวันไปซัดมาซะอิ่มแปล้แล้ว

ก็เลยขอเบาๆ ที่สีฟ้าแทนครับ

เอ่อ .. คนขับรถของพี่ หน้าเหมือนพี่บูมากเลยนะครับ

แปลว่าตอนสมัครงานนี่ ต้องคัดเลือกหน้าตาให้เหมือนเจ้านาย :mrgreen:
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 92

โพสต์

BBC News/Business/Asia Pacific

19 May 2011 Last updated at 07:09 GMT



Japan back in recession as earthquake cuts consumption


Japan's economy, the world's third largest, has slid back into recession after the devastation caused by the earthquake and tsunami in March.

Gross domestic product shrank 0.9% in the first three months of the year, the Cabinet office said, giving an annualised rate of contraction of 3.7%.

Analysts say consumption and exports were worst hit.

Japan's economy has now contracted for two quarters in a row, the generally accepted definition of a recession.

Japan sank into a recession during the global financial crisis, but had emerged from it in 2009.

The contraction in the first three months of this year was bigger than expected, with most analysts expecting the annualised rate would show a contraction of about 2%.

"Japan's economy is expected to remain weak for the time being," said Japanese Economics Minister Kaoru Yosano on Thursday.

However, Mr Yosano said that supply constraints were easing and reconstruction demand was likely to spur growth.

"The economy has the strength to bounce back," Mr Yosano said.

Pessimistic consumers

Naomi Fink, Japan Strategist at Jefferies, said the most worrying part of the latest data was the decline in private consumption of 0.6%, as people cut their spending after the earthquake.

Private consumption accounts for almost 60% of the Japanese economy.

Roland Buerk reports from Tokyo on Japan's attempts to deal with power loss caused by the earthquake

"It was already soft in the final quarter of 2010," said Ms Fink.

The earthquake, however, has further dampened sentiment.

The consumer confidence index fell to 33.1 in April, according to the Cabinet Office, where a reading below 50 suggests consumer pessimism.

"Judging by the drop in retail sales and household expenditures over March, consumption should be one of the greater contributors to negative growth in the first quarter," said Ms Fink.

Damaged supply chains

The second biggest component of the world's third largest economy is trade.

Exports made up 13.5% and imports 12.7% of gross domestic product in 2009.

The massive earthquake and tsunami devastated exports, while the costs of imports rose due to high commodity prices.

Consumption: 59.2%
Exports: 13.5%
Imports: 12.7%
Source: Japan Cabinet Office (2009)

Japan's trade surplus fell by 34.3% in March compared with the same month a year ago.

"One issue on the export side is the ongoing struggle to restore damaged production lines and supply chains," said Ms Fink.

"On the import side, the increase in demand for fossil fuels, to offset the drop in supply of nuclear energy, is unlikely to fade anytime soon," she added.

Reconstruction demand

Once rebuilding gathers momentum, however, it should have a positive impact on the economy.

But that is only likely to happen towards the end of this year.

"I do not expect positive growth in the second quarter," said Ms Fink.

The country's central bank begins its two-day meeting on Thursday to discuss its monetary policy.

"Japan's economic strength is gradually declining," Bank of Japan (BOJ) governor Masaaki Shirakawa told a parliamentary committee meeting on Tuesday.

Analysts say this signals that the central bank will stick to its ultra-loose monetary policy.

The bank has pumped billions of dollar into the financial system to stabilise the economy since the massive earthquake.

The BOJ is expected to keep the rates unchanged at the lowest level in a range of 0.0% to 0.1%, to help stimulate the economy.
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 93

โพสต์

"ราคาอาหาร และ "ม้าขาว"


วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เวลา 19:00:00 น.
โดย วรากรณ์ สามโกเศศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์



ราคาอาหารที่พุ่งขึ้นสูงทั่วโลกรวมทั้งเอเชียและบ้านเราในปัจจุบันและทางโน้มที่ดูจะเพิ่มขึ้นต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นเรื่องน่ากังวลนอกเหนือจากปัญหาสังคมและปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น การขาดแคลนน้ำ ที่ดินเพาะปลูก อุณหภูมิผันผวน ฯลฯ

รายงานธนาคารโลกล่าสุด "Food Price Watch to March 2011" ระบุว่าราคาอาหารเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่แล้วร้อยละ 36 หากราคาดังกล่าวสูงขึ้นอีกร้อยละ 10 จะผลักดันประชาชนอีก 10 ล้านคนลงไปอยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจน (วัดหยาบๆ ว่ามีรายได้ต่ำกว่า 1.25 เหรียญสหรัฐ หรือ 40 บาทต่อวัน) และถ้าราคาสูงขึ้นร้อยละ 30 แทนที่จะเป็นร้อยละ 10 จะทำให้มีคนยากจนเพิ่มอีก 34 ล้านคน

ความเห็นนี้ตรงกับรายงานของ UN/ADB (Asian Development Bank) /และ IMF ในเรื่องราคาอาหารกับความยากจน กล่าวคือการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารมีผลกระทบอย่างสำคัญต่อคนยากจน โดยทั่วไปเมื่อราคาอาหารสูงขึ้น ในขณะที่รายได้เท่าเดิมก็จะทำให้ซื้ออาหารได้ปริมาณน้อยลงอยู่แล้ว แต่สำหรับคนยากจนที่มีรายได้ต่ำมากนั้น ส่วนใหญ่ของรายได้หมดไปกับค่าใช้จ่ายในเรื่องอาหารเพราะเป็นเรื่องสำคัญของการมีชีวิตรอดจึงถูกกระทบมากเป็นพิเศษ

ตัวเลขของธนาคารโลกระบุว่ามีคนยากจนสุดอยู่ในโลกประมาณ 1,200 ล้านคน ตั้งแต่มิถุนายน 2010 การสูงขึ้นของราคาอาหารทำให้มีคนยากจนสุดเพิ่มขึ้นอีก 44 ล้านคน

เมื่อหันมาดูภูมิภาคเอเชีย รายงานของ ADB ระบุว่าราคาอาหารเพิ่มขึ้นเฉลี่ยในหลายประเทศเอเชียในปีนี้อยู่ที่ประมาณร้อยละ 10 และมีทางโน้มที่จะสูงขึ้นอีก ทั้งนี้ เนื่องจากราคาน้ำมันโลกที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น ปริมาณอาหารในโลกที่ผลิตได้น้อยลงเนื่องจากอากาศวิปริตในบางประเทศที่เป็นแหล่งผลิตใหญ่ เช่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ฯลฯ และมาตรการควบคุมการส่งออกอาหารของหลายประเทศ

ไม่ใช่เพียงแต่การเพิ่มขึ้นของราคาอาหารเป็นเรื่องหนักใจของภูมิภาคเท่านั้น สภาวะการเพิ่มขึ้นของราคาโดยทั่วไป (สภาวะเงินเฟ้อ) ก็เป็นเรื่องที่ประเทศใหญ่ในเอเชียให้ความสนใจ การควบคุมการใช้จ่ายของรัฐพร้อมกับปรับอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นเป็นมาตรการที่ถูกนำมาใช้กันทั่วหน้า

จีน อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้ ยอมให้ค่าเงินแข็งขึ้นอย่างจงใจเพื่อทำให้ราคาอาหารที่นำเข้าไม่มีราคาท้องถิ่นสูงเท่ากับกรณีที่ค่าเงินอ่อน การควบคุมราคาอาหารนำเข้าในระดับหนึ่งจะมีส่วนช่วยให้อัตราเงินเฟ้อไม่เลวร้ายลง

ตัวอย่างเช่น ถ้าค่าเงินวอนของเกาหลีใต้เป็น 1 เหรียญสหรัฐ = 1,100 วอน อาหารนำเข้าราคา 1 เหรียญก็จะมีราคาประมาณ 1,100 วอน แต่ถ้าค่าเงินเพิ่มขึ้นเป็น 1 เหรียญ = 900 วอน อาหารนำเข้า 1 เหรียญก็จะมีราคาท้องถิ่นประมาณ 900 วอนเท่านั้น

