**
-
- Verified User
- โพสต์: 2326
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 2
ต้องชี้แจ้งแล้วล่ะ
กลายเป็นมองว่า ปิโตรเคมีขาลง ธุรกิจไม่มีความแน่นอน เป็นเพียงการคาดคะเนของกลุ่มๆหนึ่งเท่านั้นครับ
ปิโตรเคมี ยังจะโตต่อไปก็ได้..................
ปิโตรเคมี อาจจะถึงวัฎจักรขาลงก็ได้.................
เราคาดเดาทิศทางได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่ใช่ภาพรวมทั้งหมดของธุรกิจ
และผู้คาดการณ์ก็ไม่สามารถการันตีทิศทางได้ถูกต้องทั้งหมดครับ
แต่หากปิโตรเคมีซบเซา ผมว่าเหมืองแร่น่าโตเป็นกลุ่มต่อไปครับ
กลายเป็นมองว่า ปิโตรเคมีขาลง ธุรกิจไม่มีความแน่นอน เป็นเพียงการคาดคะเนของกลุ่มๆหนึ่งเท่านั้นครับ
ปิโตรเคมี ยังจะโตต่อไปก็ได้..................
ปิโตรเคมี อาจจะถึงวัฎจักรขาลงก็ได้.................
เราคาดเดาทิศทางได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่ใช่ภาพรวมทั้งหมดของธุรกิจ
และผู้คาดการณ์ก็ไม่สามารถการันตีทิศทางได้ถูกต้องทั้งหมดครับ
แต่หากปิโตรเคมีซบเซา ผมว่าเหมืองแร่น่าโตเป็นกลุ่มต่อไปครับ
งด เลิก เสพ สุรา บุหรี่ วันนี้ เพื่อชีวิตที่ดีของท่าน
-
- Verified User
- โพสต์: 109
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 4
ถามถึง "พลพล" ........ " พลพล คนกันเอง" มาแล้วนะท่านCK .................
การลงของaromatic ตัวไหนได้ประโยชน์ ..............
การลงของolefin ตัวไหนได้ประโยชน์ ..........
อ้าว .......................
แล้วการลงของ PE PP PVC ............................
Positive กับตัวไหนนะท่าน CK .................
การลงของaromatic ตัวไหนได้ประโยชน์ ..............
การลงของolefin ตัวไหนได้ประโยชน์ ..........
อ้าว .......................
แล้วการลงของ PE PP PVC ............................
Positive กับตัวไหนนะท่าน CK .................
-
- Verified User
- โพสต์: 109
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 5
โป้ง
Joined: 04 Aug 2004
Posts: 349
Posted: Wed Dec 15, 2004 6:45 pm Post subject:
--------------------------------------------------------------------------------
ต้องชี้แจ้งแล้วล่ะ
กลายเป็นมองว่า ปิโตรเคมีขาลง ธุรกิจไม่มีความแน่นอน เป็นเพียงการคาดคะเนของกลุ่มๆหนึ่งเท่านั้นครับ
คน 1000 คน
เริ่มกลุ่มที่1 5คน
อีก1เดือนต่อมา กลุ่มที่2เข้าแจม 15 คน
อีก2เดือนต่อมา กลุ่มที่3เข้าแจม 50 คน
อีก2เดือนต่อมา กลุ่มที่4เข้าแจม 150คน
อีก3เดือนต่อมา กลุ่มที่5เข้าแจม 230คน
อีก3เดือนต่อมา กลุ่มที่6 เข้าแจม 550คน
(เข้าแจม แปลว่าซื้อ/ขาย ก้อได้)
ชอบที่จะเป็นกลุ่มที่6หรือกลุ่มที่1ครับ ...........................
ชอบออกเดินทางตอนฟ้าสาง หรือ ฟ้าแจ้งจางปาง ครับ ..................
Joined: 04 Aug 2004
Posts: 349
Posted: Wed Dec 15, 2004 6:45 pm Post subject:
--------------------------------------------------------------------------------
ต้องชี้แจ้งแล้วล่ะ
กลายเป็นมองว่า ปิโตรเคมีขาลง ธุรกิจไม่มีความแน่นอน เป็นเพียงการคาดคะเนของกลุ่มๆหนึ่งเท่านั้นครับ
คน 1000 คน
เริ่มกลุ่มที่1 5คน
อีก1เดือนต่อมา กลุ่มที่2เข้าแจม 15 คน
อีก2เดือนต่อมา กลุ่มที่3เข้าแจม 50 คน
อีก2เดือนต่อมา กลุ่มที่4เข้าแจม 150คน
อีก3เดือนต่อมา กลุ่มที่5เข้าแจม 230คน
อีก3เดือนต่อมา กลุ่มที่6 เข้าแจม 550คน
(เข้าแจม แปลว่าซื้อ/ขาย ก้อได้)
ชอบที่จะเป็นกลุ่มที่6หรือกลุ่มที่1ครับ ...........................
