สถานการณ์รถยนต์
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 32
ยาริส ในรูปแบบของ E-Co Car เครื่อ 1200 CC มาแล้วครับ
http://www.manager.co.th/Motoring/ViewN ... 0000115219
http://www.manager.co.th/Motoring/ViewN ... 0000115219
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 33
ส.อ.ท.เผยยอดผลิตรถยนต์เดือน ส.ค. อยู่ที่ 1.93 แสนคัน ลดลง 9.94% ต่ำกว่า 2 แสนคันเป็นครั้งแรกในรอบ 15 เดือน สิ้นฤทธิ์รถคันแรก
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า จำนวนรถยนต์ทั้งหมดที่ผลิตได้ในเดือนสิงหาคม 2556 มีทั้งสิ้น 193,074 คัน ต่ำกว่าสองแสนคันในรอบ 15 เดือน ไม่นับเดือนเมษายน 2556 ซึ่งมีวันหยุดมาก ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 9.94% และลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2556 4.17%
ขณะที่ ยอดผลิตในเดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคม 2555 16.4% รถยนต์นั่ง เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 5.54%
ยอดผลิตของรถยนต์นั่ง ตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 มีจำนวน 762,150 คัน เท่ากับ 43.91% ของยอดการผลิตทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 41.79%
รถยนต์โดยสารขนาดต่ำกว่า 10 ตัน และมากกว่า 10 ตัน ขึ้นไป ในเดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ 64 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 5.88% รวมเดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ 519 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 61.68%
รถยนต์บรรทุก เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งหมด 110,822 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคม 2555 12.95% และตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งสิ้น 972,845 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 2.06%
รถกระบะขนาด 1 ตัน เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งหมด 106,010 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคม 2555 14.61% และตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งสิ้น 933,727 คัน เท่ากับ 53.8% ของยอดการผลิตทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 0.74%
ด้านนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธาน ส.อ.ท. มั่นใจว่ายอดผลิตรถยนต์ในปีนี้จะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน ส่วนยอดผลิตเพื่อการส่งออกยังคงเป้าเดิมอยู่ที่ 1.15 ล้านคัน โดยใน 8 เดือน สามารถผลิตเพื่อส่งออกไปแล้วจำนวน 720,141 คัน
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... เดือน.html
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า จำนวนรถยนต์ทั้งหมดที่ผลิตได้ในเดือนสิงหาคม 2556 มีทั้งสิ้น 193,074 คัน ต่ำกว่าสองแสนคันในรอบ 15 เดือน ไม่นับเดือนเมษายน 2556 ซึ่งมีวันหยุดมาก ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 9.94% และลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2556 4.17%
ขณะที่ ยอดผลิตในเดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคม 2555 16.4% รถยนต์นั่ง เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 5.54%
ยอดผลิตของรถยนต์นั่ง ตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 มีจำนวน 762,150 คัน เท่ากับ 43.91% ของยอดการผลิตทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 41.79%
รถยนต์โดยสารขนาดต่ำกว่า 10 ตัน และมากกว่า 10 ตัน ขึ้นไป ในเดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ 64 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมปีก่อน 5.88% รวมเดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ 519 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 61.68%
รถยนต์บรรทุก เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งหมด 110,822 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคม 2555 12.95% และตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งสิ้น 972,845 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 2.06%
รถกระบะขนาด 1 ตัน เดือนสิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งหมด 106,010 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคม 2555 14.61% และตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2556 ผลิตได้ทั้งสิ้น 933,727 คัน เท่ากับ 53.8% ของยอดการผลิตทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม - สิงหาคมปีก่อน 0.74%
ด้านนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธาน ส.อ.ท. มั่นใจว่ายอดผลิตรถยนต์ในปีนี้จะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน ส่วนยอดผลิตเพื่อการส่งออกยังคงเป้าเดิมอยู่ที่ 1.15 ล้านคัน โดยใน 8 เดือน สามารถผลิตเพื่อส่งออกไปแล้วจำนวน 720,141 คัน
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... เดือน.html
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 1679
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 35
จับตาสัญญาณเสี่ยงธุรกิจหัวเมือง โคราชเผชิญกำลังซื้อหดทุบค้าปลีก-รถมือสองซบ
updated: 09 ส.ค. 2556 เวลา 17:36:32 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
เศรษฐกิจ โคราชส่อเค้าอันตราย ค้าปลีกค้าส่งยอดตกกว่า 30% ประธานหอฯชี้รถยนต์คันแรกปัจจัยสำคัญทำให้เงินในระบบหายไปกว่าแสนล้าน ด้านธุรกิจอสังหาฯยังพอมีแรงกระตุ้นจากเมกะโปรเจ็กต์ 2 ล้านล้าน เตือนนักลงทุนระมัดระวังและปรับตัวให้ทัน ด้านรถยนต์มือสองแบกภาระหนักยอดขาย-ราคารถลดลงหนักสุด
เภสัชกร จักริน เชิดฉาย ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า จากการรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจหลาย ๆ ด้าน พบว่าขณะนี้เริ่มเห็นสัญญาณเศรษฐกิจของโคราชไม่ค่อยดีนัก ธุรกิจค้าปลีกมียอดขายลดลงอย่างเห็นได้ชัด ประเมินว่าน่าจะหายไปมากกว่า 30-50% กำลังซื้อของประชาชนลดลงอย่างชัดเจน
ส่วนภาคอสังหาริมทรัพย์ ในปีที่ผ่านมาถือเป็นธุรกิจดาวรุ่ง แต่ปีนี้ยอดการซื้อขายลดลง ธุรกิจรถยนต์ มอเตอร์ไซค์ก็ลดลงตามไปด้วย ซึ่งได้รับผลพวงจากเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบเศรษฐกิจในประเทศ
อย่างไรก็ ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลกระทบอย่างชัดเจน คือ นโยบายรถยนต์คันแรกในปีที่ผ่านมามีผู้ขอใช้สิทธิ์มากกว่าล้านคัน ส่วนใหญ่เป็นพนักงานเงินเดือน 10,000-20,000 บาท กลุ่มนี้เป็นปัจจัยสำคัญในการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจ เมื่อคนส่วนใหญ่ต้องเก็บออมเงินเพื่อนำมาผ่อนรถยนต์คันแรก ส่วนหนึ่งต้องเก็บไว้เติมน้ำมัน และอีกส่วนหนึ่งต้องใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน จึงทำให้กำลังซื้อสินค้าอื่น ๆ ลดลงไปทันที
"เงินที่เสียไปกับรถ ยนต์ก็หายไปจากระบบเศรษฐกิจ คาดว่าน่าจะมากกว่าหมื่นล้านบาทต่อเดือน และเป็นแสนล้านบาทต่อปี รวมทั้งเรื่องการปรับค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ซึ่งหวังกันว่าจะเป็นการกระตุ้นกำลังซื้อได้มากขึ้น แต่กลับทำให้สินค้าราคาสูงขึ้น หนี้ภาคครัวเรือนจึงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย"
นาย สุรเชษฐ์ วนพงศ์ทิพากร นายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา กล่าวว่า ภาพรวมเศรษฐกิจทั่วประเทศขณะนี้อยู่ในภาวะขาลง จังหวัดนครราชสีมาก็เช่นเดียวกัน มีการแข่งขันสูงทั้งผู้ประกอบการจากส่วนกลางและท้องถิ่น แต่โคราชยังคงมีแรงกระตุ้นจากโครงการรถไฟรางคู่, มอเตอร์เวย์ และรถไฟความเร็วสูง ซึ่งในส่วนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในโคราชก็ยังอยู่ในระดับดี และจะยังดีต่อไปอีก 2-3 ปี โดยเฉพาะคอนโดมิเนียมและบ้านเดี่ยว ซึ่งมีโครงการบ้านจัดสรรเพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อน แต่ยังไม่ถึงขั้นเกิดภาวะฟองสบู่ เนื่องจากนักลงทุนมองว่าโคราชเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจดี ยังมีการลงทุนต่อเนื่องจากโครงการด้านคมนาคมของรัฐบาล การชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศ ผู้ประกอบการควรต้องมีความระมัดระวังและปรับตัว
ด้านนายชัยชนะ ประพฤทธิพงษ์ ประธานบริหารชมรมร้านทองนครราชสีมา กล่าวว่า ภาวะการซื้อขายทองคำก็ซบเซาเช่นกัน แม้ว่าขณะนี้ราคาทองปรับตัวสูงขึ้น แต่ไม่สูงเท่าที่ผ่านมา แต่ด้วยผลของเศรษฐกิจโดยรวมยังไม่ดี ทำให้กำลังซื้อลดลง
นางศศิสุภา ไพฑูรย์ เจ้าของกิจการร้านไก่ย่างต้นตอ กล่าวว่า ตอนนี้การค้าขายในตลาดต่าง ๆ ของโคราชเงียบเหงามาก หากเทียบจากปีก่อนยอดขายลดลงไปประมาณ 30% ร้านไก่ย่างต้นตอประสบปัญหาต้นทุนสูงขึ้นหลังจากสหฟาร์มปิดกิจการ โดยบริษัทใหญ่เป็นผู้กำหนดราคาสินค้า มีการขึ้นราคาไก่ ลูกค้าประจำและขาจรที่เดินทางมาท่องเที่ยวในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ก็ลดลง เนื่องจากน้ำมันแพง เศรษฐกิจไม่ดี ผู้บริโภคใช้จ่ายลดลง ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่
ขณะที่นายพงษ์ยุทธ สุภัทรวณิชย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัท พิสิษฐ์ ยานยนต์ (โคราช) จำกัด ผู้จำหน่ายรถยนต์มือสอง กล่าวว่า ตลาดรถมือสองโคราชยอดตกมากกว่า 30% เนื่องจากได้รับผลกระทบจากครงการรถยนต์คันแรก เพราะคนหันไปออกรถใหม่จำนวนมาก อีกทั้งตอนนี้บริษัทไฟแนนซ์เข้มงวดปล่อยเครดิตรถยนต์ มีการลดยอดสินเชื่อมากกว่าปกติ ส่งผลให้ราคาขายลดลง ผู้ประกอบการรถมือสองจึงต้องลดราคาลงไปอีก ทำให้กำไรน้อยมาก หรือยอมขาดทุน หากเต็นท์รถมือสองรายใดมีรถในสต๊อกจำนวนมากก็ยิ่งขาดทุนมาก บางรายหายไปมากกว่าล้านบาท จึงทำให้เกิดปัญหาทั้งเรื่องยอดขายและราคารถที่ลดลงด้วย
updated: 09 ส.ค. 2556 เวลา 17:36:32 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
เศรษฐกิจ โคราชส่อเค้าอันตราย ค้าปลีกค้าส่งยอดตกกว่า 30% ประธานหอฯชี้รถยนต์คันแรกปัจจัยสำคัญทำให้เงินในระบบหายไปกว่าแสนล้าน ด้านธุรกิจอสังหาฯยังพอมีแรงกระตุ้นจากเมกะโปรเจ็กต์ 2 ล้านล้าน เตือนนักลงทุนระมัดระวังและปรับตัวให้ทัน ด้านรถยนต์มือสองแบกภาระหนักยอดขาย-ราคารถลดลงหนักสุด
เภสัชกร จักริน เชิดฉาย ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า จากการรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจหลาย ๆ ด้าน พบว่าขณะนี้เริ่มเห็นสัญญาณเศรษฐกิจของโคราชไม่ค่อยดีนัก ธุรกิจค้าปลีกมียอดขายลดลงอย่างเห็นได้ชัด ประเมินว่าน่าจะหายไปมากกว่า 30-50% กำลังซื้อของประชาชนลดลงอย่างชัดเจน
ส่วนภาคอสังหาริมทรัพย์ ในปีที่ผ่านมาถือเป็นธุรกิจดาวรุ่ง แต่ปีนี้ยอดการซื้อขายลดลง ธุรกิจรถยนต์ มอเตอร์ไซค์ก็ลดลงตามไปด้วย ซึ่งได้รับผลพวงจากเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบเศรษฐกิจในประเทศ
อย่างไรก็ ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลกระทบอย่างชัดเจน คือ นโยบายรถยนต์คันแรกในปีที่ผ่านมามีผู้ขอใช้สิทธิ์มากกว่าล้านคัน ส่วนใหญ่เป็นพนักงานเงินเดือน 10,000-20,000 บาท กลุ่มนี้เป็นปัจจัยสำคัญในการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจ เมื่อคนส่วนใหญ่ต้องเก็บออมเงินเพื่อนำมาผ่อนรถยนต์คันแรก ส่วนหนึ่งต้องเก็บไว้เติมน้ำมัน และอีกส่วนหนึ่งต้องใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน จึงทำให้กำลังซื้อสินค้าอื่น ๆ ลดลงไปทันที
"เงินที่เสียไปกับรถ ยนต์ก็หายไปจากระบบเศรษฐกิจ คาดว่าน่าจะมากกว่าหมื่นล้านบาทต่อเดือน และเป็นแสนล้านบาทต่อปี รวมทั้งเรื่องการปรับค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ซึ่งหวังกันว่าจะเป็นการกระตุ้นกำลังซื้อได้มากขึ้น แต่กลับทำให้สินค้าราคาสูงขึ้น หนี้ภาคครัวเรือนจึงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย"
นาย สุรเชษฐ์ วนพงศ์ทิพากร นายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา กล่าวว่า ภาพรวมเศรษฐกิจทั่วประเทศขณะนี้อยู่ในภาวะขาลง จังหวัดนครราชสีมาก็เช่นเดียวกัน มีการแข่งขันสูงทั้งผู้ประกอบการจากส่วนกลางและท้องถิ่น แต่โคราชยังคงมีแรงกระตุ้นจากโครงการรถไฟรางคู่, มอเตอร์เวย์ และรถไฟความเร็วสูง ซึ่งในส่วนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในโคราชก็ยังอยู่ในระดับดี และจะยังดีต่อไปอีก 2-3 ปี โดยเฉพาะคอนโดมิเนียมและบ้านเดี่ยว ซึ่งมีโครงการบ้านจัดสรรเพิ่มขึ้นมากกว่าปีก่อน แต่ยังไม่ถึงขั้นเกิดภาวะฟองสบู่ เนื่องจากนักลงทุนมองว่าโคราชเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจดี ยังมีการลงทุนต่อเนื่องจากโครงการด้านคมนาคมของรัฐบาล การชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศ ผู้ประกอบการควรต้องมีความระมัดระวังและปรับตัว
ด้านนายชัยชนะ ประพฤทธิพงษ์ ประธานบริหารชมรมร้านทองนครราชสีมา กล่าวว่า ภาวะการซื้อขายทองคำก็ซบเซาเช่นกัน แม้ว่าขณะนี้ราคาทองปรับตัวสูงขึ้น แต่ไม่สูงเท่าที่ผ่านมา แต่ด้วยผลของเศรษฐกิจโดยรวมยังไม่ดี ทำให้กำลังซื้อลดลง
นางศศิสุภา ไพฑูรย์ เจ้าของกิจการร้านไก่ย่างต้นตอ กล่าวว่า ตอนนี้การค้าขายในตลาดต่าง ๆ ของโคราชเงียบเหงามาก หากเทียบจากปีก่อนยอดขายลดลงไปประมาณ 30% ร้านไก่ย่างต้นตอประสบปัญหาต้นทุนสูงขึ้นหลังจากสหฟาร์มปิดกิจการ โดยบริษัทใหญ่เป็นผู้กำหนดราคาสินค้า มีการขึ้นราคาไก่ ลูกค้าประจำและขาจรที่เดินทางมาท่องเที่ยวในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ก็ลดลง เนื่องจากน้ำมันแพง เศรษฐกิจไม่ดี ผู้บริโภคใช้จ่ายลดลง ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่
ขณะที่นายพงษ์ยุทธ สุภัทรวณิชย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัท พิสิษฐ์ ยานยนต์ (โคราช) จำกัด ผู้จำหน่ายรถยนต์มือสอง กล่าวว่า ตลาดรถมือสองโคราชยอดตกมากกว่า 30% เนื่องจากได้รับผลกระทบจากครงการรถยนต์คันแรก เพราะคนหันไปออกรถใหม่จำนวนมาก อีกทั้งตอนนี้บริษัทไฟแนนซ์เข้มงวดปล่อยเครดิตรถยนต์ มีการลดยอดสินเชื่อมากกว่าปกติ ส่งผลให้ราคาขายลดลง ผู้ประกอบการรถมือสองจึงต้องลดราคาลงไปอีก ทำให้กำไรน้อยมาก หรือยอมขาดทุน หากเต็นท์รถมือสองรายใดมีรถในสต๊อกจำนวนมากก็ยิ่งขาดทุนมาก บางรายหายไปมากกว่าล้านบาท จึงทำให้เกิดปัญหาทั้งเรื่องยอดขายและราคารถที่ลดลงด้วย
value trap
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 36
http://www.manager.co.th/iBizChannel/Vi ... 0000117799
ทิ้งใบจองรถคันแรก 1.6 แสนคันดันสต๊อกพุ่ง ผู้ผลิตจัดหนักกระตุ้นยอดขาย
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 18 กันยายน 2556 15:09 น.
