สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
- wpong
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1336
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 1
ในการคำนวนมูลค่ากิจการจากกระแสเงินสดในอนาคตนั้น เรามักหักค่าเสื่อมราคาออกไป เพื่อให้ได้กระแสเงินสด
โดยบางทีเราอาจลืมนึกไปว่าค่าเสื่อมราคามีหลายประเภท และมีอายุไม่เท่ากัน ทำให้บางครั้ง เราอาจคำนวนมูลค่ากิจการโดยมองกระแสเงินสดในระยะยาวโดยลืม Capexที่ต้องเกิดขึ้นเสมอๆ จากสิ่งที่มีอายุสั้นๆ
ผมขอยกตัวอย่างค่าเสื่อมราคาในหมวดที่ดิน อาคา อุปกรณืสุทธิของ บ. SC ในปี 2550 ซึ่งมีค่าเสื่อมราคาทั้งสิ้น 192,321,719 บาท
ผมว่าเรามักจะเอาค่าเสื่อมราคาทั้งก้อนนี้ไปหักออกต้นทุนเพื่อให้ได้ FCF แล้วคำนวน FCF ถึงปีที่อนันต์ หรืออย่างน้อยก็ 30 ปี โดยไม่มีการหักเงินสงทุนของสิ่งที่มีอายุการใช้งานสั้นๆออกไป
คำถาม ...
ให้เพื่อนทายว่าในค่าเสื่อราคา 193 ล้านบาทนั้น เกิดจาก ค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้างมากที่สุด หรือ เกิดจากเครื่องใช้สำนักงานมากที่สุดครับ
จากงบรวม
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 78,462,373 บาท
เครื่องใช้สำนักงาน มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 84,590,563 บาท
ถ้าจะดูเฉพาะอาคารสำนักงาน น่าจะดูจากงบเดี่ยวได้ชัดเจนกว่าดังนี้
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 56,352,119บาท
เครื่องใช้สำนักงาน มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 80,467,431 บาท
คิดว่าคงเป็นประโยชน์แก่เพื่อนๆไม่มากก็น้อยครับ
โดยบางทีเราอาจลืมนึกไปว่าค่าเสื่อมราคามีหลายประเภท และมีอายุไม่เท่ากัน ทำให้บางครั้ง เราอาจคำนวนมูลค่ากิจการโดยมองกระแสเงินสดในระยะยาวโดยลืม Capexที่ต้องเกิดขึ้นเสมอๆ จากสิ่งที่มีอายุสั้นๆ
ผมขอยกตัวอย่างค่าเสื่อมราคาในหมวดที่ดิน อาคา อุปกรณืสุทธิของ บ. SC ในปี 2550 ซึ่งมีค่าเสื่อมราคาทั้งสิ้น 192,321,719 บาท
ผมว่าเรามักจะเอาค่าเสื่อมราคาทั้งก้อนนี้ไปหักออกต้นทุนเพื่อให้ได้ FCF แล้วคำนวน FCF ถึงปีที่อนันต์ หรืออย่างน้อยก็ 30 ปี โดยไม่มีการหักเงินสงทุนของสิ่งที่มีอายุการใช้งานสั้นๆออกไป
คำถาม ...
ให้เพื่อนทายว่าในค่าเสื่อราคา 193 ล้านบาทนั้น เกิดจาก ค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้างมากที่สุด หรือ เกิดจากเครื่องใช้สำนักงานมากที่สุดครับ
จากงบรวม
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 78,462,373 บาท
เครื่องใช้สำนักงาน มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 84,590,563 บาท
ถ้าจะดูเฉพาะอาคารสำนักงาน น่าจะดูจากงบเดี่ยวได้ชัดเจนกว่าดังนี้
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 56,352,119บาท
เครื่องใช้สำนักงาน มีค่าเสื่อมราคาปี 2550 = 80,467,431 บาท
คิดว่าคงเป็นประโยชน์แก่เพื่อนๆไม่มากก็น้อยครับ
- Mr.Children
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 324
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 2
ขอบคุณมากๆเลยครับ ได้ประโยชน์มากเลย :D
-
- Verified User
- โพสต์: 2166
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 3
CAPEX can be classified into 3 groups, maintenance, investment for growth and acquisition. The best way to determine CAPEX is to ask the company directly. Companies in the resources sector such as PTTEP or Banpu usually forecast and make them public to the investors.