ชอบออกเดินทางตอนฟ้าสาง หรือ ฟ้าแจ้งจางปาง ครับ ..................
-
- Verified User
- โพสต์: 109
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 7
ท่านCK มองยังไงกับ PTL ล่ะครับ .................
- เพื่อน
- Verified User
- โพสต์: 1826
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 8
ผมว่า PVC PE ยังมีดีมานต์สูงอยู่นะครับ ต้นทุนอาจจะลงมาบ้างแต่การบริโภคยังไม่ลดเท่าไหร่ ทั้งจากจีน และกำลังจะเพิ่มไปทางอินเดียอีก
เพราะฉนั้น บางทีอาจเป็นแค่การคาดการณ์จริงๆก็ได้นะครับ
ไม่รู้เข้าข้างตัวเองเกินไปรึปล่าวเพราะถือ TPCอยู่...อิอิอิ
ต้องให้คุณส้มจุกช่วยยืนยัน....คุณส้มจุกช่วยด้วยยยยย
เพราะฉนั้น บางทีอาจเป็นแค่การคาดการณ์จริงๆก็ได้นะครับ
ไม่รู้เข้าข้างตัวเองเกินไปรึปล่าวเพราะถือ TPCอยู่...อิอิอิ
ต้องให้คุณส้มจุกช่วยยืนยัน....คุณส้มจุกช่วยด้วยยยยย
- Minesweeper
- Verified User
- โพสต์: 472
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 10
ส่วนตัวคิดว่าราคาผลิตภัณฑ์อาจจะ peak ไปแล้วนะ
แต่ราคาหุ้นไม่รู้เหมือนกัน ราคาหุ้นขณะนี้อาจเป็นราคาที่เหมาะสมแล้วก็ได้
หุ้นที่ได้ประโยชน์ก็คงมีหลายตัว แต่ไม่แน่ใจว่าประโยชน์ที่ได้จากวัตถุดิบราคาลดลง กับที่เสียไปจากภาวะเศรษฐกิจอันไหนจะมีผลมากกว่ากัน ...
แต่ราคาหุ้นไม่รู้เหมือนกัน ราคาหุ้นขณะนี้อาจเป็นราคาที่เหมาะสมแล้วก็ได้
หุ้นที่ได้ประโยชน์ก็คงมีหลายตัว แต่ไม่แน่ใจว่าประโยชน์ที่ได้จากวัตถุดิบราคาลดลง กับที่เสียไปจากภาวะเศรษฐกิจอันไหนจะมีผลมากกว่ากัน ...
- ม้าเฉียว
- Verified User
- โพสต์: 350
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 11
ปิโตรเคมีปีไก่
ยังสดใสไปอีกนาน
http://www.siamturakij.com/541/ft541081.htm
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีนับว่าเป็นหนึ่งในหลายอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเนื่องจากเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆมากมาย เช่น อุตสาหกรรมพลาสติกและผลิตภัณฑ์พลาสติก อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ทอผ้าและเครื่องนุ่งห่ม ส่วนประกอบรถยนต์ เครื่องไฟฟ้า อุปกรณ์ก่อสร้าง และปุ๋ยเพื่อการเกษตร เป็นต้น โดยในปี 2547 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสามารถก่อให้เกิดรายได้ 315,000 ล้านบาทหรือ 5% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติภายในประเทศ
ขณะนี้เป็นช่วงวัฏจักรขาขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจึงส่งผลให้อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีไทยโดยรวมมีอัตราการเติบโตของกำไรที่ดีมากในปี 2547 และคาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะมีแนวโน้มที่สดใสต่อเนื่องไปถึงปี 2548 - 2549 ซึ่งเป็นปีที่ราคาปิโตรเคมีไต่สู่จุดสูงสุด ในขณะที่อุปทานมีการขยายตัวอย่างจำกัด กอปรกับราคาน้ำมันที่ปรับตัวอยู่ในระดับสูงก็เป็นแรงหนุนที่ดีต่อราคาปิโตรเคมี อีกทั้งบริษัทปิโตรเคมีของไทยหลายรายก็ปลดเปลื้องภาระดอกเบี้ยลงไปได้มากหลังจากได้ปรับโครงสร้างหนี้และการเงินในช่วงปีก่อนๆ
สายอะโรเมติกส์: อุปทานตึงตัว...ขาขึ้นยังอยู่อีกหลายปี
จากแรงจูงใจในวัฏจักรขาขึ้นของราคาซึ่งคาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและพลาสติกโลกจะมีรายได้เฉลี่ยก่อนหักภาษีและดอกเบี้ยอยู่ที่ระดับ 130 ดอลลาร์ต่อตัน จึงเป็นโอกาสให้ผู้ผลิตหลายรายทั้งในและต่างประเทศลงทุนในโครงการเพิ่มการผลิตปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นปลายใหม่ๆหลายแห่งเพื่อให้ทันรับผลกำไรในช่วงขาขึ้นโดยเฉพาะสายอะโรเมติกส์ซึ่งใช้น้ำมันดิบหรือคอนเดนเสทเป็นวัตถุดิบในการผลิต ที่ราคาน่าจะอยู่ในระดับสูงไปอีก 2-3 ปี ข้างหน้า