ผู้ผลิตรถยนต์เผยทิ้งใบจองรถคันแรก 1.6 แสนคัน ดันสต๊อกร่วมเหลือนับแสนคัน เร่งอัดแคมเปญกระตุ้นยอดขาย ยอมรับให้สิทธิประโยชน์ดีกว่ารถยนต์คันแรก เปิดโต๊ะขายตรงถึงคนซื้อตามห้างหลังคนเมินเดินโชว์รูมขายรถ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า โครงการรถยนต์คันแรกของรัฐบาลขณะนี้มีการส่งมอบไปแล้วทั้งสิ้น 1.08 ล้านคันจากยอดจองทั้งสิ้น 1.25 ล้านคันซึ่งพบว่าใบจองราว 1.6 แสนคันที่เหลือมีการเลื่อนออกมาต่อเนื่องจึงทำให้ค่อนข้างชัดเจนแล้วว่าจะไม่มารับมอบรถทั้งหมด ซึ่งจากปริมาณดังกล่าวไม่ได้ส่งผลกระทบต่อภาพรวม อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยอมรับว่าสต๊อกรถที่มีอยู่ราว 1 แสนคันทำให้ค่ายรถยนต์ได้พยายามอัดโปรโมชัน เช่น ดอกเบี้ย 0% นาน 4 ปี ซึ่งถือว่าเป็นแคมเปญที่จัดหนักในระยะนี้เพื่อที่จะกระตุ้นยอดจำหน่ายหลังโครงการรถยนต์คันแรกหมดลง
“ตอนนี้ลูกค้าเข้าโชว์รูมรถน้อยลงหลังสิ้นสุดรถคันแรกแล้ว ค่ายรถจึงต้องจัดแคมเปญแข่งขันกันมากขึ้น และยังไปจัดตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ เพื่อที่จะได้เข้าหาลูกค้าโดยตรงแทนที่จะให้ลูกค้ามาหาเหมือนที่ผ่านมา โดยยอมรับว่าโปรโมชันที่ค่ายรถทำขณะนี้ให้สิทธิประโยชน์โดยรวมดีกว่ารถยนต์คันแรก” นายสุรพงษ์กล่าว
ทิ้งใบจองรถคันแรก 1.6 แสนคันดันสต๊อกพุ่ง ผู้ผลิตจัดหนักกระตุ้นยอดขาย
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 18 กันยายน 2556 15:09 น.
ผู้ผลิตรถยนต์เผยทิ้งใบจองรถคันแรก 1.6 แสนคัน ดันสต๊อกร่วมเหลือนับแสนคัน เร่งอัดแคมเปญกระตุ้นยอดขาย ยอมรับให้สิทธิประโยชน์ดีกว่ารถยนต์คันแรก เปิดโต๊ะขายตรงถึงคนซื้อตามห้างหลังคนเมินเดินโชว์รูมขายรถ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า โครงการรถยนต์คันแรกของรัฐบาลขณะนี้มีการส่งมอบไปแล้วทั้งสิ้น 1.08 ล้านคันจากยอดจองทั้งสิ้น 1.25 ล้านคันซึ่งพบว่าใบจองราว 1.6 แสนคันที่เหลือมีการเลื่อนออกมาต่อเนื่องจึงทำให้ค่อนข้างชัดเจนแล้วว่าจะไม่มารับมอบรถทั้งหมด ซึ่งจากปริมาณดังกล่าวไม่ได้ส่งผลกระทบต่อภาพรวม อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยอมรับว่าสต๊อกรถที่มีอยู่ราว 1 แสนคันทำให้ค่ายรถยนต์ได้พยายามอัดโปรโมชัน เช่น ดอกเบี้ย 0% นาน 4 ปี ซึ่งถือว่าเป็นแคมเปญที่จัดหนักในระยะนี้เพื่อที่จะกระตุ้นยอดจำหน่ายหลังโครงการรถยนต์คันแรกหมดลง
“ตอนนี้ลูกค้าเข้าโชว์รูมรถน้อยลงหลังสิ้นสุดรถคันแรกแล้ว ค่ายรถจึงต้องจัดแคมเปญแข่งขันกันมากขึ้น และยังไปจัดตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ เพื่อที่จะได้เข้าหาลูกค้าโดยตรงแทนที่จะให้ลูกค้ามาหาเหมือนที่ผ่านมา โดยยอมรับว่าโปรโมชันที่ค่ายรถทำขณะนี้ให้สิทธิประโยชน์โดยรวมดีกว่ารถยนต์คันแรก” นายสุรพงษ์กล่าว
- ayethebing
- Verified User
- โพสต์: 2125
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 37
น่าเป็นห่วงครับ ผมไม่ค่อยห่วง OEM หรอก ผมห่วงพวกอุตสาหกรรมชิ้นส่วนมากกว่า ถ้าจะแย่
ขอนไม้อันนิ่งสงบ
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 38
ส.อ.ท.ชี้โปรโมชั่นรถปลายปีแรง คุ้มกว่านโยบายรถคันแรก หั่นราคาลงหลายหมื่น ดาวน์ต่ำ ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี
วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 17:31:06 น.
แฟ้มภาพ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เปิดเผยว่า ขณะนี้บรรดาบริษัทรถยนต์ทั้งรถยนต์นั่งและรถกระบะต่างออกโปรโมชั่นเพื่อเพิ่มยอดขายกันอย่างคึกคัก และเป็นการระบายสต๊อกไปในตัว โดยมีการคิดโปรโมชั่นต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นผู้ซื้อในแต่ละเดือน คาดว่าจะยาวต่อเนื่องไปถึงสิ้นปี ซึ่งจากการประเมินของอุตสาหกรรมยานยนต์ อาทิ ส่วนลดหลายหมื่นบาท ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี และดาวน์รถต่ำ พบว่าโปรโมชั่นที่ออกมาคุ้มค่ากว่านโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรก 100,000 บาทต่อของรัฐบาลด้วย
"พบว่ารถกระบะของบางค่ายรถมีโปรโมชั่นที่คำนวณแล้วเป็นส่วนลดถึง 40,000 บาท ขณะที่คำนวณการคืนภาษีตามนโยบายของรัฐบาลชุดที่ผ่านมาอยู่ที่ 26,000 บาทเท่านั้น จึงเห็นว่าโปรโมชั่นช่วงนี้คุ้มค่ามาก"
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดการผลิตรถยนต์ของไทยเดือนสิงหาคมอยู่ที่ 193,074 คัน ต่ำกว่า 200,000 คันต่อเดือน ในรอบ 15 เดือน และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็น 4.17% จำนวนนี้แยกเป็นรถยนต์นั่งผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.54% แต่มีการผลิตที่โตสวนทาง คือ รถบรรทุกขนาดใหญ่มากกว่า 1 ตัน ผลิตได้ 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52.57% คาดว่าเป็นการผลิตเพื่อรองรับการลงทุนของภาครัฐ ด้านยอดผลิต 8 เดือน (มกราคม-สิงหาคม) อยู่ที่ 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16.4%
ขณะที่ยอดขายรถยนต์อยู่ที่ 100,289 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 22.6% แต่เพิ่มจากเดือนกรกฎาคมปีนี้ที่เป็นช่วงที่ยอดขายในประเทศชะลอตัวหลังสิ้นสุดโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เห็นว่ายอดขายเดือนสิงหาคมเริ่มกลับมาสู่ภาวะปกติแล้ว โดยยอดขาย 8 เดือนอยู่ที่ 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8.2%
สำหรับยอดการส่งออกอยู่ที่ 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 17.96% ถือเป็นการส่งออกที่สูงสุดทำลายสถิติรอบ 25 ปี หรือตั้งแต่เริ่มส่งออกในปี 2531 จึงเป็นสาเหตุให้เดือนที่ผ่านมาอุตสาหกรรมมีการปรับลดสัดส่วนของยอดขายในประเทศจำนวน 50,000 คัน มาเป็นการส่งออกแทน โดยการส่งออกช่วง 8 เดือนอยู่ที่ 720,141 คัน เพิ่มขึ้น 12.42%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ได้คาดการณ์การผลิตรถยนต์ช่วง 2 เดือนข้างหน้า คือ กันยายน-พฤศจิกายน 2556 ไว้ที่ 632,013 โดยมั่นใจว่าสิ้นปีจะสามารถรักษาระดับการผลิตโดยรวมอยู่ที่ 2,550,000 คัน แยกเป็นยอดขายในประเทศ 1,400,000 คัน และส่งออก 1,150,000 คัน
http://www.matichon.co.th/news_detail.p ... 0&catid=00
วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 17:31:06 น.
แฟ้มภาพ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เปิดเผยว่า ขณะนี้บรรดาบริษัทรถยนต์ทั้งรถยนต์นั่งและรถกระบะต่างออกโปรโมชั่นเพื่อเพิ่มยอดขายกันอย่างคึกคัก และเป็นการระบายสต๊อกไปในตัว โดยมีการคิดโปรโมชั่นต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นผู้ซื้อในแต่ละเดือน คาดว่าจะยาวต่อเนื่องไปถึงสิ้นปี ซึ่งจากการประเมินของอุตสาหกรรมยานยนต์ อาทิ ส่วนลดหลายหมื่นบาท ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี และดาวน์รถต่ำ พบว่าโปรโมชั่นที่ออกมาคุ้มค่ากว่านโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรก 100,000 บาทต่อของรัฐบาลด้วย
"พบว่ารถกระบะของบางค่ายรถมีโปรโมชั่นที่คำนวณแล้วเป็นส่วนลดถึง 40,000 บาท ขณะที่คำนวณการคืนภาษีตามนโยบายของรัฐบาลชุดที่ผ่านมาอยู่ที่ 26,000 บาทเท่านั้น จึงเห็นว่าโปรโมชั่นช่วงนี้คุ้มค่ามาก"
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดการผลิตรถยนต์ของไทยเดือนสิงหาคมอยู่ที่ 193,074 คัน ต่ำกว่า 200,000 คันต่อเดือน ในรอบ 15 เดือน และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็น 4.17% จำนวนนี้แยกเป็นรถยนต์นั่งผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.54% แต่มีการผลิตที่โตสวนทาง คือ รถบรรทุกขนาดใหญ่มากกว่า 1 ตัน ผลิตได้ 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52.57% คาดว่าเป็นการผลิตเพื่อรองรับการลงทุนของภาครัฐ ด้านยอดผลิต 8 เดือน (มกราคม-สิงหาคม) อยู่ที่ 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16.4%
ขณะที่ยอดขายรถยนต์อยู่ที่ 100,289 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 22.6% แต่เพิ่มจากเดือนกรกฎาคมปีนี้ที่เป็นช่วงที่ยอดขายในประเทศชะลอตัวหลังสิ้นสุดโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เห็นว่ายอดขายเดือนสิงหาคมเริ่มกลับมาสู่ภาวะปกติแล้ว โดยยอดขาย 8 เดือนอยู่ที่ 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8.2%
สำหรับยอดการส่งออกอยู่ที่ 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 17.96% ถือเป็นการส่งออกที่สูงสุดทำลายสถิติรอบ 25 ปี หรือตั้งแต่เริ่มส่งออกในปี 2531 จึงเป็นสาเหตุให้เดือนที่ผ่านมาอุตสาหกรรมมีการปรับลดสัดส่วนของยอดขายในประเทศจำนวน 50,000 คัน มาเป็นการส่งออกแทน โดยการส่งออกช่วง 8 เดือนอยู่ที่ 720,141 คัน เพิ่มขึ้น 12.42%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ได้คาดการณ์การผลิตรถยนต์ช่วง 2 เดือนข้างหน้า คือ กันยายน-พฤศจิกายน 2556 ไว้ที่ 632,013 โดยมั่นใจว่าสิ้นปีจะสามารถรักษาระดับการผลิตโดยรวมอยู่ที่ 2,550,000 คัน แยกเป็นยอดขายในประเทศ 1,400,000 คัน และส่งออก 1,150,000 คัน
http://www.matichon.co.th/news_detail.p ... 0&catid=00
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 39
ส.อ.ท.ชี้โปรโมชั่นรถปลายปีแรง คุ้มกว่านโยบายรถคันแรก หั่นราคาลงหลายหมื่น ดาวน์ต่ำ ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี
วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 17:31:06 น.
