ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
-
- Verified User
- โพสต์: 84
- ผู้ติดตาม: 0
ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 1
เวลาที่ผมอ่านข่าวเศรษฐกิจ ก็จะเห็นแบงค์ชาติขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย จาก ร้อยละ 1.75 มาเป็น ร้อยละ 2.00
แต่ก็ไม่เห็นดอกเบี้ยออมทรัพย์ธนาคารจะขึ้นตามดอกเบี้ยนโยบายตรงไหน เลยอยากรู้ว่าดอกเบี้ยนโยบายกับดอกเบี้ยธรรมดามีความสัมพันธ์กันอย่างไร และนานเท่าไรถึงจะมีผลกระทบกันครับ
อีกอย่างคือเท่าที่ผมลองอ่าน เหมือนดอกเบี้ยนโยบายก็คือ อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร 1 วัน แต่เหมือนอ่านไปอ่านมาเค้าบอกว่าบางทีก็ไม่ใช่ (ตามลิ้งนี้ครับ http://fundmanagertalk.com/economic-talk-policy-rate/) ก็เลยงงว่าใช่หรือไม่ใช่กันแน่ ใครพอทราบช่วยตอบหน่อยนะครับ ขอบคุณมากครับ
แต่ก็ไม่เห็นดอกเบี้ยออมทรัพย์ธนาคารจะขึ้นตามดอกเบี้ยนโยบายตรงไหน เลยอยากรู้ว่าดอกเบี้ยนโยบายกับดอกเบี้ยธรรมดามีความสัมพันธ์กันอย่างไร และนานเท่าไรถึงจะมีผลกระทบกันครับ
อีกอย่างคือเท่าที่ผมลองอ่าน เหมือนดอกเบี้ยนโยบายก็คือ อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร 1 วัน แต่เหมือนอ่านไปอ่านมาเค้าบอกว่าบางทีก็ไม่ใช่ (ตามลิ้งนี้ครับ http://fundmanagertalk.com/economic-talk-policy-rate/) ก็เลยงงว่าใช่หรือไม่ใช่กันแน่ ใครพอทราบช่วยตอบหน่อยนะครับ ขอบคุณมากครับ
สิ่งใดที่เกิดขึ้นแล้ว สิ่งนั้นย่อมดีเสมอ
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 2
ดอกเบี้ยนโยบาย ณ ตอนนี้คือ PR 1 วันครับ
ตัวนี้เป็นตัว guide ว่าตอนนี้เศรษฐกิจดีหรือไม่ดี
เพราะ ผู้ที่กำหนดคือ ธปท
ดอกเบี้ยขึ้นหมายความว่า เศรษฐกิจดี เดินหน้าได้
ดอกเบี้ยลงหมายความว่า เศรษฐกิจถดถอย เดินถอยหน้าแต่ด้วยความเร่งที่ลดลง (เช่นจากความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เหลือความเร็วแค่ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
ส่วนเรื่องดอกเบี้ยออมทรัพย์ไม่ขึ้นนั้นผิดครับ รอบที่ผ่านมา ดอกเบี้ยออมทรัพย์ปรับขึ้น 0.125% ครับ
มาอยู่ที่ประมาณ 0.625% ครับจากเดิมบ้างธนาคารให้ 0.5% ต่อปี
ทำไมปรับขึ้นน้อยเพราะ ออมทรัพย์คือ สิทธิ์ในการถอนเงินได้ทุกครั้งที่คุณใช้สิทธิ์ในการถอน
คือคุณเดินไปหน้า เคาร์เตอร์คุณสามารถเขียนใบถอนเงิน ธนาคารจ่ายเงินสดให้คุณทันที ถ้าตัวเลขในบัญชีพอที่คุณถอนได้ หรือคุณเดินไปที่ตู้เอทีเอ็ม กดเงินออกจากตู้ได้เลย (การเงินแบบนี้เหมือนการใช้สิทธิ์แบบ American Option เลย)
แค่นี้คงเข้าใจล่ะครับ
ถ้าอธิบายต่อ
มันมีตัวแบบของเศรษฐศาสตร์มหภาค คือ
ดอกเบี้ยขึ้นทำให้การลงทุนลดลง
ดอกเบี้ยลงทำให้การลงทุนเพิ่มขึ้น
จาก แคนเซียสครอส นำไปสู่การเกิดขึ้นของเส้น IS ได้จากข้อความด้านบนครับ

ตัวนี้เป็นตัว guide ว่าตอนนี้เศรษฐกิจดีหรือไม่ดี
เพราะ ผู้ที่กำหนดคือ ธปท
ดอกเบี้ยขึ้นหมายความว่า เศรษฐกิจดี เดินหน้าได้