เหตุผลที่ราคาอาหารจะสูงขึ้นในระยะปานกลางคือไม่เกิน 25 ปี (ระยะยาวจะเป็นอย่างไรนั้นพูดได้ยาก John Maynard Keynes นักเศรษฐศาสตร์เอกของโลกเคยตอบคนที่ถามว่าระยะยาวจะเป็นอย่างไรนั้นว่า in the long run, we are dead) เห็นได้ไม่ยากทั้งนี้เนื่องจาก,
 '
(ก)ประชากรของโลกจาก 7 พันล้านคนในปัจจุบัน จะเพิ่มขึ้นเป็น 9 พันล้านคนในปี 2035 หรือประมาณ 15 ปีจากปัจจุบัน ซึ่งทำให้ความต้องการใช้พลังงานโดยรวมเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 35 โดยยังจะต้องพึ่งพิงน้ำมัน/ก๊าซ และถ่านหินต่อไป (ปัจจุบันโลกพึ่งพาในสัดส่วนร้อยละ 80 ของการใช้พลังงานทั้งหมด ถึงแม้ว่าจะพยายามใช้พลังงานทดแทนอื่นกันมากเท่าใดก็ตาม) ท่ามกลางปริมาณที่มีจำกัด ราคาจึงมีทางโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

(ข) ปัจจุบันประชากรโลก 7 พันล้านคน โดยเฉลี่ยมีอายุขัยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3 เดือน ทุกๆ ปี และจะเพิ่มสูงขึ้นอีกในทศวรรษหน้า อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการแพทย์ ความกินดีอยู่ดี และความรู้ในเรื่องการรักษาสุขภาพ การมีอายุยืนขึ้นก็จะบริโภคอาหารมากขึ้นเป็นธรรมดา (ลองจินตนาการดูว่าคนหนึ่งคนในชีวิตที่ยืนยาว 60-70 ปี บริโภคอาหารประมาณ 65,000-76,000 มื้อนั้น หมดเปลืองอาหารไปมากเพียงใด)

ใน 15-20 ปีข้างหน้า เชื่อว่าประชากร 9,000 ล้านคน จะมีความต้องการอาหารเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 50 ของระดับปัจจุบัน การมีอาหารเพียงพอผ่านความรู้ในเรื่องการเกษตรจึงเป็นหัวใจสำคัญของการอยู่รอดของแต่ละสังคม

ความสำคัญที่ให้แก่การเกษตรและน้ำตลอดเวลากว่า 60 ปีที่ผ่านมาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นหลักฐานสำคัญสนับสนุนการเทิดทูนพระปรีชาญาณและพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์

สำหรับบ้านเรานั้นในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด ยาง ผลไม้ ฯลฯ มีราคาสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดซึ่งนับว่าเป็นผลดีแก่เกษตรกร แต่ก็ทำให้ราคาอาหารและค่าครองชีพสำหรับคนทั้งประเทศโดยเฉพาะคนที่อยู่อาศัยในเมืองและรับค่าจ้างสูงขึ้น ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ก็คือราคาของสิ่งต่างๆ ไม่ว่าอาหารหรือค่าจ้าง หรือสิ่งอื่นๆ ก็สูงขึ้นทั้งนั้นเมื่อเวลาผ่านไปในทุกสังคม
 
คำถามก็คือจะทำอย่างไรให้สมาชิกของสังคมมีรายได้ที่แท้จริงสูงขึ้นข้ามเวลา กล่าวคือถึงแม้ราคาจะเพิ่มขึ้น แต่รายได้ก็เพิ่มสูงขึ้นเร็วกว่า

คำถามนี้ผู้อาสาจะมาเป็นนายกรัฐมนตรีของไทยทุกคนต้องมีคำตอบที่ชัดเจนเพราะเป็นประเด็นใหญ่ที่สังคมของเรากำลังจะเผชิญหน้า

สำหรับผู้สมัครคนอื่นๆ เราก็เคยได้ยินคำตอบกันมาพอควรแล้ว เหลือแต่ คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ผู้เป็น "นารีขี่ม้าขาว" ของพลเอกพัลลภ ปิ่นมณี เท่านั้น ต้องตอบคำถามนี้ให้ได้อย่างน่าเชื่อถือ

ถึงแม้พวกเราจะไม่เคยมีโอกาสเห็นขี่ม้าธรรมดา แต่เมื่ออาสาเป็นนายกรัฐมนตรีแล้วก็ต้องบอกพวกเราได้ว่าการจะ "ขี่ม้าขาว" นั้นท่านจะขี่ อย่างไร
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 94

โพสต์

พระราชวังต้องห้ามใจกว้าง เตรียมให้พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ยืมโบราณวัตถุ


วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เวลา 20:23:24 น.
MatichonOnline




พิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้าม ในกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน  เตรียมให้พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ (Louvre) ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ยืมผลงานมากกว่า 100 ชิ้นไปจัดแสดง ซึ่งบางชิ้นนั้นไม่เคยนำออกนอกประเทศจีนมาก่อน
 
โดยเจ้าหน้าที่จากพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ เปิดเผยว่า โบราณวัตถุประมาณ 130 ชิ้น อาทิ อาวุธ เสื้อผ้า เครื่องหยก เครื่องสำริด เครื่องเขิน เครื่องเคลือบ ตราประทับ เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องใช้ส่วนพระองค์ของจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ชิง จะนำมาจัดแสดงในนิทรรศการซึ่งคาดว่าจะเปิดให้เข้าชมในช่วงปลายปีนี้
 
นี่ถือเป็นครั้งแรกที่ผลงานลักษณะดังกล่าวจะนำมาจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ซึ่งไม่มีส่วนจัดแสดงศิลปะจีน โดยจะมีการดัดแปลงห้องจัดแสดงบางห้องให้สอดคล้องกับการจัดแสดงผลงานดังกล่าว ซึ่งจะเป็นเสมือนการฉายภาพวิถีชีวิตของราชสำนักจีน
 
พระราชวังต้องห้าม ตั้งอยู่ใจกลางกรุงปักกิ่ง เริ่มก่อสร้างเมื่อราวคริสศตวรรษที่ 15 และเป็นที่พำนักของสมาชิกราชวงศ์หมิง (ระหว่างปี ค.ศ.1368 – 1644) และราชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644 – 1911) ต่อมาจึงถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์ในปี พ.ศ. 1925 ภายหลังการล่มสลายของราชวงศ์ชิง
 
นิทรรศการ "The Forbidden City at the Louvre" หรือ"พระราชวังต้องห้ามที่ลูฟวร์" จะเป็นการสะท้อนภาพประวัติศาสตร์ของพระราชวังหลวงทั้งสองแห่งแบบคู่ขนานกันไป เพราะทั้งพระราชวังต้องห้ามและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ มีส่วนที่คล้ายคลึงกันคือ ในอดีตเคยเป็นที่ประทับของกษัตริย์และจักรพรรดิ และกลายมาเป็นพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน
 
นิทรรศกาลดังกล่าวจะเปิดให้ชมระหว่างวันที่ 29 ก.ย. ปีนี้ จนถึง วันที่ 9 ม.ค. ปีหน้า
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 95

โพสต์

7 June 2011 Last updated at 23:09 GMT

China's billionaires: Zong Qinghou, boss of Wahaha

By Nick Rosen
Author and filmmaker


Over two decades Zong Qinghou's company grew from a school shop selling vitamin drinks to having a 15% share of China's soft drinks market.

I met Zong Qinghou, by some measures China's richest man, in his office - an anonymous building near Hangzhou railway station.

His company Wahaha has a 15% share of China's soft drinks market, and sales of nearly a billion dollars a year in children's clothing.

Before the interview, we were ushered into the staff canteen, a plain oblong room with formica tables where the top staff eat the same food as the workers.

When we arrived in his office, I noticed the same meal had been laid out for their boss.

Zong's monk-like devotion to duty is legendary. A former employee remembers he personally reviewed every office expense, including the purchase of a broom.

He still personally signs every major spending decision. In his office are two safes in which he told me he keeps the company seals of each of his approximately 200 subsidiaries.

He says he lives on $20 a day. "My only exercise is doing market research... my only hobbies are smoking and drinking tea," he told me (when I asked, he said his favourite brand was Lipton's).

Liquid foundation

Over two decades, he grew the company from a shop in a school selling ice lollies and vitamin drinks.