เนื่องจากตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมาได้เกิดภาวะขาดแคลนผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในเอเชียโดยเฉพาะจากประเทศจีน ขณะที่ราคาก็ปรับขึ้นในทิศทางเดียวกับราคาน้ำมัน โดยในเดือนตุลาคม 2547 ราคาผลิตภัณฑ์หลักของอะโรเมติกส์ คือ เบนซีน และพาราไซลีน ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 890 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน และ 1,183 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ตามลำดับ จาก 800 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน และ 750 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันตามลำดับในไตรมาส 2 ของปี 2547
สำหรับแนวโน้มในปี 2548 - 2551 นั้นตลาดผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในเอเชียคาดว่ายังคงอยู่ในภาวะขาดแคลน โดยปี 2551 จะเกิดภาวะขาดแคลนพาราไซลีนประมาณ 2 ล้านตัน เนื่องจากโรงงาน NPC4 ในอิหร่านขนาดกำลังผลิต 750,000 ตันต่อปี ซึ่งมีแผนจะเริ่มดำเนินการผลิตได้ในปี 2549 คาดว่าจะดำเนินการได้ช้ากว่ากำหนดจากการก่อสร้างที่ล่าช้า ขณะที่โรงงาน Xianglu PC ในจีน ขนาดกำลังการผลิต 800,000 ตันต่อปี ที่มีแผนเริ่มดำเนินการในปี 2550 ต้องหยุดชะงักโครงการเนื่องจากปัญหาด้านการขาดแคลนวัตถุดิบทำให้การใช้กำลังการผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์ในภูมิภาคยังมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่องจนถึงปี 2551 ขณะที่ตลาดอะโรเมติกส์ในประเทศปี 2548-2549 คาดว่าจะขาดแคลนพาราไซลีนปีละ 4 แสนตัน เนื่องจากมีโครงการผลิต PTA ที่ต้องการใช้พาราไซลีนเป็นวัตถุดิบในการผลิตเกิดขึ้น ซึ่งอุปทานที่ตึงตัวดังกล่าวจะส่งผลให้วัฏจักรขาขึ้นมีระยะเวลายาวนานออกไปอีกประมาณ 3 ปีข้างหน้า
สายโอเลฟินส์: ราคาผลิตภัณฑ์พุ่ง...อนาคตสดใส
สำหรับสายโอเลฟินส์ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุดิบในการผลิต คาดว่าจะมีการขยายตัวของกำไรสูงสุดในปี 2548 - 2549 เช่นเดียวกัน จากปัจจัยราคาผลิตภัณฑ์หลักคือ เอทิลีน และโพรพิลีน ที่ปรับตัวสูงขึ้นตามแนวโน้มวัฏจักรขาขึ้น และยังได้รับแรงหนุนจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น กอปรกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะจากจีน ซึ่งความต้องการผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีการขยายตัวมากกว่าอุปทาน โดยสถาบัน Chemical Market Associates. Inc (CMAI) คาดว่าปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดภาวะอุปสงค์ส่วนเกินของเอทีลีนและโพรพิลีนเหลืออยู่ประมาณ 800,000 ตัน และ 230,000 ตันภายในปี 2550 ส่งผลให้ราคาของเอทิลีนและโพรพิลีนปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย ทั้งนี้ในปี 2547 ราคาเฉลี่ยของเอทิลีนปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 800 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันหรือเพิ่มขึ้น 29% จากปี 2546 และโพรพิลีนอยู่ที่ 710 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันหรือเพิ่มขึ้น 24% จากปี 2546 และจะไต่ขึ้นสู่ระดับสูงสุดของวัฏจักรในปี 2548-2549 แล้วจึงปรับตัวลดลงในปี 2550 เป็นต้นไป
ความสามารถในการแข่งขัน...ไทยยังได้เปรียบคู่แข่ง
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีนั้นจะเชื่อมโยงโดยตรงกับอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขั้นกลางและมีผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์หลัก อาทิ โพลีเอทิลีน (PE) โพลีโพรพิลีน (PP) โพลีสไตรีน (PS) และ โพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC) เพื่อป้อนเป็นวัตถุดิบให้กับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติกอีกต่อหนึ่ง
