ยอดส่งออกจีนเดือนม.ค. ยังทะยานสูงต่อเนื่อง

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก

โพสต์ โพสต์
chatchai
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 11443
ผู้ติดตาม: 0

ยอดส่งออกจีนเดือนม.ค. ยังทะยานสูงต่อเนื่อง

โพสต์ที่ 1

โพสต์

ยอดส่งออกจีนเดือนม.ค. ยังทะยานสูงต่อเนื่อง

เอเอฟพี-ยอดส่งออกจีนยังเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่สองติดต่อกัน ยึดตำแหน่งจ้าวการส่งออกของโลกต่อไปอย่างเหนียวแน่น
     
      สำนักงานศุลกากรจีน เผย ยอดส่งออกของจีนในเดือนม.ค. ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 21 ที่มูลค่า 109,475 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยยอดการส่งออกของจีนในเดือนธ.ค. ปีก่อนขยายตัวร้อยละ 17.7 เทียบเป็นรายปี
     
      โดยจีนแซงหน้าเยอรมนีขึ้นเป็นชาติส่งออกอันดับหนึ่งของโลกประจำปี 2552 หลังเมื่อวันอังคาร (9 ก.พ.) เยอรมนีประกาศยอดการส่งออก ปี 2552 ที่ 1.12 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งน้อยกว่ายอดการส่งออกของจีนที่ประกาศไปตั้งแต่เดือนก่อนที่ 1.20 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ
     
      ทั้งนี้ ยอดการส่งออกจีนถูกจับตามองอย่างใกล้ชิด เนื่องจากตัวเลขดังกล่าว จะสะท้อนแนวโน้มของเศรษฐกิจจีน รวมทั้งการฟื้นตัวของอุปสงค์ในตลาดที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการเงินฯ เช่น สหรัฐฯ และชาติยุโรป
     
      อย่างไรก็ตาม บรรดานักวิเคราะห์ต่างเตือนว่า ยอดส่งออกฯ ขยายตัว เนื่องจากถูกนำไปเปรียบเทียบกับตัวเลขในปี 2552 ซึ่งอยู่ในระดับต่ำ
     
      Ken Peng นักเศรษฐศาสตร์ แห่งซิติกรุ๊ป สาขาปักกิ่ง กล่าวว่า อัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 21 ไม่ได้แสดงถึงความแข็งแกร่งเลย โดยอาจต้องจับตามองยอดการส่งออกไปจนถึงเดือนมี.ค. จึงจะเห็นสถานการณ์การส่งออกที่แท้จริง
     
      ทั้งนี้ ยอดส่งออกของจีนในเดือนม.ค.หดตัวจากเดือนธ.ค. ปีก่อน ร้อยละ 16.3 ส่วนยอดการค้ายังเกินดุล อยู่ 14,170 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือลดตัวลงร้อยละ 63.8 เทียบเป็นรายปี
     
      โรเบิร์ต ซับบารามาน นักเศรษฐศาสตร์ แห่ง โนมูระ อินเตอร์เนชันแนล สาขา ฮ่องกง ระบุว่า ยอดส่งออกของจีนเป็นสัญญาณที่ดี ที่แสดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจโลกอาจกำลังหลุดพ้นจากภาวะถดถอย
     
      นอกจากนี้ ยอดการนำเข้าเดือนม.ค.ของจีนยังสูงขึ้นร้อยละ 85.5 เทียบเป็นรายปี ที่ 95,300 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่ง ซับบารามาน มองว่า สินค้านำเข้าของจีนจำนวนมากเป็นสินค้าประเภทชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ซึ่งจำเป็นในกระบวนการผลิตสินค้าเพื่อนำไปส่งออกในที่สุด ขณะเดียวกัน ยอดนำเข้าฯ ยังสะท้อนอุปสงค์ที่แข็งแกร่งของจีน ในขณะที่การลงทุนและการบริโภคกำลังเฟื่องฟู
     