แฟ้มภาพ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เปิดเผยว่า ขณะนี้บรรดาบริษัทรถยนต์ทั้งรถยนต์นั่งและรถกระบะต่างออกโปรโมชั่นเพื่อเพิ่มยอดขายกันอย่างคึกคัก และเป็นการระบายสต๊อกไปในตัว โดยมีการคิดโปรโมชั่นต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นผู้ซื้อในแต่ละเดือน คาดว่าจะยาวต่อเนื่องไปถึงสิ้นปี ซึ่งจากการประเมินของอุตสาหกรรมยานยนต์ อาทิ ส่วนลดหลายหมื่นบาท ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี และดาวน์รถต่ำ พบว่าโปรโมชั่นที่ออกมาคุ้มค่ากว่านโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรก 100,000 บาทต่อของรัฐบาลด้วย
"พบว่ารถกระบะของบางค่ายรถมีโปรโมชั่นที่คำนวณแล้วเป็นส่วนลดถึง 40,000 บาท ขณะที่คำนวณการคืนภาษีตามนโยบายของรัฐบาลชุดที่ผ่านมาอยู่ที่ 26,000 บาทเท่านั้น จึงเห็นว่าโปรโมชั่นช่วงนี้คุ้มค่ามาก"
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดการผลิตรถยนต์ของไทยเดือนสิงหาคมอยู่ที่ 193,074 คัน ต่ำกว่า 200,000 คันต่อเดือน ในรอบ 15 เดือน และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็น 4.17% จำนวนนี้แยกเป็นรถยนต์นั่งผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.54% แต่มีการผลิตที่โตสวนทาง คือ รถบรรทุกขนาดใหญ่มากกว่า 1 ตัน ผลิตได้ 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52.57% คาดว่าเป็นการผลิตเพื่อรองรับการลงทุนของภาครัฐ ด้านยอดผลิต 8 เดือน (มกราคม-สิงหาคม) อยู่ที่ 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16.4%
ขณะที่ยอดขายรถยนต์อยู่ที่ 100,289 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 22.6% แต่เพิ่มจากเดือนกรกฎาคมปีนี้ที่เป็นช่วงที่ยอดขายในประเทศชะลอตัวหลังสิ้นสุดโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เห็นว่ายอดขายเดือนสิงหาคมเริ่มกลับมาสู่ภาวะปกติแล้ว โดยยอดขาย 8 เดือนอยู่ที่ 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8.2%
สำหรับยอดการส่งออกอยู่ที่ 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 17.96% ถือเป็นการส่งออกที่สูงสุดทำลายสถิติรอบ 25 ปี หรือตั้งแต่เริ่มส่งออกในปี 2531 จึงเป็นสาเหตุให้เดือนที่ผ่านมาอุตสาหกรรมมีการปรับลดสัดส่วนของยอดขายในประเทศจำนวน 50,000 คัน มาเป็นการส่งออกแทน โดยการส่งออกช่วง 8 เดือนอยู่ที่ 720,141 คัน เพิ่มขึ้น 12.42%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ได้คาดการณ์การผลิตรถยนต์ช่วง 2 เดือนข้างหน้า คือ กันยายน-พฤศจิกายน 2556 ไว้ที่ 632,013 โดยมั่นใจว่าสิ้นปีจะสามารถรักษาระดับการผลิตโดยรวมอยู่ที่ 2,550,000 คัน แยกเป็นยอดขายในประเทศ 1,400,000 คัน และส่งออก 1,150,000 คัน
http://www.matichon.co.th/news_detail.p ... 0&catid=00
วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556 เวลา 17:31:06 น.
แฟ้มภาพ
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เปิดเผยว่า ขณะนี้บรรดาบริษัทรถยนต์ทั้งรถยนต์นั่งและรถกระบะต่างออกโปรโมชั่นเพื่อเพิ่มยอดขายกันอย่างคึกคัก และเป็นการระบายสต๊อกไปในตัว โดยมีการคิดโปรโมชั่นต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นผู้ซื้อในแต่ละเดือน คาดว่าจะยาวต่อเนื่องไปถึงสิ้นปี ซึ่งจากการประเมินของอุตสาหกรรมยานยนต์ อาทิ ส่วนลดหลายหมื่นบาท ฟรีดอกเบี้ย 4 ปี และดาวน์รถต่ำ พบว่าโปรโมชั่นที่ออกมาคุ้มค่ากว่านโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรก 100,000 บาทต่อของรัฐบาลด้วย
"พบว่ารถกระบะของบางค่ายรถมีโปรโมชั่นที่คำนวณแล้วเป็นส่วนลดถึง 40,000 บาท ขณะที่คำนวณการคืนภาษีตามนโยบายของรัฐบาลชุดที่ผ่านมาอยู่ที่ 26,000 บาทเท่านั้น จึงเห็นว่าโปรโมชั่นช่วงนี้คุ้มค่ามาก"
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดการผลิตรถยนต์ของไทยเดือนสิงหาคมอยู่ที่ 193,074 คัน ต่ำกว่า 200,000 คันต่อเดือน ในรอบ 15 เดือน และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็น 4.17% จำนวนนี้แยกเป็นรถยนต์นั่งผลิตได้ 82,188 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 5.54% แต่มีการผลิตที่โตสวนทาง คือ รถบรรทุกขนาดใหญ่มากกว่า 1 ตัน ผลิตได้ 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52.57% คาดว่าเป็นการผลิตเพื่อรองรับการลงทุนของภาครัฐ ด้านยอดผลิต 8 เดือน (มกราคม-สิงหาคม) อยู่ที่ 1,735,514 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16.4%
ขณะที่ยอดขายรถยนต์อยู่ที่ 100,289 คัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 22.6% แต่เพิ่มจากเดือนกรกฎาคมปีนี้ที่เป็นช่วงที่ยอดขายในประเทศชะลอตัวหลังสิ้นสุดโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เห็นว่ายอดขายเดือนสิงหาคมเริ่มกลับมาสู่ภาวะปกติแล้ว โดยยอดขาย 8 เดือนอยู่ที่ 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8.2%
สำหรับยอดการส่งออกอยู่ที่ 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 17.96% ถือเป็นการส่งออกที่สูงสุดทำลายสถิติรอบ 25 ปี หรือตั้งแต่เริ่มส่งออกในปี 2531 จึงเป็นสาเหตุให้เดือนที่ผ่านมาอุตสาหกรรมมีการปรับลดสัดส่วนของยอดขายในประเทศจำนวน 50,000 คัน มาเป็นการส่งออกแทน โดยการส่งออกช่วง 8 เดือนอยู่ที่ 720,141 คัน เพิ่มขึ้น 12.42%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ได้คาดการณ์การผลิตรถยนต์ช่วง 2 เดือนข้างหน้า คือ กันยายน-พฤศจิกายน 2556 ไว้ที่ 632,013 โดยมั่นใจว่าสิ้นปีจะสามารถรักษาระดับการผลิตโดยรวมอยู่ที่ 2,550,000 คัน แยกเป็นยอดขายในประเทศ 1,400,000 คัน และส่งออก 1,150,000 คัน
http://www.matichon.co.th/news_detail.p ... 0&catid=00
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 40
"นิสสัน"เร่งไลน์ผลิตโรงประกอบ2 เข็นรถครบเซ็กเมนต์ขึ้นเบอร์หนึ่ง"อีโคคาร์-เอสยูวี"
updated: 18 ก.ย. 2556 เวลา 16:00:17 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
"นิสสัน" เร่งเครื่องโรงงาน 2 เต็มสตรีมคาดแล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม ตั้งเป้าลุยผลิต "นาวารา" ใหม่ ประกาศขึ้นแชมป์ผู้นำสองตลาด อีโคคาร์และเอสยูวี ลุยส่งรุ่นใหม่ "จู๊ค-เอ็กซ์เทรล" เสริมทัพ ลั่นขายทั้งปีทะลุแสนคัน ไม่เกินปี"59 แชร์ขยับแตะ 15%
นายประพัฒน์ เชยชม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสการตลาดและการขาย บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยถึงความคืบหน้าหลังประกาศลงทุนใหม่มูลค่า 11,000 ล้านบาท เพื่อสร้างโรงงานประกอบรถยนต์แห่งที่ 2 ในประเทศไทยว่า เดิมจะเริ่มเปิดดำเนินการผลิตในเดือนสิงหาคม 2557
แต่แผนดำเนินงานอาจจะเร็วกว่าเดิมราว 1-2 เดือน โดยโรงงานแห่งนี้เป็นการรองรับกลยุทธ์การเติบโตของนิสสันในภูมิภาคอาเซียน และเพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้กับโรงงานนิสสันในประเทศไทย มีกำลังการผลิตต่อปีในช่วงเริ่มต้น 75,000 คัน และจะขยายเพิ่มขึ้นเป็น 150,000 คันต่อปีในอนาคต โดยจะใช้สำหรับผลิตรถปิกอัพนิสสัน นาวารา รุ่นใหม่
สำหรับแผนดำเนินธุรกิจของนิสสันในช่วงเวลาจากนี้ไปว่า บริษัทมีนโยบายในการทำตลาด โดยจะมุ่งเน้นและพยายามเพิ่มความหลากหลายของสินค้าที่จะใช้ทำตลาดให้มากขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุกๆ เซ็กเมนต์
จากปัจจุบันที่นิสสันมีผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าชาวไทยได้เพียง 60-70% โดยจากนี้ไปนิสสันจะพยายามเพิ่มความหลากหลายโดยเฉพาะรถยนต์ในกลุ่มบี-คาร์ ซีดาน, แฮตช์แบ็ก, เอ็มพีวี, พีพีวี รวมถึงรถในกลุ่มพรีเมี่ยม โดยพยายามเพิ่มความเข้มข้น
ทั้งในส่วนของสินค้าและผลิตภัณฑ์ และในอนาคตอันใกล้ นิสสันตั้งเป้าจะต้องเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์อีโคคาร์และเอสยูวีให้ได้ จากปัจจุบันนิสสันถือว่าเป็นผู้นำของตลาดอีโคคาร์ ทั้งในแง่ของความเป็นผู้นำในการทำตลาดและยอดขาย ขณะที่ตลาดรถเอสยูวีนั้น ในอนาคตบริษัทมีแผนจะแนะนำรถประเภทนี้ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนิสสัน เอ็กซ์เทรล และนิสสัน จู๊ค ซึ่งคาดว่าจะได้รับการตอบรับที่ดีอย่างแน่นอน และในเร็ว ๆ นี้นิสสันเตรียมส่งรถยนต์นั่งเทียน่า ใหม่ ออกสู่ตลาดด้วย และเชื่อว่าหากนิสสันมีสินค้าครบไลน์ภายในปี 2559 จะทำให้ส่วนแบ่งยอดขายของนิสสันขยับขึ้นไปที่ 15% หรือมียอดขาย 180,000 คัน จากตลาดรถยนต์โดยรวม คาดว่าจะอยู่ที่ 1.2 ล้านคัน
ด้านความเป็นไปได้ นิสสันจะทำรถยนต์แบรนด์ดัทสันเข้ามาทำตลาดในประเทศไทยหรือไม่นั้น เนื่องจากบริษัทแม่ได้วางตำแหน่งของแบรนด์ดัทสันให้เป็นสินค้าที่เจาะตลาดสำหรับกลุ่มประเทศอินโดนีเซีย, อินเดีย, รัสเซีย และแอฟริกาใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประเทศที่มีผู้ต้องการใช้รถยนต์คันแรกอยู่ค่อนข้างมาก
ส่วนประเทศไทย เนื่องจากพฤติกรรมของลูกค้ามีความแตกต่าง ทั้งพฤติกรรมและความต้องการ โดยมีความละเอียด ความใส่ใจ และให้ความสำคัญกับสินค้าค่อนข้างสูง
"ถามว่า โอกาสที่นิสสันจะเอาแบรนด์ดัทสันเข้ามาทำตลาดหรือไม่นั้น ตอนนี้ถ้าให้ตอบ ก็ต้องบอกว่าเป็นไปได้หมด แต่คงต้องศึกษารายละเอียดกันพอสมควร แม้ว่าสินค้าจะเป็นสินค้าที่ได้มาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแง่ของคุณภาพ ความปลอดภัย และที่สำคัญ หากเราเอาดัทสันเข้ามาทำตลาด ราคาจำเป็นต้องต่ำกว่าอีโคคาร์แน่นอน"
สำหรับสถานการณ์ตลาดรถยนต์ในช่วงที่ผ่านมา นายประพัฒน์กล่าวว่า ในช่วง 3 เดือนแรกของปี ยอดถือว่าดีเกินความคาดหมาย และนิสสันก็มียอดจำหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่เดือนละ 10,000 คัน โดยเฉพาะในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ยอดจำหน่ายขยับขึ้นไปสูงถึง 20,000 คัน ขณะที่ความต้องการของตลาดกลับลดลงในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน
แต่พอเข้าสู่ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคมที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าตลาดรถยนต์โดยรวมมีความต้องการที่กระเตื้องขึ้น และเชื่อว่าตลาดจะกลับมามีความร้อนแรงอีกครั้งในช่วงปลายปีนี้
จะเห็นว่าตลาดรถยนต์ที่ผ่านมามียอดขายลดลงไปประมาณ30% และจากนี้ไปจะมียอดขายเฉลี่ยโดยรวมประมาณ 90,000 คันต่อเดือน เนื่องจากยังมีค่ายรถยนต์บางค่ายมีออร์เดอร์ค้างอยู่ แต่ก็ต้องค่อย ๆ ลดลงไป