ในปี 2546 ไทยส่งออกผลิตภัณฑ์เหล่านี้ในปริมาณ 1.66 ล้านตัน ในขณะที่นำเข้าเพียง 422,000 ตัน ทำให้ปริมาณส่งออกสุทธิอยู่ที่ 1.238 ล้านตัน ซึ่งจากปริมาณนี้ไทยส่งออกไปประเทศจีนถึง 46% ในขณะที่ไทยมีส่วนแบ่งของตลาดผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์ในจีน 7% อย่างไรก็ดีขณะนี้จีนซึ่งถูกเปรียบว่าเป็น "โรงงานของโลก" มีความต้องการผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์อย่างมาก โดยในปี 2546 จีนต้องนำเข้า 54% ของโพลีเอทิลีน และ 40% ของโพลีโพรพิลีนที่บริโภคทั้งหมดของโลก และคาดว่าในปี 2563 ปริมาณความต้องการนำเข้าโพลีเอทิลีนจะมีมากกว่า 10 ล้านตัน และโพลีโพรพิลีนกว่า 3 ล้านตันและคาดว่าจะเพิ่มเป็น 3 เท่าของปริมาณนำเข้าในปี 2546 ดังนั้นจีนจึงเป็นตลาดนำเข้าที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีไทยในอนาคต หากวิเคราะห์ถึงขีดความสามารถในการแข่งขันในการผลิตของไทยเพื่อส่งออกสู่ตลาดจีนพบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดี เนื่องจากประเทศไทยมีทรัพยากรก๊าซธรรมชาติที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสามารถใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเอทิลีนได้ (Gas based ethylene production) ในขณะที่ประเทศคู่แข่งอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่มี ยกเว้นมาเลเซีย และต้องใช้แนฟทาซึ่งเป็นโมเลกุลหนึ่งของน้ำมันเป็นวัตถุดิบซึ่งมีราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติ อย่างไรก็ตามในด้านต้นทุนการผลิตนั้นไทยเป็นรองแค่ประเทศมาเลเซียเท่านั้น เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียให้การสนับสนุนด้านราคา อีกทั้งยังมีสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตเอทิลีนถึง 64% ในขณะที่ไทยใช้เพียง 23% จึงทำให้ต้นทุนการผลิตของมาเลเซียถูกกว่าไทย สำหรับสายอะโรเมติกส์ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นสามารถแข่งขันกับชาติอื่นได้ เนื่องจากผลิตภัณฑ์จากสายนี้ยังมีความขาดแคลนอยู่มากทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งไทยยังมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ เนื่องจากใช้คอนเดนเสทหรือก๊าซธรรมชาติเหลวที่มีอยู่ในประเทศเป็นวัตถุดิบในการผลิต
4 องค์ประกอบหลัก... จุดอ่อน - จุดแข็งปิโตรเคมีไทย
องค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นสามารถจำแนกได้ 4 องค์ประกอบดังนี้
ต้นทุนการผลิต องค์ประกอบด้านต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยจัดว่าอยู่ในระดับที่สามารถสู้ได้กับคู่แข่งจากประเทศอื่นๆในภูมิภาค เนื่องจากฐานการผลิตของอุตสาหกรรมมีขนาดใหญ่พอที่สามารถทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลงได้ โดยเฉพาะขณะนี้ผู้ผลิตในประเทศได้ให้ความสำคัญกับการรวมตัวกันของห่วงโซ่การผลิต หรือ Integration of production chain เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันจากการผลิตในระดับที่ได้ประโยชน์จากขนาด Economies of scale ที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลงซึ่งจะเพิ่มผลประโยชน์ในช่วงขาขึ้นของธุรกิจ เนื่องจากการผลิตสินค้าในขั้นปลายจะให้มูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ในขณะเดียวกันก็สามารถแข่งขันได้หากธุรกิจเข้าช่วงขาลง ดังจะเห็นได้จากโครงการลงทุนใหม่ๆ อาทิ บมจ.ปิโตรเคมีแห่งชาติที่รวมการผลิตโพลีเอทิลีน ความหนาแน่นสูง (HDPE) กับการผลิตเอทิลีนเข้าด้วยกัน และ กลุ่มอินโดรามาที่ได้เริ่มโครงการผลิต PTA เพื่อขยายขนาดการผลิตจากที่ผลิต PET อยู่แล้ว อย่างไรก็ตามหากเทียบกับญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้มายาวนานแล้ว ไทยยังเป็นรองอยู่ในส่วนนี้
โครงสร้างระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ไทยมีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ดีเทียบเท่าสิงคโปร์ และมาเลเซีย โดยมีท่าเรือน้ำลึกและระบบเครือข่ายถนนเชื่อมกับศูนย์กลางการผลิตปิโตรเคมีที่ระยองกับกรุงเทพฯซึ่งเป็นตลาดหลักของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี แต่ในด้านโลจิสติกส์แล้วสิงคโปร์มีระบบการจัดการที่ดีกว่าทั้งไทยและมาเลเซีย อย่างไรก็ตามระบบสาธารณูปโภคสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยที่ระยองนั้น หากได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพก็จะส่งผลดีในระยะยาว ดังนั้นหากมีการสนับสนุนด้านการลงทุนเพิ่มเพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดจากสาธารณูปโภคที่มีอยู่แล้ว โดยเฉพาะระบบขนส่งทางถนนก็จะสามารถช่วยลดต้นทุนการขนส่งได้มากขึ้น
