วิชาเศรษฐศาสตร ระหว่างตะวันออก กับตะวันตก
- Golden Stock
- Verified User
- โพสต์: 615
- ผู้ติดตาม: 0
วิชาเศรษฐศาสตร ระหว่างตะวันออก กับตะวันตก
โพสต์ที่ 3
พอดีผมอ่านแต่ตำราของตะวันตก คือเล่มที่คนไทยนำมาแปลเป็นของตะวันตก และตำราต่างประเทศที่เป็นของตะวันตกนะครับ รู้สึกว่าในประเทศไทยหลักสูตรการศึกษาทั้งในระดับมัธยม และอุดมศึกษาก็เน้นเป็นของตะวันตกทั้งนั้น ส่วนผู้ให้กำเนิดเศรษฐศาสตร์ทางตะวันตกมี สมิธ เป็นบิดาแห่งเศรษฐศาสตร์จุลภาค และ เคนส์ เป็นบิดาแห่งเศรษฐศาสตร์มหาภาค
-
- Verified User
- โพสต์: 6853
- ผู้ติดตาม: 0
อืม
โพสต์ที่ 4
เคยได้ยินไหมคับว่าทางตะวันตกเอาวิชากลยุทธของซุนวูง เข้ามาใน
หลักสูตร การเรียน และยกย่องว่าเป็นวิธีที่ควรเรียนรู้
ผมเคยคิดว่าถ้าวิชาเศรษฐศาสตร เหมือนกันกลยุทธทางสงครามแล้ว
แสดงว่า จีนน่าจะเป็นประเทศแรกในเอเชียที่มีวิชาเศรษฐศาสตร์หรือเปล่าคับ
หลักสูตร การเรียน และยกย่องว่าเป็นวิธีที่ควรเรียนรู้
ผมเคยคิดว่าถ้าวิชาเศรษฐศาสตร เหมือนกันกลยุทธทางสงครามแล้ว
แสดงว่า จีนน่าจะเป็นประเทศแรกในเอเชียที่มีวิชาเศรษฐศาสตร์หรือเปล่าคับ
- ม้าเฉียว
- Verified User
- โพสต์: 350
- ผู้ติดตาม: 0
วิชาเศรษฐศาสตร ระหว่างตะวันออก กับตะวันตก
โพสต์ที่ 5
ต้องยอมรับว่าตะวันตกเป็นต้นกำเนิดของวิชาเศรษฐศาสตร์ เพราะสาเหตุหนึ่งน่าจะมาจากภาวะความกดดันทางด้านทรัพยากรสูงกว่าตะวันออก และเศรษฐศาสตร์ก็พัฒนามาเรื่อยๆจนเกิดเป็นเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ซึ่งเนื้อหาที่เราๆท่านที่เคยรำเรียนมา หรือที่เราเห็นอยู่ทั่วไป ก็ล้วนเป็นเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ส่วนเศรษฐศาสตร์ของโลกตะวันออกชุดแรกๆ ที่โดเด่น ก็คือ Small is Beautiful ซึ่งเป็นพุทธเศรษฐศาสตร์ แต่คนเขียนเป็นคนตะวันตก คือ EF Schumacher
-
- Verified User
- โพสต์: 60
- ผู้ติดตาม: 0
วิชาเศรษฐศาสตร ระหว่างตะวันออก กับตะวันตก
โพสต์ที่ 6
ผมเชื่อว่าโดยหลัก,แก่น และ จุดประสงค์ของคำว่าเศรษฐศาสตร์ ในแต่ละที่เหมือนกัน ไม่ว่าจะตะวันออก หรือตะวันตก เพียงสิ่งที่แตกต่างกันก็คือ วิธีการดำเนินการ การปฏิบัติ ที่จะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรม
ผมกลัวแต่เพียงว่า คนที่อยู่ หรือทำงานในส่วนที่ควมบคุม จะไม่เข้าใจเป้าหมายของคำว่าเศรษฐศาสตร์ ว่ามีไว้เพื่ออะไร โดยคงจะรู้เพียงแต่วิธีการ ซึ่งบางครั้งก็ยิ่งทำให้ ห่างจากเป้าหมายไปทุกที
ผมกลัวแต่เพียงว่า คนที่อยู่ หรือทำงานในส่วนที่ควมบคุม จะไม่เข้าใจเป้าหมายของคำว่าเศรษฐศาสตร์ ว่ามีไว้เพื่ออะไร โดยคงจะรู้เพียงแต่วิธีการ ซึ่งบางครั้งก็ยิ่งทำให้ ห่างจากเป้าหมายไปทุกที