สำหรับนิสสันในเดือนสิงหาคมมียอดขาย 7,000 กว่าคัน ขณะที่ยอดขายรวม 8 เดือนอยู่ที่กว่า 70,000 คัน และทั้งปีคาดว่าจะมียอดขายอยู่ที่ 100,000 คันอย่างแน่นอน
ส่วนการแข่งขันของตลาดรถยนต์อีโคคาร์จากนี้ คาดว่าจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีรถใหม่จากค่ายใหญ่เข้ามาทำตลาด ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ตลาดตื่นตัวค่อนข้างมาก แต่อาจไม่สูงเท่ากับปีที่ผ่านมา
ที่ตลาดถูกกระตุ้นความต้องการจากโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรก โดยเชื่อว่าผู้ประกอบการอีโคคาร์ 4 ค่ายเดิมจะต้องเตรียมแผนการตลาดเพื่อรับมือค่ายใหม่อย่างแน่นอน และที่ผ่านมา
ตลาดอีโคคาร์ก็ได้พิสูจน์แล้วว่า ความสดใหม่ บางครั้งหากมาไม่ถูกที่ ไม่ถูกเวลา อาจจะต้องเพิ่มความเข้มข้นในการทำตลาดมากกว่าปกติโดยตลาดอีโคคาร์ปีนี้เชื่อว่าจะมียอดขายโดยรวม 200,000 คันเป็นอย่างน้อย และนิสสันตั้งเป้ามียอดขายอีโคคาร์ 50,000-60,000 คัน แบ่งเป็นนิสสัน อัลเมร่า กว่า 30,000 คัน และนิสสัน มาร์ช อีกกว่า 20,000 คัน
"ตอนนี้ตลาดรถยนต์มีความร้อนแรง ถือว่าค่ายรถยนต์ต่าง ๆ มีการทำแคมเปญที่ดุเดือดมากสุดในรอบ 10 ปี จากปกติจะอัดแคมเปญแรง ๆ เป็นช่วงฤดูกาล แต่สำหรับวันนี้เรียกว่าทุกค่ายจัดแคมเปญแรง ๆ ให้โปรโมรชั่นเป็นแสนบาท ถือเป็นเรื่องปกติ ซึ่งค่ายรถยนต์ต่างก็ได้ใช้งบประมาณตรงนี้ค่อนข้างเยอะ ชนิดที่เรียกว่าไม่ทำไม่ได้ คนอื่นแย่งหมด ยังไง ๆ ต้องทำแคมเปญ"
ที่ผ่านมาจะเห็นว่าค่ายรถยนต์หลายค่ายเริ่มปรับลดกำลังการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการและเชื่อว่าตลาดน่าจะเริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้ในไตรมาสแรกของปี 2557 อย่างแน่นอน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1379494338
updated: 18 ก.ย. 2556 เวลา 16:00:17 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
"นิสสัน" เร่งเครื่องโรงงาน 2 เต็มสตรีมคาดแล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม ตั้งเป้าลุยผลิต "นาวารา" ใหม่ ประกาศขึ้นแชมป์ผู้นำสองตลาด อีโคคาร์และเอสยูวี ลุยส่งรุ่นใหม่ "จู๊ค-เอ็กซ์เทรล" เสริมทัพ ลั่นขายทั้งปีทะลุแสนคัน ไม่เกินปี"59 แชร์ขยับแตะ 15%
นายประพัฒน์ เชยชม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสการตลาดและการขาย บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยถึงความคืบหน้าหลังประกาศลงทุนใหม่มูลค่า 11,000 ล้านบาท เพื่อสร้างโรงงานประกอบรถยนต์แห่งที่ 2 ในประเทศไทยว่า เดิมจะเริ่มเปิดดำเนินการผลิตในเดือนสิงหาคม 2557
แต่แผนดำเนินงานอาจจะเร็วกว่าเดิมราว 1-2 เดือน โดยโรงงานแห่งนี้เป็นการรองรับกลยุทธ์การเติบโตของนิสสันในภูมิภาคอาเซียน และเพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้กับโรงงานนิสสันในประเทศไทย มีกำลังการผลิตต่อปีในช่วงเริ่มต้น 75,000 คัน และจะขยายเพิ่มขึ้นเป็น 150,000 คันต่อปีในอนาคต โดยจะใช้สำหรับผลิตรถปิกอัพนิสสัน นาวารา รุ่นใหม่
สำหรับแผนดำเนินธุรกิจของนิสสันในช่วงเวลาจากนี้ไปว่า บริษัทมีนโยบายในการทำตลาด โดยจะมุ่งเน้นและพยายามเพิ่มความหลากหลายของสินค้าที่จะใช้ทำตลาดให้มากขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุกๆ เซ็กเมนต์
จากปัจจุบันที่นิสสันมีผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าชาวไทยได้เพียง 60-70% โดยจากนี้ไปนิสสันจะพยายามเพิ่มความหลากหลายโดยเฉพาะรถยนต์ในกลุ่มบี-คาร์ ซีดาน, แฮตช์แบ็ก, เอ็มพีวี, พีพีวี รวมถึงรถในกลุ่มพรีเมี่ยม โดยพยายามเพิ่มความเข้มข้น
ทั้งในส่วนของสินค้าและผลิตภัณฑ์ และในอนาคตอันใกล้ นิสสันตั้งเป้าจะต้องเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์อีโคคาร์และเอสยูวีให้ได้ จากปัจจุบันนิสสันถือว่าเป็นผู้นำของตลาดอีโคคาร์ ทั้งในแง่ของความเป็นผู้นำในการทำตลาดและยอดขาย ขณะที่ตลาดรถเอสยูวีนั้น ในอนาคตบริษัทมีแผนจะแนะนำรถประเภทนี้ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนิสสัน เอ็กซ์เทรล และนิสสัน จู๊ค ซึ่งคาดว่าจะได้รับการตอบรับที่ดีอย่างแน่นอน และในเร็ว ๆ นี้นิสสันเตรียมส่งรถยนต์นั่งเทียน่า ใหม่ ออกสู่ตลาดด้วย และเชื่อว่าหากนิสสันมีสินค้าครบไลน์ภายในปี 2559 จะทำให้ส่วนแบ่งยอดขายของนิสสันขยับขึ้นไปที่ 15% หรือมียอดขาย 180,000 คัน จากตลาดรถยนต์โดยรวม คาดว่าจะอยู่ที่ 1.2 ล้านคัน
ด้านความเป็นไปได้ นิสสันจะทำรถยนต์แบรนด์ดัทสันเข้ามาทำตลาดในประเทศไทยหรือไม่นั้น เนื่องจากบริษัทแม่ได้วางตำแหน่งของแบรนด์ดัทสันให้เป็นสินค้าที่เจาะตลาดสำหรับกลุ่มประเทศอินโดนีเซีย, อินเดีย, รัสเซีย และแอฟริกาใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประเทศที่มีผู้ต้องการใช้รถยนต์คันแรกอยู่ค่อนข้างมาก
ส่วนประเทศไทย เนื่องจากพฤติกรรมของลูกค้ามีความแตกต่าง ทั้งพฤติกรรมและความต้องการ โดยมีความละเอียด ความใส่ใจ และให้ความสำคัญกับสินค้าค่อนข้างสูง
"ถามว่า โอกาสที่นิสสันจะเอาแบรนด์ดัทสันเข้ามาทำตลาดหรือไม่นั้น ตอนนี้ถ้าให้ตอบ ก็ต้องบอกว่าเป็นไปได้หมด แต่คงต้องศึกษารายละเอียดกันพอสมควร แม้ว่าสินค้าจะเป็นสินค้าที่ได้มาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแง่ของคุณภาพ ความปลอดภัย และที่สำคัญ หากเราเอาดัทสันเข้ามาทำตลาด ราคาจำเป็นต้องต่ำกว่าอีโคคาร์แน่นอน"
สำหรับสถานการณ์ตลาดรถยนต์ในช่วงที่ผ่านมา นายประพัฒน์กล่าวว่า ในช่วง 3 เดือนแรกของปี ยอดถือว่าดีเกินความคาดหมาย และนิสสันก็มียอดจำหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่เดือนละ 10,000 คัน โดยเฉพาะในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ยอดจำหน่ายขยับขึ้นไปสูงถึง 20,000 คัน ขณะที่ความต้องการของตลาดกลับลดลงในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน
แต่พอเข้าสู่ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคมที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าตลาดรถยนต์โดยรวมมีความต้องการที่กระเตื้องขึ้น และเชื่อว่าตลาดจะกลับมามีความร้อนแรงอีกครั้งในช่วงปลายปีนี้
จะเห็นว่าตลาดรถยนต์ที่ผ่านมามียอดขายลดลงไปประมาณ30% และจากนี้ไปจะมียอดขายเฉลี่ยโดยรวมประมาณ 90,000 คันต่อเดือน เนื่องจากยังมีค่ายรถยนต์บางค่ายมีออร์เดอร์ค้างอยู่ แต่ก็ต้องค่อย ๆ ลดลงไป
สำหรับนิสสันในเดือนสิงหาคมมียอดขาย 7,000 กว่าคัน ขณะที่ยอดขายรวม 8 เดือนอยู่ที่กว่า 70,000 คัน และทั้งปีคาดว่าจะมียอดขายอยู่ที่ 100,000 คันอย่างแน่นอน
ส่วนการแข่งขันของตลาดรถยนต์อีโคคาร์จากนี้ คาดว่าจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีรถใหม่จากค่ายใหญ่เข้ามาทำตลาด ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ตลาดตื่นตัวค่อนข้างมาก แต่อาจไม่สูงเท่ากับปีที่ผ่านมา
ที่ตลาดถูกกระตุ้นความต้องการจากโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรก โดยเชื่อว่าผู้ประกอบการอีโคคาร์ 4 ค่ายเดิมจะต้องเตรียมแผนการตลาดเพื่อรับมือค่ายใหม่อย่างแน่นอน และที่ผ่านมา
ตลาดอีโคคาร์ก็ได้พิสูจน์แล้วว่า ความสดใหม่ บางครั้งหากมาไม่ถูกที่ ไม่ถูกเวลา อาจจะต้องเพิ่มความเข้มข้นในการทำตลาดมากกว่าปกติโดยตลาดอีโคคาร์ปีนี้เชื่อว่าจะมียอดขายโดยรวม 200,000 คันเป็นอย่างน้อย และนิสสันตั้งเป้ามียอดขายอีโคคาร์ 50,000-60,000 คัน แบ่งเป็นนิสสัน อัลเมร่า กว่า 30,000 คัน และนิสสัน มาร์ช อีกกว่า 20,000 คัน
"ตอนนี้ตลาดรถยนต์มีความร้อนแรง ถือว่าค่ายรถยนต์ต่าง ๆ มีการทำแคมเปญที่ดุเดือดมากสุดในรอบ 10 ปี จากปกติจะอัดแคมเปญแรง ๆ เป็นช่วงฤดูกาล แต่สำหรับวันนี้เรียกว่าทุกค่ายจัดแคมเปญแรง ๆ ให้โปรโมรชั่นเป็นแสนบาท ถือเป็นเรื่องปกติ ซึ่งค่ายรถยนต์ต่างก็ได้ใช้งบประมาณตรงนี้ค่อนข้างเยอะ ชนิดที่เรียกว่าไม่ทำไม่ได้ คนอื่นแย่งหมด ยังไง ๆ ต้องทำแคมเปญ"
ที่ผ่านมาจะเห็นว่าค่ายรถยนต์หลายค่ายเริ่มปรับลดกำลังการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการและเชื่อว่าตลาดน่าจะเริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้ในไตรมาสแรกของปี 2557 อย่างแน่นอน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1379494338
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 41
ค่ายรถปรับแผนเพิ่มผลิตเพื่อส่งออก 5 หมื่นคัน ชดเชยตลาดในประเทศชะลอตัว ดันยอดต่างประเทศ ส.ค.ทำลายสถิติรอบ 25 ปี
ตลาดรถยนต์ยังคงมียอดขายหดตัวลงเป็นเดือนที่ 4 ติดต่อกันในเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลกระทบหลังจากหมดโครงการรถคันแรก ส่งผลให้ค่ายรถตั้งปรับแผนธุรกิจใหม่ให้สอดคล้องสถานการณ์ ด้วยการเพิ่มสัดส่วนการส่งออกมากขึ้น
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า เดือน ส.ค.ที่ผ่านมา การส่งออกรถยนต์สร้างสถิติสูงสุดในรอบ 25 ปี ด้วยยอด 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 17% คิดเป็นมูลค่า 47,976 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12%
ส่วนการส่งออกเครื่องยนต์มีมูลค่า 2,125 ล้านบาท ลดลงจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 5% ชิ้นส่วนส่งออก 16,610 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 14% อะไหล่ 1,919.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8% รวมมูลค่าส่งออกสินค้ารถยนต์ 68,631 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12%
ส่วนการส่งออกสะสม ม.ค.-ส.ค.ทำได้ 720,141 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 12% มูลค่า 328,244 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7% เครื่องยนต์ 17,808 ล้านบาท ลดลง 9% ชิ้นส่วน 124,513 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 10% อะไหล่ 12,506 ล้านบาท ลดลง 6% รวม 483,073 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6%
การส่งออกที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดหลักขยายตัว ไม่ว่าจะเป็นออสเตรเลีย ยุโรป เอเชีย แอฟริกาใต้ หรือลาตินอเมริกา ยกเว้น ตะวันออกกลางที่ลดลงเล็กน้อย 8%
"ตลาดที่ขยายตัวโดดเด่นคือ ออสเตรเลีย ซึ่งสัดส่วนตลาดส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 22% ในปีที่แล้วเป็น 26% ขณะที่ยุโรป ก็ฟื้นจากวิกฤติ การส่งออกเฉลี่ยเพิ่มจาก 5,000 คัน/เดือน เป็น 6,000 คัน/เดือน"