ทรัพยากรบุคคล ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีนั้นบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถและเชียวชาญเฉพาะทางที่ประกอบด้วยวิศวกรและแรงงานฝีมือระดับสูงนั้นโดยรวมแล้วไทยสามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งอื่นๆได้ อย่างไรก็ตามพบว่าบุคลากรไทยเสียเปรียบในด้านทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะในหมู่ช่างเทคนิคต่างๆที่ต้องทำความเข้าใจระบบและเทคโนโลยีต่างๆที่นำเข้าจากต่างประเทศและเป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นจะต้องเสริมสร้างทักษะภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เข้าใจระบบและขั้นตอนของเทคโนโลยีเหล่านี้ซึ่งจะส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
กฎหมายและระเบียบต่างๆ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นได้รับการสนับสนุนด้วยดีจากภาครัฐมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลงทุนในระบบสาธารณูปโภคด้านต่างๆ การสร้างแรงจูงใจโดยให้ประโยชน์และสิทธิพิเศษในการลงทุนที่ผ่านสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าภาครัฐเห็นความสำคัญของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่สามารถสร้างผลทวีคูณต่อระบบเศรษฐกิจโดยเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆอีกมากมาย
กล่าวโดยสรุปแล้วอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีทิศทางขึ้นลงไปพร้อมกับความต้องการและการลงทุน ขณะนี้เป็นช่วงขาขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจึงทำให้ผลประกอบการของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในปี 2547 นั้นอยู่ในระดับที่ดีมาก และคาดว่าผลประกอบการจะดียิ่งขึ้นในปี 2548-2549 ซึ่งเป็นปีที่ราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีไต่สู่จุดสูงสุดของวัฏจักร อีกทั้งราคาน้ำมันดิบที่ปรับตัวอยู่ในระดับสูงก็เป็นแรงหนุนที่ดีต่อราคาปิโตรเคมี และจากแรงจูงใจทางด้านราคานี้ก็เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการได้ลงทุนในโครงการเพิ่มกำลังการผลิตปิโตรเคมีหลายแห่งด้วยกันเพื่อรับผลกำไรในช่วงขาขึ้น
ยังสดใสไปอีกนาน
http://www.siamturakij.com/541/ft541081.htm
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีนับว่าเป็นหนึ่งในหลายอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเนื่องจากเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆมากมาย เช่น อุตสาหกรรมพลาสติกและผลิตภัณฑ์พลาสติก อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ทอผ้าและเครื่องนุ่งห่ม ส่วนประกอบรถยนต์ เครื่องไฟฟ้า อุปกรณ์ก่อสร้าง และปุ๋ยเพื่อการเกษตร เป็นต้น โดยในปี 2547 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสามารถก่อให้เกิดรายได้ 315,000 ล้านบาทหรือ 5% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติภายในประเทศ
ขณะนี้เป็นช่วงวัฏจักรขาขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจึงส่งผลให้อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีไทยโดยรวมมีอัตราการเติบโตของกำไรที่ดีมากในปี 2547 และคาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะมีแนวโน้มที่สดใสต่อเนื่องไปถึงปี 2548 - 2549 ซึ่งเป็นปีที่ราคาปิโตรเคมีไต่สู่จุดสูงสุด ในขณะที่อุปทานมีการขยายตัวอย่างจำกัด กอปรกับราคาน้ำมันที่ปรับตัวอยู่ในระดับสูงก็เป็นแรงหนุนที่ดีต่อราคาปิโตรเคมี อีกทั้งบริษัทปิโตรเคมีของไทยหลายรายก็ปลดเปลื้องภาระดอกเบี้ยลงไปได้มากหลังจากได้ปรับโครงสร้างหนี้และการเงินในช่วงปีก่อนๆ
สายอะโรเมติกส์: อุปทานตึงตัว...ขาขึ้นยังอยู่อีกหลายปี