In 1989, he established the Wahaha Nutritional Food Factory in Hangzhou to produce Wahaha Oral Liquid for Children.

It was demand for the nutritional drinks that were the foundation of his empire. When sales took off, the government invited him to take over a failing canning factory in the same town.

The two companies merged in 1991 after a fierce media campaign led by the employees of the canning company, who accused him of being a capitalist.

Zong runs the company with his wife and daughter. Family involvement is a common feature of entrepreneur-owned businesses in China.

The founders see family members as more trustworthy and reliable than other senior management.

His daughter runs important parts of the business, but Zong says he has not yet chosen her as his successor.

No handouts

Zong is unusual amongst Chinese businessmen in his focus on philanthropy. But he does not just give his money away.

He said hard work was the key to the poor lifting themselves out of poverty. If you give money to the poor "they just spend it," he told me.

His daugther is a US passport holder, and Mr Zong said his main interest in working with foreign companies is to import products which Chinese companies are bad at making, yet his joint venture to set up Chinese factories with Danone ended acrimoniously.

Meanwhile, the 67-year-old is busy planning a major expansion into retail. While Walmart and Carrefours are pulling out of Chinese operations, Zong plans to open 100 large supermarkets in second and third-tier cities.

Zong Qinghou's Honorary Titles:

•National Excellent Entrepreneur

•National Excellent Manager

•Model of Patriotism to Support the Armed Forces

•Outstanding Builder of Socialism with Chinese Characteristics

•The First Chinese Entrepreneurs Entrepreneurship Prize
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 96

โพสต์

16 June 2011 Last updated at 10:11 GMT

Article written byPaul Mason
Economics editor, Newsnight


Ten points on the Euro crisis

1. The EU leaders are at loggerheads over the issue: should Greece be allowed to do a soft, controlled, partial default on its debts which forces banks and pension funds to lose some of the money they lent to Greece? Germany says yes, the European Central Bank chief Jean-Claude Trichet says no.

2. The question arises because the first Greek bailout, 110bn euros, did not work. Greece now needs another 85bn euros from the EU/IMF, and has to sell at least 30bn euros of assets on top of that because it cannot borrow in the global markets.

3. To justify the new bailout, both under its own rules and because voters in Finland, Netherlands and Germany resent the bailout, the EU is insisting on a new range of austerity measures, amounting to a 10% cut in public spending, a 1/3 cut in the public wage bill and 50bn euros worth of knockdown privatisation.

4. But the Greek PM George Papandreou could not get this through parliament. His majority fizzled to nothing as the details emerged and public pressure mounted. He offered a national unity government to New Democracy, the centre right, who refused; he offered to stand down on condition a new government signed up to the austerity plan, but no-one bought this.

5. So now, the one stable factor in the Euro crisis is gone. The Eurocrats were busy arguing over the terms of the bailout, but now their trusted dialogue partner has gone missing: even if a new government is sworn in on Thursday, how can the EU negotiate if there is no guarantee that the full spectrum of austerity measures can be got through the Greek parliament?

6. This is why the markets have long, already, discounted a hard default: 50 to 70% of the money is, as far as they are concerned, as good as gone.

7. But the moment of actually writing that into the account books will trigger a "credit event" for those who value and insure countries' sovereign debt. This will instantly raise people's aversion to risk: they will do instant de-risking of their own portfolios and you may come to a point where one bank refuses to lend to another. This is a credit crunch and is what the Euro policy makers fear. If it is triggered, it will negatively impact the whole world economy.

8. What's the fallback position? To let Greece default - chaotically or otherwise - but use taxpayers' money to bailout the affected north-European banks. That is what the German political elite is said to be considering. Market people are worried that Dexia, a Belgian bank, could be hit hard, bringing Belgian sovereign debt into the picture next.

9. Who will lose? Any pension fund or bank that lent money to Greece, Greek banks, or Greek people. And Greece will, if it drops out of the Eurozone, be forced to implement austerity anyway. However it will have economic sovereignty, which it does not have now.

10. Is there an alternative? Yes: a Marshall Plan for Europe, where German, French and British taxpayers voluntarily send money to Greece, Portugal and Ireland, shore-up their banks, shore-up their country finances, give them time to do structural reforms; in return they effectively seize control of south Europe's economic policy and impose a single Eurozone tax and spend regime. Another alternative is to let peripheral Europe leave the zone and rebuild it with Denmark and Sweden as a kind of "dark winter night" economic zone, based on sound principles and weak beer. Politics makes all of point 10 currently a non-starter.

11. Is there a wildcard? Yes: the Greek population. They will not accept any more austerity and if they succeed in resisting it, this will give Ireland and Portugal ideas. Another wildcard is the myopia of the Eurozone elite. It is not clear if they really understand points one to 10.
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 97

โพสต์

17 June 2011 Last updated at 10:07 GMT


Q&A: Greek debt crisis


Demonstrations have continued on the streets of Athens, turning violent this week as protesters make clear their opposition to austerity measures.

Prime Minister George Papandreou looks like he is going to stay in his job, but has appointed a new cabinet.

Mr Papandreou has been trying to pass the austerity measures that are needed for the EU and IMF to continue making their payments under the original bail-out.

The next tranche of 12bn euros ($17bn; £11bn) from the original bail-out will almost certainly be paid, which will keep the Greek government going for a few more weeks.

It is now likely that a second bail-out package will be agreed in principle by EU finance ministers on Sunday, although there will not be details yet of the form that package will take.


Why does Greece need another bail out so soon?

Greece received its original bail-out only a little over a year ago in May 2010.

The reason it had to be bailed out was that it had become too expensive for it to borrow money commercially.

It had debts that needed to be paid and as it couldn't afford to borrow money from financial markets to pay them, it turned to the European Union and the International Monetary Fund.

The idea was to give Greece time to sort out its economy so that the cost for it to borrow money commercially would come down.

That has not yet happened. Indeed, the ratings agency S&P recently decided that Greece was the least credit-worthy country it monitors.

As a result, Greece has lots of debts that need to be paid, but it cannot afford to borrow commercially and does not have enough money from the first bail-out to pay them.


Why can't Greece just default on its debts?

If Greece were not a member of the eurozone, it might be tempted just to default on its debts, which would mean either declining to make interest payments or insisting that creditors agree to accept lower payments and write off some of the debt.

In the case of Greece, that would present enormous difficulties.

The rates of interest that eurozone governments have to pay have been kept low by the assumption that the European Union and the European Central Bank would provide assistance to eurozone countries to stop them defaulting.


There has been much public opposition to the austerity programme
If that turned out not to be the case, the cost of borrowing for many of the smaller EU states, some of which are already struggling to service their debts, would rise significantly.

It means that if Greece were to default, the Irish Republic and Portugal might have to default as well.

A default would also be bad news for the banks that have loaned large amounts of money to the governments of Portugal, the Irish Republic and Greece.

If all of those banks got into trouble, it would seriously test the resources of the European Central Bank, which has loaned large amounts of money to the banks involved and to the countries themselves.

As long as Europe can afford to help countries avoid a default, it is likely to do so.


So why don't European countries just agree another bail-out?

The trouble is that the German government wants banks to share some of the pain from the second bail-out.

That would mean that instead of the Greek government borrowing money from the EU to pay maturing debt, the banks would just have to agree to renew the debt, probably on favourable terms for Greece.

The French government and the European Central Bank have warned that such a debt restructuring would be considered by many as a default, which would further delay the day when Greece can borrow commercially again.

European governments may be influenced by the amount of debt their own banks have lent to Greece.

The ratings agency Moody's has said it may downgrade France's three biggest banks because of their exposure to Greece.


Could the crisis spread?


If Greece defaults, then the problems could well spread to Portugal and the Irish Republic.

Without a default, there could still be problems, because the bail-outs for Portugal and the Irish Republic were designed to tide both countries over until they could borrow commercially again, just as was hoped for Greece.

If that hasn't been possible in Greece, investors may question whether the same solution will work for the other two bail-out recipients.

The real problem is what happens to Spain, which has seen its own borrowing costs rising recently.

The Spanish economy is as big as Greece, Portugal and the Irish Republic put together and the European Union would struggle to bail it out if that became necessary.