      จีนใช้แผนกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 4 ล้านล้านหยวน (586 เหรียญสหรัฐ) ในช่วงปลายปี 2551 โดยเงินดังกล่าวถูกใช้ในการลงทุนด้านสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ และโครงการอื่นๆ โดยมีเป้าหมายเพิ่มยอดดีมานด์ภายในประเทศนอกจากนี้ รัฐบาลจีน ยังตั้งเป้าเพิ่มการบริโภคภายในประเทศเพื่อลดการพึ่งพิงการส่งออกของเศรษฐกิจจีน
http://www.manager.co.th/China/ViewNews ... 0000019409

ยอดการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นอย่างมากของจีน  คงทำให้ประเทศต่างๆในเอเชียมียอดการส่งออกในเดือน ม.ค. เพิ่มขึ้นมากทีเดียว
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
chatchai
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 11443
ผู้ติดตาม: 0

ยอดส่งออกจีนเดือนม.ค. ยังทะยานสูงต่อเนื่อง

โพสต์ที่ 2

โพสต์

China's Mixed Export Data Leave Markets Guessing on Yuan

Chinese exports rose strongly in January from a year earlier but tumbled from December, giving ammunition both to those who advocate a stronger yuan and those who say Beijing should play safe and keep its currency steady.

Economists said it was tough to interpret Wednesday's data because of the low base of comparison in January 2009, when a slump in trade due to the global financial crisis was magnified by the timing of the country's Lunar New Year holiday.

With the holiday falling in February this year, China effectively worked one extra week this January than in 2009 -- providing a springboard for a 21.0 percent rise in exports over the year-earlier month and a record 85.5 percent surge in imports.

The recovery in exports, if sustained, could intensify pressure for yuan appreciation, which would dent China's competitive edge in global markets.

China has effectively frozen the exchange rate around 6.83 per dollar since mid-2008 to help its exporters and cement financial stability. It has gained global market share as a result and supplanted Germany last year as the world's biggest exporter of goods.

But risk-averse policymakers can also point to a 16.3 percent drop in January's exports from those in December to justify resistance to U.S. President Barack Obama's renewed demands for a rise in the value of the yuan, which Washington believes is unfairly undervalued.

"A single month's good export performance will definitely not increase the chances for the government to start resuming yuan appreciation, which I don't expect will happen until the second half," said Xu Jian, an economist at China International Capital Corp in Beijing.

Indeed, offshore non-deliverable forwards (NDF) implied markets expect the yuan to rise against the dollar 2.26 percent in the next year, down from 2.5 percent on Tuesday.

Momentum
   
Weakening import momentum, moreover, could reinforce investors' worries that China's clampdown on bank lending is weighing on domestic growth, and by extension depriving the global economy of its strongest engine since the financial crisis struck in late 2008.

The Australian dollar briefly dipped as traders reacted to the month-on-month declines in exports and a 15.1 percent drop in imports on the month. The monthly changes are unadjusted.

"January's data release complicates the economic policy picture for the Chinese government," said Tom Orlik, an analyst in Beijing with Stone & McCarthy.

"A more fragile recovery in exports will tempt the government to keep the stimulus taps turned on for a while longer."

The year-on-year export and import increases were broadly in line with expectations, although the resulting $14.2 billion trade surplus fell short of forecasts of a $19.5 billion reading.

Data from around Asia, though broadly strong, has also flashed mixed messages. Taiwan's exports in January jumped 75.8 percent from a year earlier. South Korea's overall daily exports last month fell at the fastest monthly pace in a year but shipments to China rose 98.9 percent from a year earlier.

Ammunition  

Even as China became the world's export champion last year, its trade surplus dropped 34 percent to $196.1 billion as stimulus spending led imports to decline at a slower rate than exports.

A recovery in global demand could drive China's year-on-year export growth to 40 percent before long, said Ben Simpfendorfer, an economist at Royal Bank of Scotland in Hong Kong.

"That will provide critics of China's yuan policy with ammunition," he said.

China has rebuffed calls for currency strengthening over the past few months, with the latest broadside published in a front-page editorial in the official China Securities Journal on Wednesday, contributing to the pull back in NDFs in yuan appreciation expectations.

"Given the current situation, the conditions are not right for big yuan appreciation in the first half at least," it said. the paper said.
http://www.cnbc.com/id/35323537

ที่แท้ก็มีตัวช่วย  คือ  จำนวนวันทำงานในเดือนมกราคมปีนี้มากกว่าปีที่แล้ว
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
โพสต์โพสต์