จากแรงจูงใจในวัฏจักรขาขึ้นของราคาซึ่งคาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและพลาสติกโลกจะมีรายได้เฉลี่ยก่อนหักภาษีและดอกเบี้ยอยู่ที่ระดับ 130 ดอลลาร์ต่อตัน จึงเป็นโอกาสให้ผู้ผลิตหลายรายทั้งในและต่างประเทศลงทุนในโครงการเพิ่มการผลิตปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นปลายใหม่ๆหลายแห่งเพื่อให้ทันรับผลกำไรในช่วงขาขึ้นโดยเฉพาะสายอะโรเมติกส์ซึ่งใช้น้ำมันดิบหรือคอนเดนเสทเป็นวัตถุดิบในการผลิต ที่ราคาน่าจะอยู่ในระดับสูงไปอีก 2-3 ปี ข้างหน้า
เนื่องจากตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมาได้เกิดภาวะขาดแคลนผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในเอเชียโดยเฉพาะจากประเทศจีน ขณะที่ราคาก็ปรับขึ้นในทิศทางเดียวกับราคาน้ำมัน โดยในเดือนตุลาคม 2547 ราคาผลิตภัณฑ์หลักของอะโรเมติกส์ คือ เบนซีน และพาราไซลีน ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 890 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน และ 1,183 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ตามลำดับ จาก 800 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน และ 750 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันตามลำดับในไตรมาส 2 ของปี 2547
สำหรับแนวโน้มในปี 2548 - 2551 นั้นตลาดผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในเอเชียคาดว่ายังคงอยู่ในภาวะขาดแคลน โดยปี 2551 จะเกิดภาวะขาดแคลนพาราไซลีนประมาณ 2 ล้านตัน เนื่องจากโรงงาน NPC4 ในอิหร่านขนาดกำลังผลิต 750,000 ตันต่อปี ซึ่งมีแผนจะเริ่มดำเนินการผลิตได้ในปี 2549 คาดว่าจะดำเนินการได้ช้ากว่ากำหนดจากการก่อสร้างที่ล่าช้า ขณะที่โรงงาน Xianglu PC ในจีน ขนาดกำลังการผลิต 800,000 ตันต่อปี ที่มีแผนเริ่มดำเนินการในปี 2550 ต้องหยุดชะงักโครงการเนื่องจากปัญหาด้านการขาดแคลนวัตถุดิบทำให้การใช้กำลังการผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์ในภูมิภาคยังมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่องจนถึงปี 2551 ขณะที่ตลาดอะโรเมติกส์ในประเทศปี 2548-2549 คาดว่าจะขาดแคลนพาราไซลีนปีละ 4 แสนตัน เนื่องจากมีโครงการผลิต PTA ที่ต้องการใช้พาราไซลีนเป็นวัตถุดิบในการผลิตเกิดขึ้น ซึ่งอุปทานที่ตึงตัวดังกล่าวจะส่งผลให้วัฏจักรขาขึ้นมีระยะเวลายาวนานออกไปอีกประมาณ 3 ปีข้างหน้า
สายโอเลฟินส์: ราคาผลิตภัณฑ์พุ่ง...อนาคตสดใส
สำหรับสายโอเลฟินส์ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุดิบในการผลิต คาดว่าจะมีการขยายตัวของกำไรสูงสุดในปี 2548 - 2549 เช่นเดียวกัน จากปัจจัยราคาผลิตภัณฑ์หลักคือ เอทิลีน และโพรพิลีน ที่ปรับตัวสูงขึ้นตามแนวโน้มวัฏจักรขาขึ้น และยังได้รับแรงหนุนจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น กอปรกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะจากจีน ซึ่งความต้องการผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีการขยายตัวมากกว่าอุปทาน โดยสถาบัน Chemical Market Associates. Inc (CMAI) คาดว่าปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดภาวะอุปสงค์ส่วนเกินของเอทีลีนและโพรพิลีนเหลืออยู่ประมาณ 800,000 ตัน และ 230,000 ตันภายในปี 2550 ส่งผลให้ราคาของเอทิลีนและโพรพิลีนปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย ทั้งนี้ในปี 2547 ราคาเฉลี่ยของเอทิลีนปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 800 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันหรือเพิ่มขึ้น 29% จากปี 2546 และโพรพิลีนอยู่ที่ 710 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตันหรือเพิ่มขึ้น 24% จากปี 2546 และจะไต่ขึ้นสู่ระดับสูงสุดของวัฏจักรในปี 2548-2549 แล้วจึงปรับตัวลดลงในปี 2550 เป็นต้นไป
ความสามารถในการแข่งขัน...ไทยยังได้เปรียบคู่แข่ง