Minimize risk through an in-depth knowledge. Buy at bargain price. Wait patiently.
http://valueinvestors.wordpress.com/
http://valueinvestors.wordpress.com/
-
- Verified User
- โพสต์: 115
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 4
รบกวนช่วยขยายความด้วยครับ
เวลาเรานำค่าเสื่อมราคามาบวกกลับ คิดเฉพาะส่วนที่ดินเหรอครับ หรือว่าส่วนสำนักงานด้วย เพราะอะไร?
ขอบพระคุณที่ชี้แนะทางสว่าง
ขอบคุณครับ
เวลาเรานำค่าเสื่อมราคามาบวกกลับ คิดเฉพาะส่วนที่ดินเหรอครับ หรือว่าส่วนสำนักงานด้วย เพราะอะไร?
ขอบพระคุณที่ชี้แนะทางสว่าง
ขอบคุณครับ
An investment operation is one which, upon thorough analysis, promises safety of principal and an adequate return. Operations not meeting these requirements are speculative
- dome@perth
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4740
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 6
ใช่ครับ หักตามอายุการใช้งานดอยเต่า เขียน: หมายความว่าค่าเสื่อมที่เป็นอุปกรณ์สำนักงานจะหักเพียงไม่กี่ปี
แล้ว ต้องมีการลงทุนใหม่ซื้อทดแทนเมื่อเก่าหรือพัง
ดังนั้นไม่ควรนำส่วนของค่าเสื่อมค่าอุปกรณ์ มาคำนวน FCF ในระยาว
ดังคุณ wpong ต้องการสื่อครับ
"ไม่มีสุตรสำเร็จ ไม่มีทางลัด ไม่ใช่แค่โชค
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
- reiter
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2308
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 7
บวกกลับได้ครับ เพียงแต่เวลาเราคำนวณ capex ต้องแน่ใจว่า capex ของเรารวม maintaince capex ในส่วนของอุปกรณ์สำนักงานไปด้วย
( maintanince capex ที่เห็นในงบการเงินโดยปกติก็จะรวมค่าใช้จ่ายส่วนนี้ไปอยู่แล้วครับ )
( maintanince capex ที่เห็นในงบการเงินโดยปกติก็จะรวมค่าใช้จ่ายส่วนนี้ไปอยู่แล้วครับ )
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 8
โอ้เยี่ยมมากครับ เป็นข้อควรระวังในการทำ DCF เป็นอย่างดีเลยครับ
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
- Alastor
- Verified User
- โพสต์: 2590
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 9
แต่ปกติใน CFI ก็จะมีการลงทุนในอุปกรณ์สำนักงานอยู่เป็นประจำอยู่แล้วนะครับ ผมว่าปกติ FCF จะผันผวนจาก Working Capital Change มากที่สุดนะ ผมใช้ model นี้กับ service industry มากกว่า
Wir sind das Rar, der Stolz und der Wert
- wpong
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1336
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 10
คำถามถัดมาครับ
สมมติว่าเราคำนวน FCF ของอาคารนี้โดยให้เวลาใช้คุณค่าของอาคารมี 30 ปี และ
ได้ซื้อเครื่องใช้สำนักงานใหม่ทั้งอาคารเป็นจำนวนเงิน 100 บาท และคาดว่าเครื่องใช้สำนักงาน ใหม่นี้จะมีอายุการใช้งานได้ 5 ปี และมีการตัดบัญชีในค่าเสื่อมราคาปีละ 20 บาท
ขอถามว่า Maintenance Capex ที่จะบวกกลับเข้ามาเวลานวน NPV ควรจะมีค่า
ก. ประมาณ 20 บาท
ข. ประมาณ 100 บาท
ค. มากกว่า 100 บาท
ถามเล่นๆนะครับ :P
สมมติว่าเราคำนวน FCF ของอาคารนี้โดยให้เวลาใช้คุณค่าของอาคารมี 30 ปี และ
ได้ซื้อเครื่องใช้สำนักงานใหม่ทั้งอาคารเป็นจำนวนเงิน 100 บาท และคาดว่าเครื่องใช้สำนักงาน ใหม่นี้จะมีอายุการใช้งานได้ 5 ปี และมีการตัดบัญชีในค่าเสื่อมราคาปีละ 20 บาท
ขอถามว่า Maintenance Capex ที่จะบวกกลับเข้ามาเวลานวน NPV ควรจะมีค่า
ก. ประมาณ 20 บาท
ข. ประมาณ 100 บาท
ค. มากกว่า 100 บาท
ถามเล่นๆนะครับ :P
-
- Verified User
- โพสต์: 1372
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 11
ที่ดินไม่มีค่าเสื่อมนะครับArtTheOracle เขียน:รบกวนช่วยขยายความด้วยครับ
เวลาเรานำค่าเสื่อมราคามาบวกกลับ คิดเฉพาะส่วนที่ดินเหรอครับ หรือว่าส่วนสำนักงานด้วย เพราะอะไร?