ค่ายรถปรับแผนเพิ่มผลิตเพื่อส่งออก
ยอดส่งออกที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากปีที่แล้ว ค่ายรถเน้นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศเป็นหลัก จากการที่ตลาดขยายตัวอย่างมาก จากปัจจัยสนับสนุนทั้งกำลังซื้อที่อั้นจากเหตุน้ำท่วมปี 2554 และโครงการรถคันแรกของภาครัฐ ทำให้เกิดเหตุการณ์รอรถนานสูงสุด 7 เดือน
แต่เมื่อหมดโครงการรถคันแรก ค่ายรถประเมินว่าตลาดจะหดตัว 10% จึงได้ปรับแผนการผลิตช่วงกลางปีที่ผ่านมา จากเดิมผลิตเพื่อขายในประเทศ 55% ผลิตเพื่อส่งออก 45% ก็ปรับเป็น 50% เท่ากัน โดยผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศลดลงจาก 145,000 คัน เหลือ 140,000 คัน ผลิตเพื่อส่งออกจาก 110,000 คัน เป็น 115,000 คัน
ส่วนการส่งออกรถจักรยานยนต์ทั้งรถสำเร็จรูป และซีเคดี ส.ค. รวม 64,330 คัน เพิ่มขึ้นจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 4% มูลค่า 4,240 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 118% ชิ้นส่วน 521 ล้านบาท ลดลง 18% อะไหล่ 106 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 38% รวม 4,867 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 83%
การส่งออกม.ค.-ส.ค. 625,367 คัน เพิ่มขึ้น 13% มูลค่า 32,780 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 70% ชิ้นส่วน 4,765 ล้านบาท ลดลง 31% อะไหล่ 677 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 33% รวมมูลค่า 38,223.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 42%
และเมื่อรวมการส่งออกสินค้ารถยนต์และจักรยานยนต์ ม.ค.-ส.ค.มีมูลค่าทั้งสิ้น 521,296.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8%
ผลิตรถ 8 เดือนโต 16%
ด้านการผลิตเดือน ส.ค.ที่ผ่านมาทำได้ 193,074 คัน ลดลงจากส.ค.ปีที่แล้ว 9% และต่ำกว่าระดับ 2 แสนคันเป็นครั้งแรกในรอบ 15 เดือน ไม่นับ เม.ย. เนื่องจากมีวันหยุดมาก แต่การผลิตช่วงม.ค.-ส.ค. ยังเติบโต 16% ด้วยยอด 1,735,514 คัน
สำหรับการผลิต ส.ค.แบ่งเป็นรถยนต์นั่ง 82,188 คัน ลดลง 5% รวม ม.ค.-ส.ค.762,150 คัน เพิ่มขึ้น 41% รถยนต์โดยสาร ส.ค. 64 คัน ลดลง 5% รวม ม.ค.-ส.ค. 519 คัน เพิ่มขึ้น 61% รถยนต์บรรทุก ส.ค. 110,822 คัน ลดลง 12% รวม ม.ค.-ส.ค. 972,845 คัน เพิ่มขึ้น 2%
รถปิกอัพ 1 ตัน ส.ค.106,010 คัน ลดลง 14% รวม ม.ค.-ส.ค. 933,727 คัน เท่ากับ 53% ของยอดการผลิตรถทั้งหมด เพิ่มขึ้น 0.74% แบ่งเป็นรถปิกอัพบรรทุก 344,060 คัน เพิ่มขึ้น 9% ปิกอัพดับเบิลแค็บ 507,474 คัน ลดลง 1% และพีพีวี 82,193 คัน ลดลง 16%รถบรรทุก มีการผลิตในเดือน ส.ค. 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52% รวม ม.ค.-ส.ค. ผลิตได้ 39,118 คัน เพิ่มขึ้น 48%
ส่วนการผลิตรถจักรยานยนต์ ส.ค. 218,388 คัน ลดลง 17% รวม ม.ค.-ส.ค.ผลิต 1,975,203 คัน ลดลง 7%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดขายรถในประเทศเดือนส.ค.ทำได้ 100,289 คัน ลดลงจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 22% แต่สูงกว่าเดือน ก.ค.ปีเดียวกัน 2% ซึ่งเชื่อว่าขณะนี้ตลาดรถยนต์เริ่มปรับตัวกลับเข้าสู่ภาวะปกติ หลังจากหมดโครงการรถคันแรก รวม ม.ค.-ส.ค.มียอดขายรวม 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8%
ด้านรถจักรยานยนต์มียอดขาย 163,556 คัน ลดลง 8% จากส.ค.ปีทีแล้ว และลดลง 7% จาก ก.ค.ปีนี้ รวม ม.ค.-ส.ค. 1,438,391 คัน ลดลง 2%
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... ิ25ปี.html
ตลาดรถยนต์ยังคงมียอดขายหดตัวลงเป็นเดือนที่ 4 ติดต่อกันในเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลกระทบหลังจากหมดโครงการรถคันแรก ส่งผลให้ค่ายรถตั้งปรับแผนธุรกิจใหม่ให้สอดคล้องสถานการณ์ ด้วยการเพิ่มสัดส่วนการส่งออกมากขึ้น
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า เดือน ส.ค.ที่ผ่านมา การส่งออกรถยนต์สร้างสถิติสูงสุดในรอบ 25 ปี ด้วยยอด 103,065 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 17% คิดเป็นมูลค่า 47,976 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12%
ส่วนการส่งออกเครื่องยนต์มีมูลค่า 2,125 ล้านบาท ลดลงจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 5% ชิ้นส่วนส่งออก 16,610 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 14% อะไหล่ 1,919.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8% รวมมูลค่าส่งออกสินค้ารถยนต์ 68,631 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12%
ส่วนการส่งออกสะสม ม.ค.-ส.ค.ทำได้ 720,141 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 12% มูลค่า 328,244 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7% เครื่องยนต์ 17,808 ล้านบาท ลดลง 9% ชิ้นส่วน 124,513 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 10% อะไหล่ 12,506 ล้านบาท ลดลง 6% รวม 483,073 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6%
การส่งออกที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดหลักขยายตัว ไม่ว่าจะเป็นออสเตรเลีย ยุโรป เอเชีย แอฟริกาใต้ หรือลาตินอเมริกา ยกเว้น ตะวันออกกลางที่ลดลงเล็กน้อย 8%
"ตลาดที่ขยายตัวโดดเด่นคือ ออสเตรเลีย ซึ่งสัดส่วนตลาดส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 22% ในปีที่แล้วเป็น 26% ขณะที่ยุโรป ก็ฟื้นจากวิกฤติ การส่งออกเฉลี่ยเพิ่มจาก 5,000 คัน/เดือน เป็น 6,000 คัน/เดือน"
ค่ายรถปรับแผนเพิ่มผลิตเพื่อส่งออก
ยอดส่งออกที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากปีที่แล้ว ค่ายรถเน้นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศเป็นหลัก จากการที่ตลาดขยายตัวอย่างมาก จากปัจจัยสนับสนุนทั้งกำลังซื้อที่อั้นจากเหตุน้ำท่วมปี 2554 และโครงการรถคันแรกของภาครัฐ ทำให้เกิดเหตุการณ์รอรถนานสูงสุด 7 เดือน
แต่เมื่อหมดโครงการรถคันแรก ค่ายรถประเมินว่าตลาดจะหดตัว 10% จึงได้ปรับแผนการผลิตช่วงกลางปีที่ผ่านมา จากเดิมผลิตเพื่อขายในประเทศ 55% ผลิตเพื่อส่งออก 45% ก็ปรับเป็น 50% เท่ากัน โดยผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศลดลงจาก 145,000 คัน เหลือ 140,000 คัน ผลิตเพื่อส่งออกจาก 110,000 คัน เป็น 115,000 คัน
ส่วนการส่งออกรถจักรยานยนต์ทั้งรถสำเร็จรูป และซีเคดี ส.ค. รวม 64,330 คัน เพิ่มขึ้นจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 4% มูลค่า 4,240 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 118% ชิ้นส่วน 521 ล้านบาท ลดลง 18% อะไหล่ 106 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 38% รวม 4,867 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 83%
การส่งออกม.ค.-ส.ค. 625,367 คัน เพิ่มขึ้น 13% มูลค่า 32,780 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 70% ชิ้นส่วน 4,765 ล้านบาท ลดลง 31% อะไหล่ 677 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 33% รวมมูลค่า 38,223.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 42%
และเมื่อรวมการส่งออกสินค้ารถยนต์และจักรยานยนต์ ม.ค.-ส.ค.มีมูลค่าทั้งสิ้น 521,296.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8%
ผลิตรถ 8 เดือนโต 16%
ด้านการผลิตเดือน ส.ค.ที่ผ่านมาทำได้ 193,074 คัน ลดลงจากส.ค.ปีที่แล้ว 9% และต่ำกว่าระดับ 2 แสนคันเป็นครั้งแรกในรอบ 15 เดือน ไม่นับ เม.ย. เนื่องจากมีวันหยุดมาก แต่การผลิตช่วงม.ค.-ส.ค. ยังเติบโต 16% ด้วยยอด 1,735,514 คัน
สำหรับการผลิต ส.ค.แบ่งเป็นรถยนต์นั่ง 82,188 คัน ลดลง 5% รวม ม.ค.-ส.ค.762,150 คัน เพิ่มขึ้น 41% รถยนต์โดยสาร ส.ค. 64 คัน ลดลง 5% รวม ม.ค.-ส.ค. 519 คัน เพิ่มขึ้น 61% รถยนต์บรรทุก ส.ค. 110,822 คัน ลดลง 12% รวม ม.ค.-ส.ค. 972,845 คัน เพิ่มขึ้น 2%
รถปิกอัพ 1 ตัน ส.ค.106,010 คัน ลดลง 14% รวม ม.ค.-ส.ค. 933,727 คัน เท่ากับ 53% ของยอดการผลิตรถทั้งหมด เพิ่มขึ้น 0.74% แบ่งเป็นรถปิกอัพบรรทุก 344,060 คัน เพิ่มขึ้น 9% ปิกอัพดับเบิลแค็บ 507,474 คัน ลดลง 1% และพีพีวี 82,193 คัน ลดลง 16%รถบรรทุก มีการผลิตในเดือน ส.ค. 4,812 คัน เพิ่มขึ้น 52% รวม ม.ค.-ส.ค. ผลิตได้ 39,118 คัน เพิ่มขึ้น 48%
ส่วนการผลิตรถจักรยานยนต์ ส.ค. 218,388 คัน ลดลง 17% รวม ม.ค.-ส.ค.ผลิต 1,975,203 คัน ลดลง 7%
นายสุรพงษ์กล่าวว่า สำหรับยอดขายรถในประเทศเดือนส.ค.ทำได้ 100,289 คัน ลดลงจาก ส.ค.ปีที่แล้ว 22% แต่สูงกว่าเดือน ก.ค.ปีเดียวกัน 2% ซึ่งเชื่อว่าขณะนี้ตลาดรถยนต์เริ่มปรับตัวกลับเข้าสู่ภาวะปกติ หลังจากหมดโครงการรถคันแรก รวม ม.ค.-ส.ค.มียอดขายรวม 939,342 คัน เพิ่มขึ้น 8%
ด้านรถจักรยานยนต์มียอดขาย 163,556 คัน ลดลง 8% จากส.ค.ปีทีแล้ว และลดลง 7% จาก ก.ค.ปีนี้ รวม ม.ค.-ส.ค. 1,438,391 คัน ลดลง 2%
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... ิ25ปี.html
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 957
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 42
รถคันแรกพ่นพิษ ตลาดรถหมีจำศีล
ปรากฏการณ์ตลาดรถยนต์ทั่วเมืองไทย ชั่วโมงนี้ล้นสต๊อก ทั้งรถใหม่หรือใช้แล้วยอดขายอืดสนิท หลายคนชี้นิ้วโทษไปที่ควันหลงจากโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรกของรัฐบาล
อะไร คือ ปัญหาสาเหตุที่แท้จริง และการขอคืนภาษีสรรพสามิตจากโครงการรถยนต์คันแรกของรัฐบาล ไปเกี่ยวข้องกับภาวะ “หมีจำศีล” ที่เกิดขึ้นกับตลาดรถยามนี้ได้อย่างไร เป็นประเด็นที่น่าติดตาม
เด่น นิลพัฒน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามนิสสัน บางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งมีประสบการณ์ในธุรกิจทั้งขายรถใหม่ป้ายแดง และรถใช้แล้ว (ยูสด์คาร์) มานานกว่า 30 ปี บอกว่า นับจากสิ้นสุดโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรกของรัฐบาล จนถึงเวลานี้ สภาพโดยรวมที่เกิดขึ้น น่าจะใช้คำว่า “ทุกขลาภ”
เขาอธิบายว่า รถยนต์ที่จะเข้าร่วมในโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก มีเงื่อนไขว่า จะต้องมีราคาขายปลีกไม่เกินคันละ 1,000,000 บาท เป็นรถยนต์ขนาดความจุกระบอกสูบไม่เกิน 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นรถที่ผลิตขึ้นภายในประเทศ ไม่รวมรถยนต์ที่ประกอบจากชิ้นส่วนนำเข้าใช้แล้วจากต่างประเทศ (รถยนต์จดประกอบ)