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีนั้นจะเชื่อมโยงโดยตรงกับอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขั้นกลางและมีผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์หลัก อาทิ โพลีเอทิลีน (PE) โพลีโพรพิลีน (PP) โพลีสไตรีน (PS) และ โพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC) เพื่อป้อนเป็นวัตถุดิบให้กับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติกอีกต่อหนึ่ง
ในปี 2546 ไทยส่งออกผลิตภัณฑ์เหล่านี้ในปริมาณ 1.66 ล้านตัน ในขณะที่นำเข้าเพียง 422,000 ตัน ทำให้ปริมาณส่งออกสุทธิอยู่ที่ 1.238 ล้านตัน ซึ่งจากปริมาณนี้ไทยส่งออกไปประเทศจีนถึง 46% ในขณะที่ไทยมีส่วนแบ่งของตลาดผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์ในจีน 7% อย่างไรก็ดีขณะนี้จีนซึ่งถูกเปรียบว่าเป็น "โรงงานของโลก" มีความต้องการผลิตภัณฑ์โมโนเมอร์อย่างมาก โดยในปี 2546 จีนต้องนำเข้า 54% ของโพลีเอทิลีน และ 40% ของโพลีโพรพิลีนที่บริโภคทั้งหมดของโลก และคาดว่าในปี 2563 ปริมาณความต้องการนำเข้าโพลีเอทิลีนจะมีมากกว่า 10 ล้านตัน และโพลีโพรพิลีนกว่า 3 ล้านตันและคาดว่าจะเพิ่มเป็น 3 เท่าของปริมาณนำเข้าในปี 2546 ดังนั้นจีนจึงเป็นตลาดนำเข้าที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีไทยในอนาคต หากวิเคราะห์ถึงขีดความสามารถในการแข่งขันในการผลิตของไทยเพื่อส่งออกสู่ตลาดจีนพบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดี เนื่องจากประเทศไทยมีทรัพยากรก๊าซธรรมชาติที่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสามารถใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเอทิลีนได้ (Gas based ethylene production) ในขณะที่ประเทศคู่แข่งอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่มี ยกเว้นมาเลเซีย และต้องใช้แนฟทาซึ่งเป็นโมเลกุลหนึ่งของน้ำมันเป็นวัตถุดิบซึ่งมีราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติ อย่างไรก็ตามในด้านต้นทุนการผลิตนั้นไทยเป็นรองแค่ประเทศมาเลเซียเท่านั้น เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียให้การสนับสนุนด้านราคา อีกทั้งยังมีสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตเอทิลีนถึง 64% ในขณะที่ไทยใช้เพียง 23% จึงทำให้ต้นทุนการผลิตของมาเลเซียถูกกว่าไทย สำหรับสายอะโรเมติกส์ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นสามารถแข่งขันกับชาติอื่นได้ เนื่องจากผลิตภัณฑ์จากสายนี้ยังมีความขาดแคลนอยู่มากทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งไทยยังมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ เนื่องจากใช้คอนเดนเสทหรือก๊าซธรรมชาติเหลวที่มีอยู่ในประเทศเป็นวัตถุดิบในการผลิต
4 องค์ประกอบหลัก... จุดอ่อน - จุดแข็งปิโตรเคมีไทย
องค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นสามารถจำแนกได้ 4 องค์ประกอบดังนี้
ต้นทุนการผลิต องค์ประกอบด้านต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยจัดว่าอยู่ในระดับที่สามารถสู้ได้กับคู่แข่งจากประเทศอื่นๆในภูมิภาค เนื่องจากฐานการผลิตของอุตสาหกรรมมีขนาดใหญ่พอที่สามารถทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลงได้ โดยเฉพาะขณะนี้ผู้ผลิตในประเทศได้ให้ความสำคัญกับการรวมตัวกันของห่วงโซ่การผลิต หรือ Integration of production chain เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันจากการผลิตในระดับที่ได้ประโยชน์จากขนาด Economies of scale ที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลงซึ่งจะเพิ่มผลประโยชน์ในช่วงขาขึ้นของธุรกิจ เนื่องจากการผลิตสินค้าในขั้นปลายจะให้มูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ในขณะเดียวกันก็สามารถแข่งขันได้หากธุรกิจเข้าช่วงขาลง ดังจะเห็นได้จากโครงการลงทุนใหม่ๆ อาทิ บมจ.ปิโตรเคมีแห่งชาติที่รวมการผลิตโพลีเอทิลีน ความหนาแน่นสูง (HDPE) กับการผลิตเอทิลีนเข้าด้วยกัน และ กลุ่มอินโดรามาที่ได้เริ่มโครงการผลิต PTA เพื่อขยายขนาดการผลิตจากที่ผลิต PET อยู่แล้ว อย่างไรก็ตามหากเทียบกับญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้มายาวนานแล้ว ไทยยังเป็นรองอยู่ในส่วนนี้