ขอบพระคุณที่ชี้แนะทางสว่าง
ขอบคุณครับ
ส่วนอาคาร อุปกรณ์แต่ละอย่างจะหักค่าเสื่อมไม่เท่ากัน ยิ่งมาตรฐานบัญชีใหม่ยิ่งไปกันใหญ่
สติมา ปัญญาเกิด
-
- Verified User
- โพสต์: 144
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 12
[quote="wpong"]คำถามถัดมาครับ
สมมติว่าเราคำนวน FCF ของอาคารนี้โดยให้เวลาใช้คุณค่าของอาคารมี 30 ปี และ
ได้ซื้อเครื่องใช้สำนักงานใหม่ทั้งอาคารเป็นจำนวนเงิน 100 บาท และคาดว่าเครื่องใช้สำนักงาน ใหม่นี้จะมีอายุการใช้งานได้ 5 ปี และมีการตัดบัญชีในค่าเสื่อมราคาปีละ 20 บาท
ขอถามว่า Maintenance Capex ที่จะบวกกลับเข้ามาเวลานวน NPV ควรจะมีค่า
ก. ประมาณ 20 บาท
ข. ประมาณ 100 บาท
ค. มากกว่า 100 บาท
ถามเล่นๆนะครับ
สมมติว่าเราคำนวน FCF ของอาคารนี้โดยให้เวลาใช้คุณค่าของอาคารมี 30 ปี และ
ได้ซื้อเครื่องใช้สำนักงานใหม่ทั้งอาคารเป็นจำนวนเงิน 100 บาท และคาดว่าเครื่องใช้สำนักงาน ใหม่นี้จะมีอายุการใช้งานได้ 5 ปี และมีการตัดบัญชีในค่าเสื่อมราคาปีละ 20 บาท
ขอถามว่า Maintenance Capex ที่จะบวกกลับเข้ามาเวลานวน NPV ควรจะมีค่า
ก. ประมาณ 20 บาท
ข. ประมาณ 100 บาท
ค. มากกว่า 100 บาท
ถามเล่นๆนะครับ
- wpong
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1336
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 13
ประเด็นเป็นอย่างนี้ครับ
สมมติว่าคุณต้องการประเมินมูลค่า เพื่อจะซื้ออาคาสำนักงานแห่งหนึ่งซึ่งมีการทำสัญญาเช่าไว้แล้ว 30 ปี โดยมี
รายได้ปีละ 100 บาท
ค่าใช้จ่าย 90 บาท
กำไร 10 บาท
โดยในค่าใช้จ่ายนั้นมีค่าเสื่อมราคาทั้งหมด 60 บาท เป็นค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 20 เป็นค่าเสื่อมราคาจากเครื่องใช้สำนักงาน 40 บาท
สิ่งที่ผมจะเตือนอย่างแรกคือ ถ้าคุณคำนวณกระแสเงินสดต่อปีโดยคิดว่าตึกไม่ต้องการดูแลรักษาใดๆเลยภายใน 30ปี คุณก็เอาค่าเสื่อมราคา 60 บาทไปบวกกำไร 10 บาท ซึ่งทำให้คุณได้รับกระแสเงินสดในปีนั้น 70 บาท
สมมติว่า Growth Rate กับ Discount Rate เท่ากัน คุณก็จะคำนวณได้ว่า ภายใน 30 ปีคุณจะได้เงินค่าเช่า70 X 30 = 2100 บาท
แต่ต่อมาคุณรู้ว่าค่าเสื่อมราคาที่อยู่ในงบนั้นบางส่วนเป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องเกิดขึ้นจริงที่มีอายุสั้นกว่า 30 ปี เช่นค่าเครื่องใช้สำนักงาน คุณก็เอาค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 20 บาทไปบวกกำไร 10 บาท ซึ่งทำให้คุณได้รับกระแสเงินสดในปีนั้น 30 บาท