ดอกเบี้ยลงหมายความว่า เศรษฐกิจถดถอย เดินถอยหน้าแต่ด้วยความเร่งที่ลดลง (เช่นจากความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เหลือความเร็วแค่ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
ส่วนเรื่องดอกเบี้ยออมทรัพย์ไม่ขึ้นนั้นผิดครับ รอบที่ผ่านมา ดอกเบี้ยออมทรัพย์ปรับขึ้น 0.125% ครับ
มาอยู่ที่ประมาณ 0.625% ครับจากเดิมบ้างธนาคารให้ 0.5% ต่อปี
ทำไมปรับขึ้นน้อยเพราะ ออมทรัพย์คือ สิทธิ์ในการถอนเงินได้ทุกครั้งที่คุณใช้สิทธิ์ในการถอน
คือคุณเดินไปหน้า เคาร์เตอร์คุณสามารถเขียนใบถอนเงิน ธนาคารจ่ายเงินสดให้คุณทันที ถ้าตัวเลขในบัญชีพอที่คุณถอนได้ หรือคุณเดินไปที่ตู้เอทีเอ็ม กดเงินออกจากตู้ได้เลย (การเงินแบบนี้เหมือนการใช้สิทธิ์แบบ American Option เลย)
แค่นี้คงเข้าใจล่ะครับ
ถ้าอธิบายต่อ
มันมีตัวแบบของเศรษฐศาสตร์มหภาค คือ
ดอกเบี้ยขึ้นทำให้การลงทุนลดลง
ดอกเบี้ยลงทำให้การลงทุนเพิ่มขึ้น
จาก แคนเซียสครอส นำไปสู่การเกิดขึ้นของเส้น IS ได้จากข้อความด้านบนครับ


-
- Verified User
- โพสต์: 760
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 3
ขอถามคุณ miracle ครับ
แล้วการที่ ธปท. กำหนดดอกเบี้ยPRนั้น เป็นการบังคับธนาคารพานิชณ์ทั่วไปให้ต้องปรับดอกเบี้ยตามหรืออย่างไรครับ
บางทีเห็นบางธนาคารก็แจ้งว่าจะยังไม่ขึ้นดอกเบี้ย ทั้งๆที่ธปท.ขึ้นดอกเบี้ย PRแล้ว
แล้วการที่ ธปท. กำหนดดอกเบี้ยPRนั้น เป็นการบังคับธนาคารพานิชณ์ทั่วไปให้ต้องปรับดอกเบี้ยตามหรืออย่างไรครับ
บางทีเห็นบางธนาคารก็แจ้งว่าจะยังไม่ขึ้นดอกเบี้ย ทั้งๆที่ธปท.ขึ้นดอกเบี้ย PRแล้ว
- จุดแข็งทางธุรกิจที่เลียนแบบได้ยาก มักต้องใช้ระยะเวลายาวนานในการสร้างและเพาะบ่มเสมอ ไม่สามารถเนรมิตได้ด้วยเงิน (สุมาอี้)
- จะเก่ง จะรวยหุ้น ก็ต้องใช้เวลาเพาะบ่มเช่นกัน เป็นวีไอ ต้องมี ศรัทธา ขยัน ประหยัด และ อดทน ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ย่อมไม่ได้มาง่ายๆ
- จะเก่ง จะรวยหุ้น ก็ต้องใช้เวลาเพาะบ่มเช่นกัน เป็นวีไอ ต้องมี ศรัทธา ขยัน ประหยัด และ อดทน ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ย่อมไม่ได้มาง่ายๆ
- Flashy
- Verified User
- โพสต์: 295
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 4
ไม่ได้บังคับครับ แต่เป็นแรงกดดันมากกว่า
ผมเข้าใจอย่างนี้น่ะครับ แต่อาจจะคลาดเคลื่อนไปบ้าง
เมื่อ ธปท. ตัดสินใจแล้วว่าต้องลดความร้อนแรงทางเศรษฐกิจในประเทศ
ธปท. จึงประกาศเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อเป็นสัญญาณถึงธนาคารพาณิชย์
เนื่องจากธนาคารพาณิชย์มักจะมีการปรับสภาพคล่อง ณ สิ้นวันทำการ
ทางเลือกในการปรับสภาพคล่องมีหลายทาง หนึ่งในนั้น คือ การเข้าทำธุรกรรม ซื้อ-ขายคืน พันธบัตร (ปรับเพิ่ม-ลดสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ให้อยู่ในระดับที่ต้องการ)
ถ้าตามที่พี่ miracle บอกว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบาย คือ RP 1 วัน
เมื่อ ธปท. ขึ้นอัตราดอกเบี้ย RP 1 วัน เท่ากับ เป็นการเพิ่มต้นทุนธุรกรรมของธนาคารพาณิชย์ในการจัดหาเงินทุนในตลาดการเงิน