โครงสร้างระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ไทยมีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ดีเทียบเท่าสิงคโปร์ และมาเลเซีย โดยมีท่าเรือน้ำลึกและระบบเครือข่ายถนนเชื่อมกับศูนย์กลางการผลิตปิโตรเคมีที่ระยองกับกรุงเทพฯซึ่งเป็นตลาดหลักของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี แต่ในด้านโลจิสติกส์แล้วสิงคโปร์มีระบบการจัดการที่ดีกว่าทั้งไทยและมาเลเซีย อย่างไรก็ตามระบบสาธารณูปโภคสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยที่ระยองนั้น หากได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพก็จะส่งผลดีในระยะยาว ดังนั้นหากมีการสนับสนุนด้านการลงทุนเพิ่มเพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดจากสาธารณูปโภคที่มีอยู่แล้ว โดยเฉพาะระบบขนส่งทางถนนก็จะสามารถช่วยลดต้นทุนการขนส่งได้มากขึ้น
ทรัพยากรบุคคล ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีนั้นบุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถและเชียวชาญเฉพาะทางที่ประกอบด้วยวิศวกรและแรงงานฝีมือระดับสูงนั้นโดยรวมแล้วไทยสามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งอื่นๆได้ อย่างไรก็ตามพบว่าบุคลากรไทยเสียเปรียบในด้านทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะในหมู่ช่างเทคนิคต่างๆที่ต้องทำความเข้าใจระบบและเทคโนโลยีต่างๆที่นำเข้าจากต่างประเทศและเป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นจะต้องเสริมสร้างทักษะภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เข้าใจระบบและขั้นตอนของเทคโนโลยีเหล่านี้ซึ่งจะส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
กฎหมายและระเบียบต่างๆ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยนั้นได้รับการสนับสนุนด้วยดีจากภาครัฐมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลงทุนในระบบสาธารณูปโภคด้านต่างๆ การสร้างแรงจูงใจโดยให้ประโยชน์และสิทธิพิเศษในการลงทุนที่ผ่านสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าภาครัฐเห็นความสำคัญของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่สามารถสร้างผลทวีคูณต่อระบบเศรษฐกิจโดยเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆอีกมากมาย
กล่าวโดยสรุปแล้วอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีทิศทางขึ้นลงไปพร้อมกับความต้องการและการลงทุน ขณะนี้เป็นช่วงขาขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจึงทำให้ผลประกอบการของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในปี 2547 นั้นอยู่ในระดับที่ดีมาก และคาดว่าผลประกอบการจะดียิ่งขึ้นในปี 2548-2549 ซึ่งเป็นปีที่ราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีไต่สู่จุดสูงสุดของวัฏจักร อีกทั้งราคาน้ำมันดิบที่ปรับตัวอยู่ในระดับสูงก็เป็นแรงหนุนที่ดีต่อราคาปิโตรเคมี และจากแรงจูงใจทางด้านราคานี้ก็เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการได้ลงทุนในโครงการเพิ่มกำลังการผลิตปิโตรเคมีหลายแห่งด้วยกันเพื่อรับผลกำไรในช่วงขาขึ้น
- Golden Stock
- Verified User
- โพสต์: 615
- ผู้ติดตาม: 0
**
โพสต์ที่ 12
ผมมอง UP ครับ
ช่วงปิโตรเคมีเป็นขาขึ้น บริษัททำกำไรได้แย่ลง
ถ้าราคาพวกวัตถุดิบลง น่าจะมีผลต่อกำไรบ้างไม่มากก็น้อย
แต่ว่าสภาพคล่องของหุ้นตัวนี้ต่ำมากๆ
ตัวนี้ผมเคยถืออยู่ประมาณ สามหมื่นกว่าหุ้น ขายออกไปที่ราคายี่สิบกว่าบาท
กว่าจะขายหมดก็ลุ้นอยู่เป็นสัปดาห์เหมือนกัน
ช่วงปิโตรเคมีเป็นขาขึ้น บริษัททำกำไรได้แย่ลง
ถ้าราคาพวกวัตถุดิบลง น่าจะมีผลต่อกำไรบ้างไม่มากก็น้อย
แต่ว่าสภาพคล่องของหุ้นตัวนี้ต่ำมากๆ
ตัวนี้ผมเคยถืออยู่ประมาณ สามหมื่นกว่าหุ้น ขายออกไปที่ราคายี่สิบกว่าบาท
กว่าจะขายหมดก็ลุ้นอยู่เป็นสัปดาห์เหมือนกัน