What does all this mean to the UK?

According to figures from the Bank of International Settlements, UK banks hold a relatively small $3.4bn worth of Greek sovereign debt - as against banks in Germany, which hold $22.6bn, and France, which hold $15bn. When you add in other forms of Greek debt, such as lending to private banks, those figures rise to $14.6bn for the UK, $34bn for Germany and $56.7bn for France.

However, since a Greek default would have such a big knock-on effect for other troubled European economies, it would exacerbate the UK's exposure to Irish debt, which is rather larger.

At the moment, it is all but impossible to calculate the size of any future cost to UK taxpayers arising from another Greek bail-out. The UK's current liability is a mere $1.9bn, which is the cost of its part in the IMF's loan to Greece. But any further support from the IMF, or from non-eurozone EU members, would obviously swell the cost.
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 98

โพสต์

เอเชีย ความหวังใหม่ธุรกิจกีฬา

โดย : กันยาภรณ์ เผือกวิสุทธิ์



ขณะที่เศรษฐกิจทุกแวดวงเกิดการชะลอตัว ไม่เว้นแม้แต่ 'กีฬา' ยอดนิยมหลายประเภท ที่รายได้ลดลงฮวบฮาบ

 ในสภาวะเช่นนี้เอง พวกเขาได้พุ่งเป้าเข้ามาหาเม็ดเงินในดินแดนใหม่ นั่นก็คือ 'เอเชีย'

 'กีฬา' ก็เหมือนกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกตอนนี้ เนื่องจากบริษัทขนาดใหญ่ๆ พากันตัดงบการเป็นสปอนเซอร์ หรือผู้สนับสนุน และโฆษณา เพราะกำไรร่วงลง

 ขณะเดียวกัน การแข่งขันกีฬาหลายรายการก็มีผู้เข้าชมน้อยลงมาก หรือเผชิญกับแรงกดดันให้ลดค่าตั๋วลงมา เพราะลูกค้าตกงาน และพากันรัดเข็มขัดตัวเอง

 อย่างไรก็ดี แม้จะมีปัญหาท่วมท้น แต่เอเชียก็เป็นภูมิภาคหนึ่ง ที่ยังให้แสงแห่งความหวังต่ออุตสาหกรรมนี้อยู่

 ประชากรเกือบ 3,000 ล้านคนของเอเชีย มีกลุ่มที่เป็นคอกีฬาอย่างเหนียวแน่นอยู่จำนวนมาก ซึ่งถือเป็นแรงจูงใจขนาดใหญ่สำหรับแบรนด์ระดับโลก และค่ายกีฬาดังๆ ที่กำลังมุ่งหน้ามายังตะวันออก เพื่อหาผู้สนับสนุนที่มีเม็ดเงินก้อนโต สิทธิในการถ่ายทอดโทรทัศน์ และยอดขายสินค้าประเภทต่างๆ

 "เอเชียมีศักยภาพสูงด้วยสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ การให้ผลตอบแทนระดับสูง สื่อที่ใช้ต้นทุนต่ำ และผู้ชมจำนวนมหาศาล" เอเดรียน นิวส์ จากซิน เวิลด์ วปอร์ตส์ กรุ๊ป กลุ่มบริษัท จัดงาน และทำตลาดกีฬาชั้นนำของเอเชีย กล่าว
 นิวส์ระบุด้วยว่า ผู้สนับสนุนที่มาจากภาคธุรกิจต่างๆ ยังคงแข็งแกร่ง โดยเฉพาะ ธุรกิจเครื่องดื่ม แต่ที่ขาดหายไปคือ ธนาคาร และรถยนต์ อันเป็นผลมาจากวิกฤติการเงินนั่นเอง

'นักฟุตบอล' โกเอเชีย

 ปริมาณฐานแฟนคลับทั่วโลกที่มีไม่ต่ำกว่า 300 ล้านคน รวมถึง 190 ล้านคนในเอเชีย ทำให้ 'ผีแดง' สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด แห่งเกาะอังกฤษ ประสบความสำเร็จอย่างมากในการเดินทางมาทัวร์เอเชียก่อนเปิดฤดูกาล  ด้วยจำนวนแฟนบอลที่เข้ามาชมล้นสนาม ทั้งในมาเลเซีย เกาหลีใต้ และจีน

 ตามความเป็นจริงแล้ว เดวิด กิลล์ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่บริหาร (ซีอีโอ)แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ระบุว่า สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสโมสร มีบทบาทอย่างมาก สำหรับการเผยแพร่ความเป็นแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

 ระหว่างเดือน มิถุนายน 2550 ถึง มิถุนายน 2551 สโมสรฟุตบอลรายนี้ สามารถทำรายได้จากการขายสินค้าพาณิชย์รูปแบบต่างๆ มากถึง 64 ล้านปอนด์ ซึ่งในขณะนี้ผู้บริหารผีแดง ยังมีเป้าหมายที่จะนำแบรนด์ออกไปขายทั่วทุกทวีป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคที่สโมสรคาดหวังว่าจะเป็นแหล่งเฟื่องฟูทางธุรกิจแหล่งใหม่

 ตลาดเป้าหมายใหม่ของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ก็คือ 'อินเดีย' ซึ่งเป็นเป้าหมายเดียวกับคู่แข่งขนาดใหญ่ อย่างลิเวอร์พูล และเชลซี โดยกิลล์ ยอมรับว่า ไม่เคยจัดทีมเดินทางไปทัวร์อินเดียเลย และประเทศนี้ก็เหมือนกับ 'แนวใหม่ขนาดใหญ่' สำหรับสโมสร

 สำหรับฤดูกาลปี 2553/2554 นั้น เจ้าถิ่นโอลด์ แทรฟฟอร์ดได้สปอนเซอร์กระเป๋าหนักรายใหญ่คือ 'เอออน' บริษัทที่ปรึกษาด้านความเสี่ยง และประกันภัยรายใหญ่ของโลก ที่ยอมควักกระเป๋าให้กับผีแดง ซึ่งมีฐานแฟนคลับเหนียวแน่นในเอเชีย ถึงปีละ 20 ล้านปอนด์

 นักวิเคราะห์ชี้ว่า ยักษ์ใหญ่ประกันภัยรายนี้ ซึ่งไม่ค่อยเป็นที่รู้จักมากนักนอกสหรัฐ ตัดสินใจในเรื่องดังกล่าว เพราะมองเห็นจากกรณีของเอไอจี สปอนเซอร์เก่าของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ที่สามารถผลักดันแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในเอเชีย ผ่านการเชื่อมโยงกับสโมสรฟุตบอลรายนี้

 แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ไม่ได้เป็นสโมสรฟุตบอลรายเดียว ที่หวังสร้างตลาดในเอเชีย โดยคู่แข่งตัวเอ้ อย่าง ลิเวอร์พูล ก็เดินสายทัวร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยกัน และเรียกเสียงสนับสนุนได้อย่างล้นหลามทั้งในไทย และสิงคโปร์

 สโมสรฟุตบอลจากเกาะอังกฤษรายอื่นๆ ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างแบรนด์ในเอเชีย รวมถึง ฮูล ซิตี้ ทอตแนม ฮอตสเปอร์ และเวสต์แฮม ยูไนเต็ด ที่ต่างส่งทีมมาดวลแข้งชิงถ้วยบาร์เคลย์ส เอเชีย ในจีน

นักบาสก็เอาด้วย

 อย่างไรก็ดี ฟุตบอลไม่ได้เป็นกีฬาประเภทเดียว ที่มองหาลู่ทางโกยเงินจากความสนใจอย่างต่อเนื่องของแฟนๆ เอเชียที่มีต่อทีมกีฬา และนักกีฬาดังจากฝั่งตะวันตก

 โคเบ ไบรอันท์ ผู้นำพาทีมบาสเก็ตบอล 'แอลเอ เลเกอร์ส' คว้าแชมป์เอ็นบีเอ ฤดูกาล 2552 ไปครอง และได้รับเลือกเป็นผู้เล่นทรงคุณค่า ก็เป็นหนึ่งในนักกีฬาที่สหพันธุ์บาสเกตบอลสหรัฐ เลือกให้เดินทางมาโปรโมทการแข่งขันบาสเอ็นบีเอในเอเชีย พ่วงด้วยการเปิดตัวรองเท้า ที่ผลิตขึ้นมาเฉพาะสำหรับภูมิภาคนี้

