1.dividend discount model
2.free cash flow to firm
3.free cash flow to equity
คือผมสงสัยว่าเมื่อไหร่เราจะใช้อันไหนในการ valuation อะครับ
มันมีเงือนไขยังงัยครับ
ขอบคุนครับ
อยากถามเกี่ยวกับ DDM, FCFF, FCFE
- charnengi
- Verified User
- โพสต์: 2388
- ผู้ติดตาม: 0
Re: อยากถามเกี่ยวกับ DDM, FCFF, FCFE
โพสต์ที่ 2
1.dividend discount model
ใช้กับบริษัทที่จ่าย dividend สม่ำเสมอครับ
2.free cash flow to firm
ข้อดี คือบริษัทที่ไม่จ่ายปันผลก็ใช้ประเมินได้
3.free cash flow to equity
ใช้กับบริษัทที่ capital structure มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ
ข้อ 3 ไม่แน่ใจนะครับ
ใช้กับบริษัทที่จ่าย dividend สม่ำเสมอครับ
2.free cash flow to firm
ข้อดี คือบริษัทที่ไม่จ่ายปันผลก็ใช้ประเมินได้
3.free cash flow to equity
ใช้กับบริษัทที่ capital structure มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ
ข้อ 3 ไม่แน่ใจนะครับ
- sorawut
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2455
- ผู้ติดตาม: 1
อยากถามเกี่ยวกับ DDM, FCFF, FCFE
โพสต์ที่ 3
ตามความเข้าใจนะครับ (แต่ก็ไม่แน่ใจ )
2.free cash flow to firm ใช้สำหรับประเมินการสร้างกระแสเงินสดอิสระของบริษัท (ไม่สนใจแหล่งเงินทุนของบริษัท)
ส่วน 3.free cash flow to equity ใช้สำหรับประเมินการสร้างกระแสเงินสดอิสระของบริษัทเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น
เราจะใช้วิธีที่ 3 ในการหามูลค่าหุ้นที่มีการดำเนินการสม่ำเสมอทั่วไป
ในกรณีที่สินค้าของบริษัทเป็นเงิน เช่นธนาคารพาณิชย์ ให้ใช้วิธีแรกแทนครับ เพราะเราแยกไม่ออกว่าเงินส่วนไหนเป็นสินค้า ส่วนไหนเป็นเงินสดส่วนเกิน
ผิดถูกยังไงก็ช่วยแย้งช่วยเสริมด้วยนะครับ
2.free cash flow to firm ใช้สำหรับประเมินการสร้างกระแสเงินสดอิสระของบริษัท (ไม่สนใจแหล่งเงินทุนของบริษัท)
ส่วน 3.free cash flow to equity ใช้สำหรับประเมินการสร้างกระแสเงินสดอิสระของบริษัทเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น
เราจะใช้วิธีที่ 3 ในการหามูลค่าหุ้นที่มีการดำเนินการสม่ำเสมอทั่วไป
ในกรณีที่สินค้าของบริษัทเป็นเงิน เช่นธนาคารพาณิชย์ ให้ใช้วิธีแรกแทนครับ เพราะเราแยกไม่ออกว่าเงินส่วนไหนเป็นสินค้า ส่วนไหนเป็นเงินสดส่วนเกิน
ผิดถูกยังไงก็ช่วยแย้งช่วยเสริมด้วยนะครับ
ตัดสินใจว่า ธุรกิจไหนที่คุณต้องการจะเป็นเจ้าของ
และซื้อเมื่อราคาสามารถให้ผลตอบแทนจากการลงทุน ในอัตราที่เข้าท่าสำหรับการร่วมทำธุรกิจเท่านั้น
และซื้อเมื่อราคาสามารถให้ผลตอบแทนจากการลงทุน ในอัตราที่เข้าท่าสำหรับการร่วมทำธุรกิจเท่านั้น