ดังนั้นธนาคารพาณิชย์จึงต้องปรับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้เพื่อให้คงส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย (นำไปจ่ายต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ+เอากำไรส่วนหนึ่ง)
โดยปกติอัตราดอกเบี้ยเงินฝากก็จะต้องขึ้นตามด้วย เพราะเมื่อมีการแข่งขันกันสูง ธนาคารพาณิชย์ก็จะแข่งกันขึ้นอัตราดอกเบี้ยงินฝากตาม (แต่ไม่เกินส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเดิม) เพื่อแย่งเงินจากคู่แข่ง แต่เรามักเห็นว่าธนาคารพาณิชย์ไทยไม่ค่อยขึ้นตาม หรือซักพักค่อยขึ้น ผมคิดว่าเป็นเพราะโครงสร้างอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์เอง ที่ระดับการแข่งขันยังต่ำอยู่ (ฮั้วกันโดยไม่ได้นัดหมาย) ในทางกลับกัน ทีเวลาประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายล่ะ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากปรับลงก่อนทู้กที
อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ท้ายที่สุดก็ะทำให้อัตราดอกเบี้ยในทุกตลาดปรับตัวลง (ทั้งตลาดเงิน ตลาดทุน) เพียงแต่ว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะขึ้นน้อยกว่า น่าจะเป็นตามที่พี่ Miracle บอกล่ะครับ
ลองค้นคว้าเพิ่มในเว็บแบงค์ชาติมั้ยครับ http://www.bot.or.th ตอนนี้ผมไม่ค่อยว่างเท่าไหร่ เลยตอบแบบงูๆปลาๆ ขออภัย
ผมเข้าใจอย่างนี้น่ะครับ แต่อาจจะคลาดเคลื่อนไปบ้าง
เมื่อ ธปท. ตัดสินใจแล้วว่าต้องลดความร้อนแรงทางเศรษฐกิจในประเทศ
ธปท. จึงประกาศเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อเป็นสัญญาณถึงธนาคารพาณิชย์
เนื่องจากธนาคารพาณิชย์มักจะมีการปรับสภาพคล่อง ณ สิ้นวันทำการ
ทางเลือกในการปรับสภาพคล่องมีหลายทาง หนึ่งในนั้น คือ การเข้าทำธุรกรรม ซื้อ-ขายคืน พันธบัตร (ปรับเพิ่ม-ลดสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ให้อยู่ในระดับที่ต้องการ)
ถ้าตามที่พี่ miracle บอกว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบาย คือ RP 1 วัน
เมื่อ ธปท. ขึ้นอัตราดอกเบี้ย RP 1 วัน เท่ากับ เป็นการเพิ่มต้นทุนธุรกรรมของธนาคารพาณิชย์ในการจัดหาเงินทุนในตลาดการเงิน
ดังนั้นธนาคารพาณิชย์จึงต้องปรับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้เพื่อให้คงส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย (นำไปจ่ายต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ+เอากำไรส่วนหนึ่ง)
โดยปกติอัตราดอกเบี้ยเงินฝากก็จะต้องขึ้นตามด้วย เพราะเมื่อมีการแข่งขันกันสูง ธนาคารพาณิชย์ก็จะแข่งกันขึ้นอัตราดอกเบี้ยงินฝากตาม (แต่ไม่เกินส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเดิม) เพื่อแย่งเงินจากคู่แข่ง แต่เรามักเห็นว่าธนาคารพาณิชย์ไทยไม่ค่อยขึ้นตาม หรือซักพักค่อยขึ้น ผมคิดว่าเป็นเพราะโครงสร้างอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์เอง ที่ระดับการแข่งขันยังต่ำอยู่ (ฮั้วกันโดยไม่ได้นัดหมาย) ในทางกลับกัน ทีเวลาประกาศลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายล่ะ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากปรับลงก่อนทู้กที
อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ท้ายที่สุดก็ะทำให้อัตราดอกเบี้ยในทุกตลาดปรับตัวลง (ทั้งตลาดเงิน ตลาดทุน) เพียงแต่ว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะขึ้นน้อยกว่า น่าจะเป็นตามที่พี่ Miracle บอกล่ะครับ
ลองค้นคว้าเพิ่มในเว็บแบงค์ชาติมั้ยครับ http://www.bot.or.th ตอนนี้ผมไม่ค่อยว่างเท่าไหร่ เลยตอบแบบงูๆปลาๆ ขออภัย

stay calm, stay invest
-
- Verified User
- โพสต์: 45
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 6
คำตอบของพี่แต่ละคนยังไงตอบข้อสอบในหลัก2เลยครับ (พึ่งสอบไปเมื่อวาน)
หลัก2 ก็คือเศรษบสาสตร์มหภาคหนะครับ
หลัก2 ก็คือเศรษบสาสตร์มหภาคหนะครับ

-
- Verified User
- โพสต์: 45
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 7
ขอโทษครับ พิมพ์เร็วไปหน่อยevolution659 เขียน:คำตอบของพี่แต่ละคนยังไงตอบข้อสอบในหลัก2เลยครับ (พึ่งสอบไปเมื่อวาน)
หลัก2 ก็คือเศรษบสาสตร์มหภาคหนะครับ
จะแซวว่าเหมือนตอบคำถามในข้อสอบพวก paper ของ macro เลยครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 760
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ดอกเบี้ยนโยบายมีความสัมพันธ์กับดอกเบี้ยตามธนาคารอย่างไร
โพสต์ที่ 8
วันนี้ผมไปธนาคารกรุงไทยสาขาแถวบ้าน(พอดีสนิทกับผู้จัดการสาขา)เลยลองเอาคำถามที่ว่า ถ้าแบงค์ชาติขึ้นดอกเบี้ยPR แล้วทำไมธนาคารพานิชณ์ต่างๆต้องขึ้นดอกเบี้ยตาม
>ได้คำตอบคือ ถ้าแบงค์ชาติเปิดช่องให้ ใครขึ้นดอกเบี้ยเงินฝากก่อนเงินก็จะไหลไปแบงค์นั้นมากขึ้นเรื่อยๆ ต่างคนต่างกลัวเสียฐานลูกค้าเพราะให้ดอกเบี้ยตำกว่าจึงต้องให้ดอกเบี้ยแข่งกันครับ (ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้คงไม่ต้องพูดถึง ถ้าขยับดอกเบี้ยเงินฝาก ก็ต้องขึ้นดอกเบี้ยเงินกู้ตามด้วยอยู่แล้ว ไม่งั้นธนาคารจะเอากำไรจากไหน)
>ได้คำตอบคือ ถ้าแบงค์ชาติเปิดช่องให้ ใครขึ้นดอกเบี้ยเงินฝากก่อนเงินก็จะไหลไปแบงค์นั้นมากขึ้นเรื่อยๆ ต่างคนต่างกลัวเสียฐานลูกค้าเพราะให้ดอกเบี้ยตำกว่าจึงต้องให้ดอกเบี้ยแข่งกันครับ (ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้คงไม่ต้องพูดถึง ถ้าขยับดอกเบี้ยเงินฝาก ก็ต้องขึ้นดอกเบี้ยเงินกู้ตามด้วยอยู่แล้ว ไม่งั้นธนาคารจะเอากำไรจากไหน)
- จุดแข็งทางธุรกิจที่เลียนแบบได้ยาก มักต้องใช้ระยะเวลายาวนานในการสร้างและเพาะบ่มเสมอ ไม่สามารถเนรมิตได้ด้วยเงิน (สุมาอี้)
- จะเก่ง จะรวยหุ้น ก็ต้องใช้เวลาเพาะบ่มเช่นกัน เป็นวีไอ ต้องมี ศรัทธา ขยัน ประหยัด และ อดทน ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ย่อมไม่ได้มาง่ายๆ
- จะเก่ง จะรวยหุ้น ก็ต้องใช้เวลาเพาะบ่มเช่นกัน เป็นวีไอ ต้องมี ศรัทธา ขยัน ประหยัด และ อดทน ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ย่อมไม่ได้มาง่ายๆ