การขอคืนเงิน จะได้รับเงินคืนเท่ากับภาษีตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน คันละ 100,000 บาท นอกจากนี้ผู้ซื้อต้องมีอายุ 21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ต้องครอบครองรถยนต์ไม่น้อยกว่า 5 ปี และการคืนเงินจะคืนให้ต่อเมื่อ ครอบครองรถยนต์ไปแล้ว 1 ปี (เริ่มจ่ายคืนให้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555)
เด่น บอกว่า โครงการนี้ เป็นทุกขลาภ ตรงที่ปีที่แล้วซึ่งยังอยู่ในระยะเวลาของโครงการฯ ได้ทำให้ยอดขายรถยนต์แทบทุกยี่ห้อในตลาดรถเมืองไทย ขายดีแทบถล่มทลาย โดยเฉพาะรถรุ่นประหยัด หรืออีโค คาร์
ไม่ว่าจะเป็นยอดขาย รถยนต์โตโยต้า รุ่น วีออส, ฮอนด้า ซิตี้, นิสสัน อัลมีรา, มาสด้า 2, นิสสัน มาร์ช, ฟอร์ด Fiesta, ฮอนด้า แจ๊ซ, มิตซูบิชิ มิราจ, โตโยต้า ยาริส และ ฮอนด้า บริโอ ทั้ง 10 รุ่นและยี่ห้อที่กล่าวมา ล้วนเป็น 10 อันดับรถยนต์ขายดีในโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก
แต่เขาว่า อย่าลืม...บริษัทแม่แต่ละค่าย ที่ผลิตรถยนต์ออกมาขาย ไม่ได้มีขายสินค้าเฉพาะรถอีโค คาร์ ที่สามารถเข้าร่วมกับโครงการรถยนต์คันแรกเท่านั้น ยังมีภาระต้องระบายสต๊อกรถรุ่นอื่นๆอีก
“มันก็คล้ายกับกรณี ซื้อเหล้าพ่วงเบียร์นั่นแหละ คือ ทุกค่ายรถไม่ได้ทำตลาดแค่ อีโค คาร์ ยังมีรถรุ่นอื่นที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการคืนภาษีรถคันแรกให้ระบายสต๊อก จึงต้องหาทางผลักดันรถที่ค้างสต๊อกให้พลอยขายได้ไปด้วย ทุกค่ายจึงอัดแคมเปญกันมโหฬาร เพื่อจูงใจให้คนหันมาซื้อ สุดท้ายก็เจ็บระนาวกันเป็นลูกโซ่”
กล่าวคือ เมื่อรถใหม่ป้ายแดง ที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการขอคืนภาษีรถคันแรก ถูกดัมพ์ราคาลง เพื่อล่อใจคนซื้อ เมื่อรถเหล่านั้นถูกขายต่อไปเป็นรถเก่าใช้แล้ว ก็ยิ่งมีราคาต่ำลงไปอีก ในตลาดรถมือสอง
ยกตัวอย่าง ผลพวงจากโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้ นิสสัน รุ่น เทียน่า ในตลาดรถใช้แล้วล่าสุด มีการดัมพ์ราคาลงคันละ 200,000 บาท โตโยต้า คัมรี่ ตัวเก่าก่อนเปลี่ยนโฉม ลดราคาลงถึงคันละ 350,000 บาท หรือจะเป็นฮอนด้า แอคคอร์ด ตัวเก่า ราคาในตลาดรถมือสอง ร่วงลงมาถึงคันละ 300,000 บาท
แม้แต่รถเล็กอย่าง โตโยต้า วีออส ตัวเก่า ช่วงที่เป็นรถป้ายแดงราคาคันละ 6 แสนกว่าบาท เมื่อถูกขายต่อไปเป็นรถมือสอง ชั่วโมงนี้ถูกดัมพ์ราคาลงถึงคันละ 150,000 บาท หรือราคาหายไปเกือบ 25%
ส่วนรถตามโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรก ที่ลูกค้าส่วนหนึ่งซื้อไปแล้วผ่อนส่งค่างวดไม่ไหว เด่น บอกว่า หากไปยึดมา ก็ไม่สามารถโอนสิทธิ์กันได้ เพราะติดเงื่อนไขห้ามโอนภายในระยะเวลา 5 ปี
ในทางปฏิบัติ ว่ากันว่า บางกรณีแบงก์ หรือผู้ให้สินเชื่อ ใช้วิธีฟ้องผู้เช่าซื้อให้ผ่อนชำระแทนการยึดรถ เพราะหากใช้วิธีไปยึดมา ภาระจะตกหนักอยู่กับผู้ยึด เนื่องจากไม่สามารถนำไปโอนต่อได้ หรือบางรายใช้วิธีไปขอเจรจา ยอมจ่ายภาษีคืนให้แก่กรมสรรพสามิต เพื่อให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์รถได้ก่อนครบกำหนดเงื่อนไข 5 ปี
เด่น บอกว่า รวมความแล้ว สารพัดผลพวงที่เกิดขึ้น และโยงใยกันเป็น ห่วงโซ่ ส่งผลมาถึงปีนี้ จะเห็นว่าตามโชว์รูม ตัวแทนจำหน่าย หรือดีลเลอร์ขายรถยนต์ใหม่ มีแต่รถจอดนิ่งสนิทกันเป็นแถว แม้แต่โรงงานผลิตรถยนต์ของบริษัทแม่แต่ละค่ายรถเอง ก็ต้องหันมาลดเป้าการผลิตของตัวเองลง
“เวลานี้ค่ายรถส่วนใหญ่ มีรถยนต์นั่งส่วนบุคคล หรือซีดาน และรถรุ่นประหยัด หรืออีโค คาร์ เป็นตัวหล่อลื่นยอดขายเป็นหลัก ทางรอดอยู่ที่นอกจากทุกค่ายต้องพยายามออกสินค้าตัวใหม่มายั่วยวนลูกค้า ยังต้องรอดูสถานการณ์ลากยาวไปจนถึงสิ้นปีนี้อีกทีว่า ทิศทางเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร”
ด้าน พิชิต หาญวิริยะกุล เจ้าของเต็นท์รถ พี.พี.พี. ออโต ศูนย์รวมรถยนต์ออโต คาร์ซ่า ย่าน กม.7 รามอินทรา เป็นอีกรายที่เปิดใจสารภาพ
เขาว่า ตั้งแต่ทำธุรกิจรถยนต์ใช้แล้ว (ยูสด์คาร์) มานานนับสิบปี ยอมรับว่า วิกฤติตลาดรถยนต์ใช้แล้วในเมืองไทยรอบนี้ ถือว่าหนักสุด
พิชิตเล่าว่า ปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากรถยนต์ใหม่ตามโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรถขนาดเล็ก ซึ่งได้รับการลดภาษีลงคันละ 1 แสนบาท มีส่วนทำให้ตลาดรถใช้แล้ว ซึ่งเงียบอยู่แล้วก่อนหน้า ยิ่งเงียบหนักขึ้นไปอีก เมื่อโครงการฯนี้เกิดขึ้น
ประการถัดมา แต่ละโชว์รูมที่ขายรถยนต์ใหม่ทุกยี่ห้อ พยายามทำสงครามราคา แข่งกันขาย ด้วยการลดกระหน่ำ เพื่อให้ลูกค้าหันไปซื้อรถรุ่นอื่นๆ ที่ไม่ใช่อีโค คาร์ หรือรุ่นที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรกได้ เพื่อหวังจะระบายสต๊อก
กรณีที่สาม เกิดจากการที่บรรดาไฟแนนซ์ พากันลดยอดการจัด หรือปล่อยสินเชื่อซื้อรถลง เพราะก่อนหน้านี้หลายไฟแนนซ์ประสบปัญหาขาดทุน ทำให้เวลานี้ดอกเบี้ยรถเก่า พลอยพุ่งสูงขึ้นตาม
พิชิตบอกว่า ยิ่งปัจจุบันลูกค้าที่ซื้อรถยนต์ใช้แล้วส่วนใหญ่ หรือประมาณ 50% ล้วนแต่มีประวัติติดแบล็กลิสต์หรือบัญชีดำหนี้เสียแทบทั้งสิ้น ทำให้ข้อมูลประวัติไปปรากฏกับทางเครดิต บูโร ลูกค้าหลายราย จึงไม่สามารถจัดไฟแนนซ์ได้
“การที่ไฟแนนซ์ซึ่งปล่อยสินเชื่อซื้อรถ เข้มงวดกับลูกค้ามากขึ้น คิดดอกเบี้ยในอัตราที่แพงขึ้น และปรับลดยอดการจัดไฟแนนซ์ต่ำลง เช่น เมื่อก่อนรถรุ่นนี้ สภาพนี้ เคยให้ยอดจัดไฟแนนซ์ถึงคันละ 7 แสนบาท แต่เดี๋ยวนี้ตัดลดยอดลงมาเหลือให้แค่คันละไม่ถึง 5 แสนบาท ทำให้ลูกค้าตลาดรถเก่า ต้องใช้เงินดาวน์สูงขึ้น โอกาสที่เต็นท์รถมือสองจะขายรถเก่าได้ ก็พลอยยากขึ้นตาม”
“เราต้องแก้ทางด้วย ถ้าจะซื้อรถใช้แล้วเข้ามาขายในเต็นท์ ชั่วโมงนี้ ต้องซื้อเข้ามาในราคาที่ต่ำตามสภาวะตลาด อย่างเช่น รถยนต์มิตซูบิชิ รุ่น สเปซ วากอน ขนาด 2,400 ซีซี จดทะเบียนปี 2005 ช่วงต้นปีนี้ ยังซื้อเข้าได้ในราคาคันละ 6 แสนบาท แต่ชั่วโมงนี้รับซื้อเข้าเต็มที่ได้แค่คันละ ไม่ถึง 5 แสนบาท เป็นต้น”
“ไม่มีใครกล้าซื้อเข้าแพง เพราะรถเก่าก็ยอดขายอืด ที่อยู่ได้ก็เพราะอาศัยเน้นขายรถดี รถสวย ตั้งราคาถูกๆ เอากำไรน้อยหน่อย แค่คันละ 2-3 หมื่นบาทพอ แต่เน้นระบายสินค้าออกให้เร็ว”
พิชิตบอกว่า นอกจากต้องอาศัยทางรอดด้วยวิธีการดังกล่าว ทางเจ้าของพื้นที่ให้เช่าตั้งเต็นท์ (ตลาดรถออโต คาร์ซ่า) ยังต้องออกมาตรการเยียวยามาช่วย ให้เลือกอย่างหนึ่งอย่างใดใน 3 อย่าง
“อย่างแรก เจ้าของพื้นที่เช่าให้เลือกว่า อยากได้ พริตตี้ หรือโคโยตี้ มาเต้นโชว์เพื่อหวังดึงดูดให้ลูกค้ามาซื้อรถหรือไม่ อย่างที่สอง ไม่คิดค่าน้ำ ค่าไฟ ซึ่งเต็นท์รถส่วนใหญ่ต้องจ่ายเฉลี่ยเดือนละประมาณ 10,000 บาท หรือกรณีที่สาม ให้เลือกว่า อยากลงโฆษณาทางอินเตอร์เน็ต หรือในหนังสือคู่มือซื้อ-ขายรถมือสองฟรีมั้ย”
“ได้ข้อสรุปว่า พวกเราส่วนใหญ่ เลือกเอามาตรการเยียวยาที่ 2 คือ ไม่คิดค่าน้ำ ค่าไฟ เพราะมันช่วยลดค่าใช้จ่ายได้เห็นๆ ส่วนอีก 2 ข้อ ที่ให้เลือก ไม่มีใครแน่ใจว่า จะใช้ได้ผลหรือไม่ ท้ายสุดทุกเต็นท์รถต่างภาวนา รอจนถึงสิ้นปี หวังว่าสถานการณ์น่าจะดีขึ้น” พิชิต ทิ้งท้าย.
โดย: ไทยรัฐฉบับพิมพ์
21 กันยายน 2556, 05:00 น.
http://m.thairath.co.th/content/pol/370950
ปรากฏการณ์ตลาดรถยนต์ทั่วเมืองไทย ชั่วโมงนี้ล้นสต๊อก ทั้งรถใหม่หรือใช้แล้วยอดขายอืดสนิท หลายคนชี้นิ้วโทษไปที่ควันหลงจากโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรกของรัฐบาล
อะไร คือ ปัญหาสาเหตุที่แท้จริง และการขอคืนภาษีสรรพสามิตจากโครงการรถยนต์คันแรกของรัฐบาล ไปเกี่ยวข้องกับภาวะ “หมีจำศีล” ที่เกิดขึ้นกับตลาดรถยามนี้ได้อย่างไร เป็นประเด็นที่น่าติดตาม
เด่น นิลพัฒน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามนิสสัน บางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งมีประสบการณ์ในธุรกิจทั้งขายรถใหม่ป้ายแดง และรถใช้แล้ว (ยูสด์คาร์) มานานกว่า 30 ปี บอกว่า นับจากสิ้นสุดโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรกของรัฐบาล จนถึงเวลานี้ สภาพโดยรวมที่เกิดขึ้น น่าจะใช้คำว่า “ทุกขลาภ”
เขาอธิบายว่า รถยนต์ที่จะเข้าร่วมในโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก มีเงื่อนไขว่า จะต้องมีราคาขายปลีกไม่เกินคันละ 1,000,000 บาท เป็นรถยนต์ขนาดความจุกระบอกสูบไม่เกิน 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นรถที่ผลิตขึ้นภายในประเทศ ไม่รวมรถยนต์ที่ประกอบจากชิ้นส่วนนำเข้าใช้แล้วจากต่างประเทศ (รถยนต์จดประกอบ)
การขอคืนเงิน จะได้รับเงินคืนเท่ากับภาษีตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน คันละ 100,000 บาท นอกจากนี้ผู้ซื้อต้องมีอายุ 21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ต้องครอบครองรถยนต์ไม่น้อยกว่า 5 ปี และการคืนเงินจะคืนให้ต่อเมื่อ ครอบครองรถยนต์ไปแล้ว 1 ปี (เริ่มจ่ายคืนให้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555)
เด่น บอกว่า โครงการนี้ เป็นทุกขลาภ ตรงที่ปีที่แล้วซึ่งยังอยู่ในระยะเวลาของโครงการฯ ได้ทำให้ยอดขายรถยนต์แทบทุกยี่ห้อในตลาดรถเมืองไทย ขายดีแทบถล่มทลาย โดยเฉพาะรถรุ่นประหยัด หรืออีโค คาร์
ไม่ว่าจะเป็นยอดขาย รถยนต์โตโยต้า รุ่น วีออส, ฮอนด้า ซิตี้, นิสสัน อัลมีรา, มาสด้า 2, นิสสัน มาร์ช, ฟอร์ด Fiesta, ฮอนด้า แจ๊ซ, มิตซูบิชิ มิราจ, โตโยต้า ยาริส และ ฮอนด้า บริโอ ทั้ง 10 รุ่นและยี่ห้อที่กล่าวมา ล้วนเป็น 10 อันดับรถยนต์ขายดีในโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก
แต่เขาว่า อย่าลืม...บริษัทแม่แต่ละค่าย ที่ผลิตรถยนต์ออกมาขาย ไม่ได้มีขายสินค้าเฉพาะรถอีโค คาร์ ที่สามารถเข้าร่วมกับโครงการรถยนต์คันแรกเท่านั้น ยังมีภาระต้องระบายสต๊อกรถรุ่นอื่นๆอีก
“มันก็คล้ายกับกรณี ซื้อเหล้าพ่วงเบียร์นั่นแหละ คือ ทุกค่ายรถไม่ได้ทำตลาดแค่ อีโค คาร์ ยังมีรถรุ่นอื่นที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการคืนภาษีรถคันแรกให้ระบายสต๊อก จึงต้องหาทางผลักดันรถที่ค้างสต๊อกให้พลอยขายได้ไปด้วย ทุกค่ายจึงอัดแคมเปญกันมโหฬาร เพื่อจูงใจให้คนหันมาซื้อ สุดท้ายก็เจ็บระนาวกันเป็นลูกโซ่”