 แฟนบาสเอเชียให้การต้อนรับไบรอันท์อย่างล้นหลาม ทุกๆ สถานที่ที่ไนกี้ ผู้ผลิตรองเท้ากีฬาชื่อดัง จัดงานให้เขาเดินทางไปนั้น จะมีกลุ่มแฟนมาคอยให้กำลังใจอย่างคับคั่ง ไม่ว่าจะเป็นที่ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกง และไต้หวัน

 "ผมรักเอเชีย ผมได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น ทุกคนปฏิบัติกับผมเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน" ไบรอันท์เปิดใจและว่า แฟนบาสเอเชียมีความสำคัญกับเขา โดยในช่วงปิดฤดูการแข่งขัน เขาตัดสินใจที่จะเดินทางมายังภูมิภาคนี้ เพราะต้องการติดต่อกับแฟนๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฟิลิปปินส์ และจีน ซึ่งเขายินดีอย่างมากที่ได้ทำเช่นนี้

 ทางด้านนิว จากซิน เวิลด์ สปอร์ตส์ ระบุว่า การเดินทางมาเอเชียของไบรอันท์ หลังจากที่ทีมเลเกอร์ส เพิ่งได้แชมป์เอ็นบีเอ ถือเป็นข่าวดีทั้งสำหรับตัวไบรอันท์  บรรดาแฟนคลับของเขา และไนกี้

 "เขาเป็นบุคคลมีชื่อเสียงในสหรัฐ การที่ตัวเขามาอยู่ที่นี้ ทำให้ชาวเอเชียมีโอกาสที่จะได้ใกล้ชิดกับวีรบุรุษด้านกีฬา ในขณะที่ไนกี้เองก็สามารถยกระดับการเป็นผู้สนับสนุนของบริษัทได้" นิว ระบุ

'ซูเปอร์สตาร์เอเชีย' สปอนเซอร์ตัวจริง

 การแข่งขันกีฬายอดนิยมรายงานต่างๆ ในสหราชอาณาจักร และสหรัฐ ไล่ตั้งแต่ฟุตบอล บาสเก็ตบอล และเบสบอล ไม่ได้มุ่งเฉพาะแต่ขายชื่อทีมไปทั่วโลกเท่านั้น แต่ผู้เล่นจำนวนหนึ่ง ที่ทีมเหล่านี้เลือกมาจากเอเชีย ก็กลายเป็นเครื่องมือทำตลาดของกีฬาเหล่านี้เช่นกัน

 ซูเปอร์สตาร์เอเชียที่ไปโด่งดังในโลกตะวันตก รวมถึง ปาร์ก จี ซุง นักเตะฝีเท้าเยี่ยมของเกาหลีใต้ ที่ไปค้าแข้งกับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด และชุนซูเกะ นากามูระ ผู้เล่นของทีมเอสปันญอล สเปน ซึ่งเคยไปเล่นให้กับเซลติค มาแล้ว

 นอกจากนี้ ยังมี เหยา หมิง นักบาสชาวจีน ดาวดังของทีมฮูสตัน ร็อคเก็ต และ อิจิโร ซูซูกิ นักกีฬาเบสบอลชื่อดังของญี่ปุ่น หนึ่งในผู้เล่นที่มีคนชื่นชอบมากสุดของซีแอตเติล มารีนส์

 การเลือกซูเปอร์สตาร์เอเชียเหล่านี้เข้าร่วมทีม ช่วยหนุนให้ฐานแฟนคลับของกีฬา และตัวบุคคลเพิ่มมากขึ้น

 ข้อเท็จจริงดังกล่าว สื่อความหมายว่า จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมแต่เป็นประเทศที่อุตสาหกรรมกีฬาโลกต้องคำนึงถึง เมื่อพูดถึงเรื่องธุรกิจกีฬา ซึ่งหากการเชื่อมโยงระหว่างธุรกิจ และกีฬาไปได้ด้วยดี ก็จะช่วยให้เจ้าของสโมสรกีฬาทั้งหลาย ดึงเงินจากกระเป๋าสปอนเซอร์ได้ง่ายขึ้น

 อย่างไรก็ดี นิวเตือนว่า ยังมีกีฬาบางประเภทที่ทำเงินจากตลาดขนาดใหญ่ของเอเชียไม่ได้

 "รายการแข่งขันรถสูตร 1 หรือ เอฟ 1 ยังขาดทุนอยู่ เพราะสปอนเซอร์หน้าใหม่จะเข้ามาสู่กีฬาประเภทนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง แต่กีฬาอย่างกอล์ฟ และฟุตบอลยังทำเงินได้ดีอยู่ " นิวระบุ พร้อมชี้ว่า  กีฬากอล์ฟ ยังมีผู้สนับสนุนน้อยอยู่ ซึ่งเขาคาดว่าแบรนด์ใหม่ๆ จะเข้ามาเป็นสปอนเซอร์ให้กับกีฬานี้มากขึ้น

 ตรงข้ามกับฟุตบอลที่ปัจจุบันมีสปอนเซอร์เต็มหมดแล้ว

หมายเหตุ : เรียบเรียงจาก สำนักข่าวบีบีซี
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 99

โพสต์

Sport Management โมเดล ขับเคลื่อนจีดีพี



โดย : ประกายดาว แบ่งสันเทียะ
ธุรกิจ : BizWeek
วันที่ 20 มิถุนายน 2554 09:00




เข็มทิศหนึ่งในการผลักดัน GDP ของประเทศที่พัฒนาแล้ว นั่นคือ การใช้ "กีฬา" ชูโรง ชัยชนะที่แท้จริงของเกมจึงมากกว่าการคว้า "เหรียญทอง"


 "สหรัฐ และอังกฤษ" ถือเป็นสองประเทศนำร่องเป็น Role Model ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากเกมกีฬา ที่ไม่ได้ขีดวงเฉพาะภายในประเทศ หากยังขยายวงกว้างไปทั่วโลก ขณะที่ฟากฝั่งเอเชีย เกาหลีใต้ เป็นอีกประเทศที่น่าติดตามความเคลื่อนไหวในการใช้กีฬาผลักดันอัตราเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP) ในการเป็นเจ้าภาพ "เอเชี่ยนเกมส์"  เริ่มจากการสร้างภาพลักษณ์ประเทศให้ทั่วโลกรู้จัก ตามมาด้วยการรับทรัพย์เป็นกอบเป็นกำ ทั้งก่อน-ระหว่างและหลังเกมการแข่งขัน 


 กลับมาที่ประเทศไทย มีความเป็นไปได้หรือไม่ที่ไทยจะใช้เกมกีฬา มาขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เหมือนกับประเทศพัฒนาแล้ว มีตัวแปรที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไรในการขับเคลื่อนบนพื้นฐานของคนไทยที่บ้ากีฬาไม่แพ้ชาติอื่น โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอล การบูมขึ้นของไทยพรีเมียร์ลีก


ดร.นิลมณี ศรีบุญ ประธานสมาคมการจัดการกีฬาแห่งเอเชีย บอกว่า ประเทศที่มีการเชื่อมโยงกีฬากับการพัฒนาเศรษฐกิจจนประสบความสำเร็จส่วนใหญ่ล้วนเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจ เช่น อังกฤษ กีฬาเข้ามาเกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจมูลค่าถึง 23,000 ล้านปอนด์ หรือ 2% ของ GDP ขณะที่ผู้บริโภคใช้จ่ายเงินไปกับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกีฬาถึง 2.5% ของการใช้จ่ายรวมในทุกภาคส่วน


ขณะที่สหรัฐอเมริกา ส่งเสริมอุตสาหกรรมกีฬาจนเติบโตเทียบเท่ากับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ จัดอยู่ในอันดับที่ 11 ของอุตสาหกรรมในภาพรวม มีเงินหมุนเวียนในอุตสาหกรรมกีฬามูลค่าสูงถึง 213,000-350,000 ล้านดอลลาร์ต่อปี