สมมติว่า Growth Rate กับ Discount Rate เท่ากัน คุณก็จะคำนวณได้ว่า ภายใน 30 ปีคุณจะได้เงินค่าเช่า30 X 30 = 900 บาท ครับ
ซึ่งกระแสเงินสดที่คุณจะได้รับภายใน 30 ปี 900 บาท ต่างกับ 2100 อย่างมากครับ
สมมติว่าคุณต้องการประเมินมูลค่า เพื่อจะซื้ออาคาสำนักงานแห่งหนึ่งซึ่งมีการทำสัญญาเช่าไว้แล้ว 30 ปี โดยมี
รายได้ปีละ 100 บาท
ค่าใช้จ่าย 90 บาท
กำไร 10 บาท
โดยในค่าใช้จ่ายนั้นมีค่าเสื่อมราคาทั้งหมด 60 บาท เป็นค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 20 เป็นค่าเสื่อมราคาจากเครื่องใช้สำนักงาน 40 บาท
สิ่งที่ผมจะเตือนอย่างแรกคือ ถ้าคุณคำนวณกระแสเงินสดต่อปีโดยคิดว่าตึกไม่ต้องการดูแลรักษาใดๆเลยภายใน 30ปี คุณก็เอาค่าเสื่อมราคา 60 บาทไปบวกกำไร 10 บาท ซึ่งทำให้คุณได้รับกระแสเงินสดในปีนั้น 70 บาท
สมมติว่า Growth Rate กับ Discount Rate เท่ากัน คุณก็จะคำนวณได้ว่า ภายใน 30 ปีคุณจะได้เงินค่าเช่า70 X 30 = 2100 บาท
แต่ต่อมาคุณรู้ว่าค่าเสื่อมราคาที่อยู่ในงบนั้นบางส่วนเป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องเกิดขึ้นจริงที่มีอายุสั้นกว่า 30 ปี เช่นค่าเครื่องใช้สำนักงาน คุณก็เอาค่าเสื่อมราคาจากอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 20 บาทไปบวกกำไร 10 บาท ซึ่งทำให้คุณได้รับกระแสเงินสดในปีนั้น 30 บาท
สมมติว่า Growth Rate กับ Discount Rate เท่ากัน คุณก็จะคำนวณได้ว่า ภายใน 30 ปีคุณจะได้เงินค่าเช่า30 X 30 = 900 บาท ครับ
ซึ่งกระแสเงินสดที่คุณจะได้รับภายใน 30 ปี 900 บาท ต่างกับ 2100 อย่างมากครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 144
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 14
เข้าใจประเด็นแล้วครับ ขอบคุณที่นำเสนอความรู้ใหม่ๆให้นะครับ :lol:
-
- Verified User
- โพสต์: 805
- ผู้ติดตาม: 0
สิ่งที่ควรระวัง --- >ค่าเสื่อมราคา --> FCF --> DCF
โพสต์ที่ 16
ปกติถ้าจะประเมิน NPV โดยใช้ FCF โดยสมมติว่าดำเนินกิจการไปตลอดนั้น ควรจะประเมิน Capex เพื่อหักออกไว้อยู่แล้ว ... วิธีที่ง่ายๆดีและคิดว่าไม่ได้ aggressive เกินไปนักก็คือประเมินให้ Capex = 50% Normal Depre ... โดยมีสมมติฐานว่าอายุการใช้งานเท่ากับ 2 เท่าของอายุทางบัญชีโดยเฉลี่ย ... แต่บางคนขยันหน่อยก็ทำแยกเป็นรายการประเภทสินทรัพย์เลย เพื่อแยกเป็น maintenance กับ investment ซึ่งค่อนข้างจะเสียเวลา
ถึงตลาดจะฟูมฟายมากแค่ไหน ก็ยินดียืมไหล่ให้เธอซบ ยืมอกให้เธอซับน้ำตา