กล่าวคือ เมื่อรถใหม่ป้ายแดง ที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการขอคืนภาษีรถคันแรก ถูกดัมพ์ราคาลง เพื่อล่อใจคนซื้อ เมื่อรถเหล่านั้นถูกขายต่อไปเป็นรถเก่าใช้แล้ว ก็ยิ่งมีราคาต่ำลงไปอีก ในตลาดรถมือสอง
ยกตัวอย่าง ผลพวงจากโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้ นิสสัน รุ่น เทียน่า ในตลาดรถใช้แล้วล่าสุด มีการดัมพ์ราคาลงคันละ 200,000 บาท โตโยต้า คัมรี่ ตัวเก่าก่อนเปลี่ยนโฉม ลดราคาลงถึงคันละ 350,000 บาท หรือจะเป็นฮอนด้า แอคคอร์ด ตัวเก่า ราคาในตลาดรถมือสอง ร่วงลงมาถึงคันละ 300,000 บาท
แม้แต่รถเล็กอย่าง โตโยต้า วีออส ตัวเก่า ช่วงที่เป็นรถป้ายแดงราคาคันละ 6 แสนกว่าบาท เมื่อถูกขายต่อไปเป็นรถมือสอง ชั่วโมงนี้ถูกดัมพ์ราคาลงถึงคันละ 150,000 บาท หรือราคาหายไปเกือบ 25%
ส่วนรถตามโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรก ที่ลูกค้าส่วนหนึ่งซื้อไปแล้วผ่อนส่งค่างวดไม่ไหว เด่น บอกว่า หากไปยึดมา ก็ไม่สามารถโอนสิทธิ์กันได้ เพราะติดเงื่อนไขห้ามโอนภายในระยะเวลา 5 ปี
ในทางปฏิบัติ ว่ากันว่า บางกรณีแบงก์ หรือผู้ให้สินเชื่อ ใช้วิธีฟ้องผู้เช่าซื้อให้ผ่อนชำระแทนการยึดรถ เพราะหากใช้วิธีไปยึดมา ภาระจะตกหนักอยู่กับผู้ยึด เนื่องจากไม่สามารถนำไปโอนต่อได้ หรือบางรายใช้วิธีไปขอเจรจา ยอมจ่ายภาษีคืนให้แก่กรมสรรพสามิต เพื่อให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์รถได้ก่อนครบกำหนดเงื่อนไข 5 ปี
เด่น บอกว่า รวมความแล้ว สารพัดผลพวงที่เกิดขึ้น และโยงใยกันเป็น ห่วงโซ่ ส่งผลมาถึงปีนี้ จะเห็นว่าตามโชว์รูม ตัวแทนจำหน่าย หรือดีลเลอร์ขายรถยนต์ใหม่ มีแต่รถจอดนิ่งสนิทกันเป็นแถว แม้แต่โรงงานผลิตรถยนต์ของบริษัทแม่แต่ละค่ายรถเอง ก็ต้องหันมาลดเป้าการผลิตของตัวเองลง
“เวลานี้ค่ายรถส่วนใหญ่ มีรถยนต์นั่งส่วนบุคคล หรือซีดาน และรถรุ่นประหยัด หรืออีโค คาร์ เป็นตัวหล่อลื่นยอดขายเป็นหลัก ทางรอดอยู่ที่นอกจากทุกค่ายต้องพยายามออกสินค้าตัวใหม่มายั่วยวนลูกค้า ยังต้องรอดูสถานการณ์ลากยาวไปจนถึงสิ้นปีนี้อีกทีว่า ทิศทางเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร”
ด้าน พิชิต หาญวิริยะกุล เจ้าของเต็นท์รถ พี.พี.พี. ออโต ศูนย์รวมรถยนต์ออโต คาร์ซ่า ย่าน กม.7 รามอินทรา เป็นอีกรายที่เปิดใจสารภาพ
เขาว่า ตั้งแต่ทำธุรกิจรถยนต์ใช้แล้ว (ยูสด์คาร์) มานานนับสิบปี ยอมรับว่า วิกฤติตลาดรถยนต์ใช้แล้วในเมืองไทยรอบนี้ ถือว่าหนักสุด
พิชิตเล่าว่า ปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากรถยนต์ใหม่ตามโครงการขอคืนภาษีรถยนต์คันแรก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรถขนาดเล็ก ซึ่งได้รับการลดภาษีลงคันละ 1 แสนบาท มีส่วนทำให้ตลาดรถใช้แล้ว ซึ่งเงียบอยู่แล้วก่อนหน้า ยิ่งเงียบหนักขึ้นไปอีก เมื่อโครงการฯนี้เกิดขึ้น
ประการถัดมา แต่ละโชว์รูมที่ขายรถยนต์ใหม่ทุกยี่ห้อ พยายามทำสงครามราคา แข่งกันขาย ด้วยการลดกระหน่ำ เพื่อให้ลูกค้าหันไปซื้อรถรุ่นอื่นๆ ที่ไม่ใช่อีโค คาร์ หรือรุ่นที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับโครงการคืนภาษีรถยนต์คันแรกได้ เพื่อหวังจะระบายสต๊อก
กรณีที่สาม เกิดจากการที่บรรดาไฟแนนซ์ พากันลดยอดการจัด หรือปล่อยสินเชื่อซื้อรถลง เพราะก่อนหน้านี้หลายไฟแนนซ์ประสบปัญหาขาดทุน ทำให้เวลานี้ดอกเบี้ยรถเก่า พลอยพุ่งสูงขึ้นตาม
พิชิตบอกว่า ยิ่งปัจจุบันลูกค้าที่ซื้อรถยนต์ใช้แล้วส่วนใหญ่ หรือประมาณ 50% ล้วนแต่มีประวัติติดแบล็กลิสต์หรือบัญชีดำหนี้เสียแทบทั้งสิ้น ทำให้ข้อมูลประวัติไปปรากฏกับทางเครดิต บูโร ลูกค้าหลายราย จึงไม่สามารถจัดไฟแนนซ์ได้
“การที่ไฟแนนซ์ซึ่งปล่อยสินเชื่อซื้อรถ เข้มงวดกับลูกค้ามากขึ้น คิดดอกเบี้ยในอัตราที่แพงขึ้น และปรับลดยอดการจัดไฟแนนซ์ต่ำลง เช่น เมื่อก่อนรถรุ่นนี้ สภาพนี้ เคยให้ยอดจัดไฟแนนซ์ถึงคันละ 7 แสนบาท แต่เดี๋ยวนี้ตัดลดยอดลงมาเหลือให้แค่คันละไม่ถึง 5 แสนบาท ทำให้ลูกค้าตลาดรถเก่า ต้องใช้เงินดาวน์สูงขึ้น โอกาสที่เต็นท์รถมือสองจะขายรถเก่าได้ ก็พลอยยากขึ้นตาม”
“เราต้องแก้ทางด้วย ถ้าจะซื้อรถใช้แล้วเข้ามาขายในเต็นท์ ชั่วโมงนี้ ต้องซื้อเข้ามาในราคาที่ต่ำตามสภาวะตลาด อย่างเช่น รถยนต์มิตซูบิชิ รุ่น สเปซ วากอน ขนาด 2,400 ซีซี จดทะเบียนปี 2005 ช่วงต้นปีนี้ ยังซื้อเข้าได้ในราคาคันละ 6 แสนบาท แต่ชั่วโมงนี้รับซื้อเข้าเต็มที่ได้แค่คันละ ไม่ถึง 5 แสนบาท เป็นต้น”
“ไม่มีใครกล้าซื้อเข้าแพง เพราะรถเก่าก็ยอดขายอืด ที่อยู่ได้ก็เพราะอาศัยเน้นขายรถดี รถสวย ตั้งราคาถูกๆ เอากำไรน้อยหน่อย แค่คันละ 2-3 หมื่นบาทพอ แต่เน้นระบายสินค้าออกให้เร็ว”
พิชิตบอกว่า นอกจากต้องอาศัยทางรอดด้วยวิธีการดังกล่าว ทางเจ้าของพื้นที่ให้เช่าตั้งเต็นท์ (ตลาดรถออโต คาร์ซ่า) ยังต้องออกมาตรการเยียวยามาช่วย ให้เลือกอย่างหนึ่งอย่างใดใน 3 อย่าง
“อย่างแรก เจ้าของพื้นที่เช่าให้เลือกว่า อยากได้ พริตตี้ หรือโคโยตี้ มาเต้นโชว์เพื่อหวังดึงดูดให้ลูกค้ามาซื้อรถหรือไม่ อย่างที่สอง ไม่คิดค่าน้ำ ค่าไฟ ซึ่งเต็นท์รถส่วนใหญ่ต้องจ่ายเฉลี่ยเดือนละประมาณ 10,000 บาท หรือกรณีที่สาม ให้เลือกว่า อยากลงโฆษณาทางอินเตอร์เน็ต หรือในหนังสือคู่มือซื้อ-ขายรถมือสองฟรีมั้ย”
“ได้ข้อสรุปว่า พวกเราส่วนใหญ่ เลือกเอามาตรการเยียวยาที่ 2 คือ ไม่คิดค่าน้ำ ค่าไฟ เพราะมันช่วยลดค่าใช้จ่ายได้เห็นๆ ส่วนอีก 2 ข้อ ที่ให้เลือก ไม่มีใครแน่ใจว่า จะใช้ได้ผลหรือไม่ ท้ายสุดทุกเต็นท์รถต่างภาวนา รอจนถึงสิ้นปี หวังว่าสถานการณ์น่าจะดีขึ้น” พิชิต ทิ้งท้าย.
โดย: ไทยรัฐฉบับพิมพ์
21 กันยายน 2556, 05:00 น.
http://m.thairath.co.th/content/pol/370950
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 43
รถคันแรกพ่นพิษ! ผลวิจัยโกลบอล ออโตโมทีพ พบลูกค้ากว่า 10% ผิดนัดชำระหนี้ อัดยับบิดเบือนตลาด
งานวิจัยของไอเอชเอส โกลบอล ออโตโมทีฟ ระบุว่า 10% ของคนไทย 1.2 ล้านคนที่เข้าโครงการรถคันแรก เปลี่ยนใจหรือไม่สามารถผ่อนชำระได้ ผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งครองตลาดรถยนต์ไทย 80% มียอดขายโดยเฉลี่ยในไตรมาสสองของปีนี้ ลดลง 30%
มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ผู้ส่งออกรถยนต์รายใหญ่สุด ซึ่งมีโรงงานสามแห่งในไทย มียอดขายในไทยลดลง 24% ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน เมื่อเทียบกับปีก่อน เหลือประมาณ 20,800 คัน และคาดว่าจะตกต่อเนื่องไปอีก จนมิตซูบิชิต้องเริ่มโครงการส่งเสริมการขายทั่วประเทศ ทั้งจับรางวัลและผ่อนรถปลอดดอกเบี้ย 48 เดือน
เช่นเดียวกับค่ายรถยนต์จากสหรัฐ จากเจนเนอรัล มอเตอร์ส คอร์ป ที่ระบุว่า ช่วง 3 เดือนล่าสุด สภาพตลาดไม่ค่อยดีนัก ซึ่งบริษัทต้องทำงานร่วมกับดีลเลอร์อย่างใกล้ชิด เพื่อออกรถยนต์รุ่นใหม่ๆ และหาทางดึงความสนใจจากลูกค้า
การยกเว้นภาษีตามโครงการรถคันแรกตั้งใจจะฟื้นฟูอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์จากอุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 คล้ายคลึงอย่างมากกับโครงการ "ส่วนลดเงินสดสำหรับรถเก่าไปซื้อรถใหม่" ในปี 2552 ที่โครงการจูงใจได้บิดเบือนตลาด โดยการสร้างความต้องการอย่างรวดเร็ว แต่ต้องล้มเหลวเมื่อโครงการสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2555
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... ะหนี้.html
งานวิจัยของไอเอชเอส โกลบอล ออโตโมทีฟ ระบุว่า 10% ของคนไทย 1.2 ล้านคนที่เข้าโครงการรถคันแรก เปลี่ยนใจหรือไม่สามารถผ่อนชำระได้ ผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งครองตลาดรถยนต์ไทย 80% มียอดขายโดยเฉลี่ยในไตรมาสสองของปีนี้ ลดลง 30%
มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ผู้ส่งออกรถยนต์รายใหญ่สุด ซึ่งมีโรงงานสามแห่งในไทย มียอดขายในไทยลดลง 24% ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน เมื่อเทียบกับปีก่อน เหลือประมาณ 20,800 คัน และคาดว่าจะตกต่อเนื่องไปอีก จนมิตซูบิชิต้องเริ่มโครงการส่งเสริมการขายทั่วประเทศ ทั้งจับรางวัลและผ่อนรถปลอดดอกเบี้ย 48 เดือน
เช่นเดียวกับค่ายรถยนต์จากสหรัฐ จากเจนเนอรัล มอเตอร์ส คอร์ป ที่ระบุว่า ช่วง 3 เดือนล่าสุด สภาพตลาดไม่ค่อยดีนัก ซึ่งบริษัทต้องทำงานร่วมกับดีลเลอร์อย่างใกล้ชิด เพื่อออกรถยนต์รุ่นใหม่ๆ และหาทางดึงความสนใจจากลูกค้า
การยกเว้นภาษีตามโครงการรถคันแรกตั้งใจจะฟื้นฟูอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์จากอุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 คล้ายคลึงอย่างมากกับโครงการ "ส่วนลดเงินสดสำหรับรถเก่าไปซื้อรถใหม่" ในปี 2552 ที่โครงการจูงใจได้บิดเบือนตลาด โดยการสร้างความต้องการอย่างรวดเร็ว แต่ต้องล้มเหลวเมื่อโครงการสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2555
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... ะหนี้.html
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 44
"โตโยต้า" พลิกเกมสู้ตลาดฝืด ผนึกรถมือสองชัวร์เดินหน้าเจาะลูกค้าเก่า อัดฉีดโปรแกรม "เก่าแลกใหม่" ได้เม็ดเงินเพิ่ม 3 หมื่น พร้อมจัดตารางสินเชื่อการเงินให้อัตราการผ่อนชำระใกล้เคียงของเดิม มั่นใจระบายสต๊อกได้อื้อ
แหล่งข่าวตัวแทนจำหน่ายรถยนต์โตโยต้ารายใหญ่ในเขตพื้นที่ กทม. เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ภาวะการขายช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาถือว่าตกต่ำมาก โดยเฉพาะรถธงตัวใหม่รุ่นวีออส แม้ดีลเลอร์จะพยายามออกแรงกันอย่างหนักแล้วก็ตาม สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือสัดส่วนลูกค้าใหม่น้อยลงมาก ดังนั้นทางทีมการตลาดโตโยต้าจึงต้องปรับกลยุทธ์ใหม่โดยช่วงเวลา 3 เดือนที่เหลือของปีนี้จะให้น้ำหนักกับการกระตุ้นกลุ่มลูกค้าเก่า
ล่าสุดได้มีการประสานงานระหว่างโตโยต้าสำนักงานใหญ่และโตโยต้าชัวร์ ซึ่งจำหน่ายรถมือสองออกโปรแกรม "สนุกดี" โดยลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถวีออสรุ่นเก่า สามารถนำรถมาแลกซื้อวีออสใหม่โมเดล 2013 จะได้ราคารถเก่าสูงกว่าทั่วไป 30,000 บาท หลังจากนั้นจะมีโปรแกรม "สบายดี" ซึ่งเป็นโปรแกรมทางด้านการเงินสนับสนุน ซึ่งจะมีตารางการผ่อนชำระสินเชื่อแบบสบาย ๆ อัตราการผ่อนชำระก็ใกล้เคียงกับที่ผ่อนชำระอยู่เดิม
"ข้อเสนอตอนนี้เชื่อว่าเจ้าของรถวีออสไม่น่าปฏิเสธ เพราะได้ประโยชน์ทั้งขึ้นทั้งล่อง ตั้งแต่ได้ราคารถเก่าเพิ่มขึ้น ขับฟรีถึงปีหน้า แถมยังได้ประกันภัยโตโยต้าแคร์อีกหนึ่งปี ส่วนลูกค้าใหม่ก็ดาวน์เพียง 88,000 บาท ผ่อนเริ่มต้น 3,234 บาท ฟรีประกันภัยชั้น 1 เหมือนกัน"