ทั้งนี้การสร้างรายได้จากกีฬาจนกลายเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในสหรัฐฯ พบว่าเกิดจากการ "วางโมเดล" เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับกีฬา จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตไม่ต่ำกว่า 70-80% ของประชากรทั้งหมดในสหรัฐ ไม่ว่าจะการเล่นกีฬา การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาอาชีพ  กองเชียร์ ฯลฯ

นั่นคือ การแปลงกีฬาที่เกี่ยวข้องกับคนไม่กี่คน ให้กลายเป็น "กีฬามหาชน" ที่คนครึ่งค่อนประเทศ "อินน์" ไปกับเกม ! ก่อนจะต่อยอดไปยังธุรกิจเกี่ยวเนื่องอีกมากมาย กลายเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในที่สุด โดยเริ่มต้นสร้างแนวร่วมมหาชนจากเกมในระดับท้องถิ่น ก่อนจะขยับมาสู่เกมระดับประเทศ ในลักษณะของการตามเชียร์ทีมในดวงใจ   


ขณะที่ในอังกฤษ แม้ทีมฟุตบอลจะไม่ประสบความสำเร็จในการคว้าแชมป์ฟุตบอลโลก (ตามประวัติศาสตร์เป็นแชมป์เพียง 1 สมัยในปี 2509) แต่ทีมอังกฤษกลับประสบความสำเร็จในการใช้เกมบอลขับเคลื่อนเศรษฐกิจในแง่ของการจำหน่ายสินค้าทั่วไป สินค้าลิขสิทธิ์  เกมยังทำให้เกิดธุรกิจเกี่ยวเนื่องมากมาย เนื่องจากทีมอังกฤษเป็นหนึ่งในทีมที่มีคนเชียร์มากอันดับต้นๆ ของโลก

หมิง ลี อาจารย์และประธานภาควิชาการบริหารจัดการธุรกิจกีฬา มหาวิทยาลัยโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เล่าถึงโมเดลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากกีฬาในสหรัฐฯว่า เริ่มต้นจากหน่วยเล็กๆ หรือ"ท้องถิ่น"ก่อน ด้วยความพยายามดึงให้คนท้องถิ่น รวมไปถึงคนต่างถิ่นเข้ามาชมการแข่งขันให้ได้มากที่สุด

คนเหล่านั้นก็จะจับจ่ายทั้งค่าที่พัก ค่าท่องเที่ยว เดินทาง ค่าอาหาร ค่าตั๋วเข้าชม และค่าอุปกรณ์เชียร์ ไม่นับรายได้ทางอ้อม และรายได้ที่เกิดจากอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องต่างๆ 

หมิง ลี ยกตัวอย่างการแข่งขัน Savannah Open Golf Tournament ในสหรัฐว่ามีการใช้จ่ายเงินมูลค่ารวมถึง 89,000 ล้านดอลลาร์ ขณะที่ลีกกีฬาอาชีพในสหรัฐสามารถทำรายได้มูลค่ารวมถึง 31,760 ล้านดอลลาร์

ขณะที่ ดร.โช กวางมิน อาจารย์จากมหาวิทยาลัย ยอนเซ เกาหลีใต้ เล่าถึงแผนการพัฒนาเกมกีฬาของเกาหลีใต้ให้เติบโตเป็นฟุตบอลอาชีพได้อย่างรวดเร็วภายในเวลา 30 ปีว่า เริ่มต้นจากการพัฒนาวงการกีฬาเบสบอลและฟุตบอลด้วยการสร้างทีมฟุตบอลเกาหลีลีก (K league) ให้เติบโตโดยดึงประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมให้มากที่สุด ไม่ต่างจากโมเดลในสหรัฐ

การเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติอย่าง "เอเชียนเกมส์" ณ กรุงโซล ในปี 2529 นับเป็นการ "จุดพลุ" ในการพัฒนาเกมกีฬาของเกาหลีใต้ให้ตื่นตัว ไปพร้อมกับการพัฒนานักกีฬาที่มีความสามารถระดับโลกอย่าง ปาร์ค จี ซอง

เขายังบอกว่า กีฬาเบสบอลลีกภายในเกาหลีใต้ ยังมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในระยะเวลาเพียง 30 ปี โดยสามารถสร้างให้เป็นหนึ่งในกีฬา "สันทนาการที่ใหญ่ที่สุด" ในเกาหลีใต้ สามารถสร้างรายได้ถึง 24 ล้านดอลลาร์ ในปี 2551 ขณะที่ฟุตบอลอาชีพในเกาหลีลีก ที่เริ่มก่อตั้งในปี 2536 ปัจจุบันมีนักเตะที่มีชื่อเสียงและเข้ารอบบอลโลกถึง 7 ครั้ง สร้างรายได้เป็นมูลค่ามากถึง 108 ล้านดอลลาร์


 เขายังบอกว่า ที่ผ่านมาเจ้าของทีมฟุตบอลเกาหลีมักประสบปัญหาขาดทุน มีเพียงทีมอินชอน ยูไนเต็ด ทีมเดียวที่ได้กำไร เนื่องจากให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการซื้อหุ้น กลายเป็นโมเดลทำให้ทุกทีมนำแนวทางนี้ออกไปตั้งทีมฟุตบอลนอกเมือง ก่อนจะให้ประชาชนในเมืองนั้นๆ มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของทีม เพื่อสร้างความผูกพันกับทีม ทำให้ง่ายต่อการขอสนับสนุนจากสปอนเซอร์


 นอกจากนี้สิ่งที่ทำให้เกาหลีใต้ประสบความสำเร็จในการบริหารธุรกิจกีฬา นั่นคือใช้ "กลยุทธ์ด้านการตลาด" ในวงกว้างทั้งในและต่างประเทศ จนสามารถสร้างแฟนคลับทีมได้อย่างเหนียวแน่น ดึงให้คนดูมีอารมณ์ร่วมเชียร์ไปกับทีมฟุตบอลได้
 

ดร.อิษฎี กุฎอินทร์ อาจารย์สาขาวิชาการจัดทางการกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่าถึงโมเดลการทำทีมกีฬาของเกาหลีใต้ว่า มีลักษณะใกล้เคียงกับการทำทีมกีฬาในไทยคือ การตั้งทีมกีฬาในระดับบริษัทก่อนจะเข้าไปกับมวลชนในเมืองหรือต่างจังหวัดเพื่อดึงการมีส่วนร่วม ซึ่งมีส่วนสร้างเศรษฐกิจชุมชนได้ เช่น ทีมโอสถสภา สระบุรี  รวมถึงทีมการไฟฟ้าฯที่ไม่ทำทีมเองแต่จะออกไปเชื่อมโยงกับเนวิน ชิดชอบ ในการทำทีม บุรีรัมย์ พีอีเอ  หรือแม้กระทั่ง SCG สมุทรสาคร

 "ในอนาคต ทีมที่เข้าไปมีส่วนร่วมกับเมืองขนาดใหญ่ มีธุรกิจเชื่อมโยงเกี่ยวข้องจะมีความได้เปรียบในการทำทีมเป็นธุรกิจและมีศักยภาพในการหาสปอนเซอร์มากกว่า" เขาเล่าถึงพัฒนาการของทีม ที่ดึงชุมชนเป็นแนวร่วมเพื่อการันตีมีฐานมวลชนสนับสนุน

ดร.นิลมณี ยังเสริมว่า ปัจจุบันทีมฟุตบอลลีกของไทยเริ่มมี "นักการตลาด" และ "นักบริหาร" เข้าไปมีส่วนในการสร้างทีม เพื่อสร้างมูลค่าและหารายได้เข้าทีมหรือสโมสร  เช่น ในมุมของสำนึกรักบ้านเกิด การมีส่วนร่วมผูกพันกับทีมท้องถิ่น เพื่อดึงแฟนคลับเข้ามามีส่วนร่วมเชียร์ และเป็นเจ้าของทีม

นอกจากนี้ การแข่งขันฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีกเริ่มมีการมองข้ามชอตไปถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจมากขึ้น เช่น การวิเคราะห์สถิติคนดู และรายได้จากการขายตั๋วเข้าชม มากกว่าผล "แพ้-ชนะ" 

ขณะเดียวกันเทคนิคที่จะทำให้คนหันมาสนใจกีฬามากขึ้น นั่นคือ การปั้นนักกีฬามือดีขึ้นมาประดับวงการ เหมือนเช่น เจิ้ง หยานี นักกอล์ฟสาวชาวไต้หวัน เมื่อเริ่มมีชื่อเสียง ก็กลายเป็นไอดอลให้กับเด็กต้องการเติบโตมาเป็นนักกีฬาอาชีพที่ประสบความสำเร็จเหมือนไอดอลของเขา

ด้าน ดร.พงษ์ศักดิ์ สวัสดิเกียรติ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มองว่า หากจะพัฒนาเศรษฐกิจจากกีฬา เป้าหมายหลักในการจัดการแข่งขันกีฬา ต้องปรับความคิดไม่หวังผลเพียงเหรียญทองอีกต่อไป แต่ต้องมองรายได้ มูลค่าเศรษฐกิจ เป็นตัวหลัก 

นอกจากนี้ยังต้องสร้างมุมมองใหม่ทำให้กีฬา กลายเป็น "อุตสาหกรรมบันเทิง" เป็นหนึ่งในสันทนาการ พักผ่อนในวันหยุด

“ในอดีตนักเตะในหลายๆ แมทช์ มีจำนวนมากกว่าคนดู แต่ตอนนี้ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก มีคนดูไม่ต่ำกว่า 5,000 คนต่อแมทช์สร้างรายได้เฉลี่ย ครั้งละ 5 แสนบาท ไทยพรีเมียร์ลีก มี 18 ทีม สามารถสร้างรายได้ทั้งฤดูกาลไม่ต่ำกว่า 36 ครั้ง เฉลี่ยแล้วสร้างรายได้ถึง 20 ล้านบาทต่อทีม จากการเก็บค่าเข้าชมการแข่งขัน”

ดร.สุเมต สุวรรณพรหม เลขาธิการสมาคมการจัดการการกีฬาแห่งประเทศไทย ประเมินว่า กีฬาฟุตบอลสร้างเงินหมุนเวียนในระบบทั้งหมดทั้งไทยพรีเมียร์ลีก ,ดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 ซึ่งเป็นลีกภูมิภาค มูลค่าประมาณไม่ต่ำกว่า 5,000 ล้านบาทต่อปี โดยเป็นรายได้จากการขายตั๋ว สปอนเซอร์ รวมถึงสร้างทีมให้มีมูลค่าเป็นสินทรัพย์ สร้างมูลค่าจากนักเตะ และค่าลิขสิทธิ์จากการถ่ายทอดสด เป็นต้น 

หากมีการสร้างให้กีฬามีความเป็นมหาชน เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มีความรู้สึกเป็นเจ้าของทีม เนื่องจากเป็นหนึ่งในชุมชน ที่สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิด จะทำให้ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเติบโตไปพร้อมกันกับปรากฏการณ์กีฬามหาชน ใน 5 กลุ่มธุรกิจ คือ

1.ธุรกิจกิจกรรมการแข่งขัน (Event)  เช่น เอเชี่ยนเกมส์ หรือ ฟุตบอลโลก เป็นกลยุทธ์ที่ปลุกเศรษฐกิจให้ขับเคลื่อนได้อย่างคึกคักสำหรับประเทศเจ้าภาพที่จัดการแข่งขันกีฬา อาทิ แอฟริกาใต้ที่จัดฟุตบอลโลก ถือว่าประสบความสำเร็จในการประชาสัมพันธ์ประเทศ และการท่องเที่ยว ที่ดึงให้มหาชนเข้าไปในแอฟริกาใต้

2.ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์กีฬา เช่น เสื้อผ้ากีฬา รองเท้า ผ้าพันคอ เพื่อสวมใส่มาเชียร์ โดยเฉพาะทีมที่ได้เข้ารอบลึกๆ ในฟุตบอลโลก หรือ ทีมอันดับต้นๆ ของไทยพรีเมียร์ลีก จะจำหน่ายอุปกรณ์กีฬาได้มาจากแฟนคลับที่ตามเชียร์ตามลุ้น


3.ธุรกิจสถาบันพัฒนากีฬาอาชีพ ที่แตกต่างกันกับโรงเรียนกีฬา แต่เป็นการสร้างเพื่อกีฬาอาชีพโดยเฉพาะ สร้างนักกีฬาอาชีพ ทำให้เกิดการพัฒนาบุคลากรด้านกีฬาตั้งแต่ยังเด็ก ผลักดันให้เกิดธุรกิจอะคาเดมี่ในเมืองไทย พร้อมกันกับผลิตบุคลากรที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การสอนหลักสูตรบริหารจัดการกีฬา (Sport management) ได้เริ่มต้นแล้วในบางมหาวิทยาลัยในประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม  ที่ปัจจุบันผลิตบุคลากรไปแล้วกว่า 100 คน

 
4.ธุรกิจกีฬาเพื่อการบริการ หรือ ฟิตเนสเซ็นเตอร์  เมื่อกีฬาเริ่มเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตคน จะทำให้คนหันมาให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น และ

5. กีฬาเพื่อการเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ตัวเอง ที่เห็นได้ชัด คือ สินค้าหลายชนิดใช้กีฬามาเป็นเครื่องมือในการทำตลาด "การตลาดด้านกีฬา" (Sport Marketing)  โดยเฉพาะเครื่องดื่มน้ำดำ เช่น เป๊ปซี่ ที่ในไทยมีส่วนแบ่งการตลาดเหนือโค้ก ที่เน้นการประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านนักเตะที่มีชื่อเสียง จนแบรนด์เป็นที่จดจำ


ขณะที่องค์กรธุรกิจไทยหลายรายได้ใช้กีฬาเป็นช่องทางทำการตลาด ผ่านการสนับสนุนทีมฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก โดยเฉพาะทีมที่คะแนนนำ 1 ใน 10 ของตาราง จะมีสปอนเซอร์หลากหลายเข้ามายื่นข้อเสนอใช้ทีมเชื่อมโยงหรือสื่อสารกับลูกค้า เช่น การขึ้นแบนเนอร์ หรือ ขอให้นักกีฬามาเป็นพรีเซ็นเตอร์สินค้า

เช่น ทีมขอนแก่นยูไนเต็ด มีบริษัท แบตเตอรี่ 3K สนใจติดต่อเข้าไปเป็นสปอนเซอร์ แลกกับการขอจัดกิจกรรมเช็คแบตเตอรี่ให้กับรถยนต์เมื่อมีการแข่งขัน ถือเป็นการประชาสัมพันธ์แบตเตอรี่ หรือติดชื่อบนหน้าอกเสื้อทีม

 อย่างไรก็ตามมีการตั้งข้อสังเกตว่า การเติบโตอย่างรวดเร็วของไทยพรีเมียร์ลีกตลอด 2-3 ปีที่ผ่านมา เป็นการเติบโตในแบบเท้าลอยจากพื้น ไร้พื้นฐาน มาตรฐานสากลในการทำกติกา กลายเป็นอุปสรรคในการพัฒนาทีมไปสู่การเป็นกีฬามหาชน ในการต่อยอดและสร้างผลตอบแทนทางธุรกิจอย่างยั่งยืน ปัจจุบันเพราะเกือบทุกทีมยังไม่มีสินทรัพย์ หรือสนาม ที่เป็นของตัวเอง 

 จึงน่าจับตาว่า การเติบโตของไทยพรีเมียร์ลีกจะเป็นเพียงเครื่องมือทางการเมือง ที่เข้ามามีส่วนทำให้ทีมฟุตบอลเติบโตอย่างรวดเร็วหรือไม่ เพราะนักการเมืองที่เข้ามาทำทีมย่อมหวังผลในการใช้เกมบอลเป็นเครื่องมือเข้าถึงมวลชน ทว่าหากองค์กรธุรกิจหรือนักการเมือง เริ่มเบื่อและละทิ้งทีมฟุตบอลไปแล้ว ทีมที่เหลืออยู่จะเดินต่อไปอย่างยั่งยืนได้อย่างไร

 เป็นโจทย์ต่อไปที่คนในวงการกีฬาเฝ้าจับตาดู
 
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 100

โพสต์

BBC

NEWS BUSINESS

28 June 2011 Last updated at 14:24 GMT

Greek government austerity measures

The measures have been somewhat unpopular with many voters
The Greek parliament is debating the latest set of austerity measures, which it needs to pass to qualify for another payment under the bail-out from the European Union and the International Monetary Fund.

The five-year plan was changed last week to allow for more money to be raised through tax increases and less money to be saved through spending cuts.

The plan involves cutting 14.32bn euros ($20.50bn; £12.82bn) of public spending, while raising 14.09bn euros in taxes over five years.

These are some of the austerity measures planned.

TAXATION

Taxes will increase by 2.32bn euros this year, with additional taxes of 3.38bn euros in 2012, 152m euros in 2013 and 699m euros in 2014.
A solidarity levy of between 1% and 5% of income will be levied on households to raise 1.38bn euros.
The tax-free threshold for income tax will be lowered from 12,000 to 8,000 euros.
There will be higher property taxes
VAT rates are to rise: the 19% rate will increase to 23%, 11% becomes 13%, and 5.5% will increase to 6.5%.
The VAT rate for restaurants and bars will rise to 23% from 13%.
Luxury levies will be introduced on yachts, pools and cars.
Some tax exemptions will be scrapped
Excise taxes on fuel, cigarettes and alcohol will rise by one third.
Special levies on profitable firms, high-value properties and people with high incomes will be introduced.

PUBLIC SECTOR CUTS

The public sector wage bill will be cut by 770m euros in 2011, 600m euros in 2012, 448m euros in 2013, 300m euros in 2014 and 71m euros in 2015.
Nominal public sector wages will be cut by 15%.
Wages of employees of state-owned enterprises will be cut by 30% and there will be a cap on wages and bonuses.
All temporary contracts for public sector workers will be terminated.
Only one in 10 civil servants retiring this year will be replaced and only one in 5 in coming years.

SPENDING CUTS

Defence spending will be cut by 200m euros in 2012, and by 333m euros each year from 2013 to 2015.
Health spending will be cut by 310m euros this year and a further 1.81bn euros in 2012-2015, mainly by lowering regulated prices for drugs.
Public investment will be cut by 850m euros this year.
Subsidies for local government will be reduced.
Education spending will be cut by closing or merging 1,976 schools.

CUTTING BENEFITS

Social security will be cut by 1.09bn euros this year, 1.28bn euros in 2012, 1.03bn euros in 2013, 1.01bn euros in 2014 and 700m euros in 2015.
There will be more means-testing and some benefits will be cut.
The government hopes to collect more social security contributions by cracking down on evasion and undeclared work.
The statutory retirement age will be raised to 65, 40 years of work will be needed for a full pension and benefits will be linked more closely to lifetime contributions.

PRIVATISATION

The government aims to raise 50bn euros from privatisations by 2015, including:
Selling stakes this year in the betting monopoly OPAP, the lender Hellenic Postbank, port operators Piraeus Port and Thessaloniki Port as well as Thessaloniki Water.
It has agreed to sell 10% of Hellenic Telecom to Deutsche Telekom for about 400m euros.
Next year, the government plans to sell stakes in Athens Water, refiner Hellenic Petroleum, electricity utility PPC, lender ATEbank as well as ports, airports, motorway concessions, state land and mining rights.
It plans further sales to raise 7bn euros in 2013, 13bn euros in 2014 and 15bn euros in 2015.

Sources: Reuters, Greek Ministry of Finance Economic Policy Programme Newsletter
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 101

โพสต์

1 August 2011 Last updated at 15:48 GMT BBC NewsBusiness


Shares fall as US debt-deal relief rally fizzles out

Wall Street went into reverse as initial optimism over an agreement to raise the US debt limit fizzled out.

The Dow Jones index, having opened sharply higher, was down 0.5% within an hour of the start of trading.

European bourses also fell, with the FTSE 100 down 0.4% and the main indexes in France and Germany down 2%.

News that President Barack Obama and Congressional leaders reached a deal to raise the US debt ceiling initially boosted markets in Asia and Europe.

But in America, a relief rally at the start of trading on Wall Street faded as investors digested data showing that US economic growth was much weaker than first thought.

The Dow Jones and S&P 500 indexes had opened almost 1% up.

There was also data pointing to stagnant factory growth in China and the eurozone, prompting concerns about the strength of the global economic recovery.

Although the debt deal still needs approval from Congress, with a vote due on Monday, there had been widespread relief that the US will be able to raise its debt limit and avoid a default.

Stock markets across the globe became volatile recently when it looked as if an agreement between the Democrats and Republicans might not come through before the 2 August deadline.

The US dollar rose sharply against the Japanese yen, hitting 78 per dollar before retreating to 77.63, still some 0.3% higher.

Crude oil for September delivery was up a dollar at $96.69 a barrel on the New York Mercantile Exchange.

Gold prices fell sharply to $1,619 an ounce, down from a record high of $1,628 an ounce on Friday.

Gold and the Japanese yen have been gaining in recent weeks as investors bet that they were less risky than many other assets.

Future risks
However, analysts have warned that there are still risks for the US economy and investors will be closely monitoring jobs numbers due out on Friday.

"If the figures disappoint, we could see equity markets come under pressure again," said financial service provider Phillips Futures.

This view was underlined by Daiwa Capital Market's Mr Basu who added that slow jobs growth "would continue to show that the labour market is a deterrent to US recovery".

Fears about the strength of the US economy were fanned last week when growth numbers came in much lower than anticipated.

US President Barack Obama looked to allay concerns that the spending cuts of $1tn over 10 years he announced would impact the economy.

He said that those cuts would not happen too quickly and would not drag down the fragile US economy.
Rabbit VS. Turtle
Mr. Boo
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 1841
ผู้ติดตาม: 0

Re: FYI - For Your Information

โพสต์ที่ 102

โพสต์

11 August 2011 Last updated at 13:57 GMT

England riots: Government mulls social media controls

Curbs on social media and texting are being considered by the government.
The government is exploring whether to turn off social networks or stop people texting during times of social unrest.

David Cameron said the intelligence services and the police were exploring whether it was "right and possible" to cut off those plotting violence.

Texting and Blackberry Messenger are said to have been used by some during this week's riots.

Rights groups said such a measure would be abused and hit the civil liberties of people who have done nothing wrong.

The prime minister told MPs the government was exploring the turn-off in a statement made to the House of Commons during an emergency recall of Parliament.

Mr Cameron said anyone watching the riots would be "struck by how they were organised via social media".

He said the government, using input from the police, intelligence services and industry, was looking at whether there should, or could, be limits on social media if it was being used to spread disorder.

Under social media, Mr Cameron includes Facebook, Twitter and specific technologies such as text messaging. The semi-private BBM messaging system on the Blackberry is said to have been widely used during the riots.

Home Secretary Theresa May is believed to be meeting representatives from Facebook, Twitter and RIM (maker of the Blackberry) to talk about their obligations during times of unrest.

Civil liberty implications
In the statement, Mr Cameron said law enforcement was considering "whether it would be right to stop people communicating via these websites and services when we know they are plotting violence, disorder and criminality".

Questions about the technical feasibility and civil liberty implications of cutting off networks have been raised within the coalition, with many expressing scepticism about the proposal's workability.

Rights campaigners also criticised the idea. Jim Killock, director of the Open Rights Group, said events like the UK riots were often used to attack civil liberties.

He questioned who was going to decide whether texts or tweets were an incitement to disorder.

"How do people 'know' when someone is planning to riot? Who makes that judgement?" he asked.

"The only realistic answer is the courts must judge. If court procedures are not used, then we will quickly see abuses by private companies and police."

Any government policy to shut down networks deprived citizens of a right to secure communication and undermined the privacy required by a society that valued free speech, he said.

"David Cameron must be careful not to attack these fundamental needs because of concerns about the actions of a small minority," he said.

John Bassett, a former senior official at GCHQ and now a senior fellow at the Royal United Services Institute, told Reuters that the government should resist a clampdown.

"The use of social media in the unrest looks like a game-changer," he said. "But any attempt to exert state control over social media looks likely to fail."

Far better, he said, would be to encourage community groups and individuals to report when they see disorder brewing online and ensure police have the tools to extract intelligence from social media.
Rabbit VS. Turtle