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า โตโยต้าวีออสถือว่ามาในจังหวะที่ไม่ค่อยสวยเท่าไร ได้รับผลกระทบค่อนข้างหนักทั้งรถคันแรกและเศรษฐกิจที่ชะลอตัว จากเดิมที่มียอดขายเฉลี่ยเดือนละหมื่นคัน ตอนนี้ไม่ถึง ส่วนของบริษัทเองเดิมขายประมาณ 150 คัน วันนี้ก็ไม่ถึง 100 คันต่อเดือน ซึ่งเห็นได้ชัดว่าอารมณ์การซื้อของลูกค้าโดยเฉพาะรถยนต์นั่งลดลง แต่ในทางกลับกันในกลุ่มรถปิกอัพกลับมายอดขายดีขึ้น เนื่องจากลูกค้าต้องใช้รถในการประกอบอาชีพ
เช่นเดียวกับดีลเลอร์โตโยต้าในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกกล่าวเสริมว่า แนวทางการตลาดของโตโยต้าพยายามปรับเปลี่ยนให้สอดรับกับกำลังซื้อ ภาวะตอนนี้จะไปเจาะลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ คงทำลำบากเพราะกำลังซื้อรถเก๋งเล็กถูกดึงเอาไปใช้ก่อนหน้านี้แล้วจากโครงการรถคันแรก การหันมาเจาะกลุ่มลูกค้าผู้ใช้รถยนต์โตโยต้ารายเดิมก็น่าจะช่วยกระตุ้นภาวะการขายได้และระบายสต๊อกที่แบกได้มากขึ้น
"เราเชื่อว่าแคมเปญนี้น่าจะกระตุ้นภาวะการขายได้ดี ลูกค้าเก่าได้รถใหม่ แต่ภาระทางด้านการเงินเหมือนเดิม สอดคล้องกับโปรแกรมที่ทำขึ้นทั้งสนุกดีได้ใช้รถใหม่ และสบายดีไม่เดือดร้อนด้านการเงิน"
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
แหล่งข่าวตัวแทนจำหน่ายรถยนต์โตโยต้ารายใหญ่ในเขตพื้นที่ กทม. เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ภาวะการขายช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาถือว่าตกต่ำมาก โดยเฉพาะรถธงตัวใหม่รุ่นวีออส แม้ดีลเลอร์จะพยายามออกแรงกันอย่างหนักแล้วก็ตาม สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือสัดส่วนลูกค้าใหม่น้อยลงมาก ดังนั้นทางทีมการตลาดโตโยต้าจึงต้องปรับกลยุทธ์ใหม่โดยช่วงเวลา 3 เดือนที่เหลือของปีนี้จะให้น้ำหนักกับการกระตุ้นกลุ่มลูกค้าเก่า
ล่าสุดได้มีการประสานงานระหว่างโตโยต้าสำนักงานใหญ่และโตโยต้าชัวร์ ซึ่งจำหน่ายรถมือสองออกโปรแกรม "สนุกดี" โดยลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถวีออสรุ่นเก่า สามารถนำรถมาแลกซื้อวีออสใหม่โมเดล 2013 จะได้ราคารถเก่าสูงกว่าทั่วไป 30,000 บาท หลังจากนั้นจะมีโปรแกรม "สบายดี" ซึ่งเป็นโปรแกรมทางด้านการเงินสนับสนุน ซึ่งจะมีตารางการผ่อนชำระสินเชื่อแบบสบาย ๆ อัตราการผ่อนชำระก็ใกล้เคียงกับที่ผ่อนชำระอยู่เดิม
"ข้อเสนอตอนนี้เชื่อว่าเจ้าของรถวีออสไม่น่าปฏิเสธ เพราะได้ประโยชน์ทั้งขึ้นทั้งล่อง ตั้งแต่ได้ราคารถเก่าเพิ่มขึ้น ขับฟรีถึงปีหน้า แถมยังได้ประกันภัยโตโยต้าแคร์อีกหนึ่งปี ส่วนลูกค้าใหม่ก็ดาวน์เพียง 88,000 บาท ผ่อนเริ่มต้น 3,234 บาท ฟรีประกันภัยชั้น 1 เหมือนกัน"
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า โตโยต้าวีออสถือว่ามาในจังหวะที่ไม่ค่อยสวยเท่าไร ได้รับผลกระทบค่อนข้างหนักทั้งรถคันแรกและเศรษฐกิจที่ชะลอตัว จากเดิมที่มียอดขายเฉลี่ยเดือนละหมื่นคัน ตอนนี้ไม่ถึง ส่วนของบริษัทเองเดิมขายประมาณ 150 คัน วันนี้ก็ไม่ถึง 100 คันต่อเดือน ซึ่งเห็นได้ชัดว่าอารมณ์การซื้อของลูกค้าโดยเฉพาะรถยนต์นั่งลดลง แต่ในทางกลับกันในกลุ่มรถปิกอัพกลับมายอดขายดีขึ้น เนื่องจากลูกค้าต้องใช้รถในการประกอบอาชีพ
เช่นเดียวกับดีลเลอร์โตโยต้าในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกกล่าวเสริมว่า แนวทางการตลาดของโตโยต้าพยายามปรับเปลี่ยนให้สอดรับกับกำลังซื้อ ภาวะตอนนี้จะไปเจาะลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ คงทำลำบากเพราะกำลังซื้อรถเก๋งเล็กถูกดึงเอาไปใช้ก่อนหน้านี้แล้วจากโครงการรถคันแรก การหันมาเจาะกลุ่มลูกค้าผู้ใช้รถยนต์โตโยต้ารายเดิมก็น่าจะช่วยกระตุ้นภาวะการขายได้และระบายสต๊อกที่แบกได้มากขึ้น
"เราเชื่อว่าแคมเปญนี้น่าจะกระตุ้นภาวะการขายได้ดี ลูกค้าเก่าได้รถใหม่ แต่ภาระทางด้านการเงินเหมือนเดิม สอดคล้องกับโปรแกรมที่ทำขึ้นทั้งสนุกดีได้ใช้รถใหม่ และสบายดีไม่เดือดร้อนด้านการเงิน"
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 45
แฉหนี้เสีย “รถคันแรก” ลาม “สินเชื่อบุคคล-บัตรเครดิต” ลูกหนี้ช็อต! รูดเงินในอนาคตจ่ายค่างวด
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 26 กันยายน 2556 13:17 น.
เตือน “สินเชื่อบุคคล-บัตรเครดิต” น่าห่วงสุด “เจ้าหนี้” เผยลูกหนี้ “รถคันแรก” เริ่มเจอปัญหาเงินฝืด หมุนเงินล่วงหน้าตัวเป็นเกลียว โดยกดเงินสดจ่ายค่างวดเช่าซื้อ กระทบความสามารถในการชำระหนี้ยอดหนี้เก่า ด้านไฟแนนซ์เจ้าหนี้นอนกุมขมับ ยึดรถมาแล้วขายไม่ได้ทันทีติดเงื่อนไขครอบครองรถ 5 ปี ต้องคืนเงิน 1 แสน ส่งผลให้ยอดหนี้เสียอย่างเป็นทางการไม่สูงตามความเป็นจริง
นายประชา ชัยสุวรรณ ประธานชมรมผู้ติดตามหนี้ที่เป็นธรรม เปิดเผยว่า ขณะนี้มีสัญญาณชัดเจนว่า หนี้สินเชื่อส่วนบุคคล และสินเชื่อบัตรเครดิตน่าเป็นห่วงมากที่สุด เพราะลูกหนี้หมุนเงินโดยการกดเงินสดเพื่อมาจ่ายค่างวดเช่าซื้อรถยนต์ ทำให้มีผลกระทบความสามารถในการชำระหนี้ยอดหนี้เก่า
“ลูกค้าส่วนใหญ่ยอมจ่ายหนี้รถก่อนที่จะจ่ายหนี้สินเชื่อส่วนบุคคล เนื่องจากค้างชำระ 1 เดือน บริษัทก็ติดตามแล้ว และหากค้าง 3 เดือนก็จะยึดรถรีบนำมาขายทอดตลาด เพราะรถยนต์ราคาตกเร็วมาก”
นายประชา กล่าวว่า บริษัทลีสซิ่งที่ให้บริการเช่าซื้อรถยนต์ไม่ต้องการยึดรถคันแรก เพราะติดเงื่อนไขตามประกาศกระทรวงการคลัง ที่ห้ามเปลี่ยนมือผู้ครอบครองรถยนต์ภายใน 5 ปี หากขายก่อนจะต้องหักเงินที่ได้คืนภาษีสรรพสามิตรถยนต์ไปคืนให้รัฐ
นอกจากนี้ ยังมีปัญหาตามมาคือ เมื่อยึดรถมาแล้วขายไม่ได้ทันทีราคารถยนต์จะตกไปเรื่อยๆ สุดท้ายขายแล้วเมื่อหักภาษีคืนอาจจะไม่พอชำระหนี้ให้แก่ผู้เช่าซื้อ ทำให้ยอดหนี้เสียอย่างเป็นทางการจากโครงการซื้อรถคันแรกไม่สูงตามสถานการณ์จริง แต่ในวงการเช่าซื้อรู้ดีว่า เริ่มมีปัญหามาก
http://www.manager.co.th/lite/ViewNews. ... 0000121448
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ผมคิดว่า ถ้ามีอะไรภายในห้าปีทำให้ต้องเปลี่ยนมือ คนที่ซื้อรถไป ต้องเป็นคนเอาเงินภาษี
ที่ได้คืนมาไปคืนรัฐบาล แล้วไฟแนนซ์ไม่น่าจะต้องรับผิดชอบในเรื่องภาษีที่ต้องคืนเลยนี่ครับ
อ่านข่าวนี้แล้วงง
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 26 กันยายน 2556 13:17 น.
เตือน “สินเชื่อบุคคล-บัตรเครดิต” น่าห่วงสุด “เจ้าหนี้” เผยลูกหนี้ “รถคันแรก” เริ่มเจอปัญหาเงินฝืด หมุนเงินล่วงหน้าตัวเป็นเกลียว โดยกดเงินสดจ่ายค่างวดเช่าซื้อ กระทบความสามารถในการชำระหนี้ยอดหนี้เก่า ด้านไฟแนนซ์เจ้าหนี้นอนกุมขมับ ยึดรถมาแล้วขายไม่ได้ทันทีติดเงื่อนไขครอบครองรถ 5 ปี ต้องคืนเงิน 1 แสน ส่งผลให้ยอดหนี้เสียอย่างเป็นทางการไม่สูงตามความเป็นจริง
นายประชา ชัยสุวรรณ ประธานชมรมผู้ติดตามหนี้ที่เป็นธรรม เปิดเผยว่า ขณะนี้มีสัญญาณชัดเจนว่า หนี้สินเชื่อส่วนบุคคล และสินเชื่อบัตรเครดิตน่าเป็นห่วงมากที่สุด เพราะลูกหนี้หมุนเงินโดยการกดเงินสดเพื่อมาจ่ายค่างวดเช่าซื้อรถยนต์ ทำให้มีผลกระทบความสามารถในการชำระหนี้ยอดหนี้เก่า
“ลูกค้าส่วนใหญ่ยอมจ่ายหนี้รถก่อนที่จะจ่ายหนี้สินเชื่อส่วนบุคคล เนื่องจากค้างชำระ 1 เดือน บริษัทก็ติดตามแล้ว และหากค้าง 3 เดือนก็จะยึดรถรีบนำมาขายทอดตลาด เพราะรถยนต์ราคาตกเร็วมาก”
นายประชา กล่าวว่า บริษัทลีสซิ่งที่ให้บริการเช่าซื้อรถยนต์ไม่ต้องการยึดรถคันแรก เพราะติดเงื่อนไขตามประกาศกระทรวงการคลัง ที่ห้ามเปลี่ยนมือผู้ครอบครองรถยนต์ภายใน 5 ปี หากขายก่อนจะต้องหักเงินที่ได้คืนภาษีสรรพสามิตรถยนต์ไปคืนให้รัฐ
นอกจากนี้ ยังมีปัญหาตามมาคือ เมื่อยึดรถมาแล้วขายไม่ได้ทันทีราคารถยนต์จะตกไปเรื่อยๆ สุดท้ายขายแล้วเมื่อหักภาษีคืนอาจจะไม่พอชำระหนี้ให้แก่ผู้เช่าซื้อ ทำให้ยอดหนี้เสียอย่างเป็นทางการจากโครงการซื้อรถคันแรกไม่สูงตามสถานการณ์จริง แต่ในวงการเช่าซื้อรู้ดีว่า เริ่มมีปัญหามาก
http://www.manager.co.th/lite/ViewNews. ... 0000121448
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ผมคิดว่า ถ้ามีอะไรภายในห้าปีทำให้ต้องเปลี่ยนมือ คนที่ซื้อรถไป ต้องเป็นคนเอาเงินภาษี
ที่ได้คืนมาไปคืนรัฐบาล แล้วไฟแนนซ์ไม่น่าจะต้องรับผิดชอบในเรื่องภาษีที่ต้องคืนเลยนี่ครับ
อ่านข่าวนี้แล้วงง
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 46
สุดคุ้ม! ซื้อเบนซ์มือสองฟรีดอกเบี้ยที่เบนซ์อมรรัชดาฯ
เบนซ์อมรรัชดาฯ จัดโปรโมชั่นสุดคุ้ม ผ่อน 0% เอาใจลูกค้าที่ชื่นชอบรถหรูระดับ ไฮเอนด์ แต่ราคาเบาๆสบายกระเป๋า พร้อมเผยข้อมูลเปรียบเทียบรถเบนซ์โฉมใหม่ป้ายแดง กับรถเบนซ์มือสองคุณภาพเยี่ยมให้เห็นชัดๆแบบหมดเปลือก ไม่หวั่นลูกค้าแห่ซื้อเบนซ์ใหม่ มั่นใจด้วยจุดแข็งที่เหนือกว่า ทั้งด้านราคา และการบริการตลอด 7 วัน 24 ชั่วโมงทั่วประเทศ
นางสาววรรณภา ตั้งบรรยงค์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เบนซ์อมรรัชดา จำกัด ผู้นำธุรกิจรถเบนซ์มือสองคุณภาพ พร้อมศูนย์บริการอันดับหนึ่งของประเทศไทย เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการกระตุ้นการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในช่วงปลายปีนี้ บริษัทได้จัดโปรโมชั่นสุดคุ้มสำหรับลูกค้าที่ชื่นชอบรถหรูระดับไฮเอนด์อย่างเบนซ์ แต่ต้องการราคาเบาๆสบายกระเป๋า เราจึงเปิดโอกาสให้ลูกค้าได้ ผ่อนดาวน์ 0% ตั้งแต่วันที่ 20 - 30 กันยายน 2556 นี้เท่านั้น ขณะที่เมื่อเทียบกับรถใหม่ป้ายแดงในท้องตลาดทั่วไปต้องจ่ายเงินดาวน์เต็มจำนวน
นอกจากโปรโมชั่นสุดคุ้มผ่อน 0% แล้วเรายังจัดแคมเปญพิเศษ เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างเบนซ์โฉมใหม่ป้ายแดง กับเบนซ์มือสองคุณภาพเยี่ยมจากเบนซ์อมรฯให้เห็นชัดๆแบบหมดเปลือก เพื่อเอาใจลูกค้าที่ต้องการซื้อเบนซ์ แต่ยังลังเลใจว่าจะซื้อป้ายแดง หรือมือสอง โดยไม่หวั่นลูกค้าแห่ซื้อเบนซ์ใหม่ และทำให้ยอดขายตกเพราะมีจุดแข็งที่เหนือกว่าทั้งด้านคุณภาพที่สภาพรถทุกคันเหมือนใหม่เกือบ 90% ก็ว่าได้ ทางด้านราคาก็คุ้มค่ากว่าการซื้อเบนซ์ใหม่ป้ายแดงอย่างแน่นอน และส่วนที่สำคัญที่สุดคือด้านการบริการเรามีศูนย์บริการช่วยเหลือฉุกเฉินบนท้องถนน ตลอด 24 ชั่วโมงทั่วประเทศ เพื่อให้ลูกค้าอุ่นใจในการเดินทาง อาทิ รถยกฉุกเฉิน, ช่างบำรุงรักษารถฉุกเฉิน รวมไปถึงการเติมน้ำมันฉุกเฉิน เป็นต้น ที่แม้แต่เบนซ์ใหม่ป้ายแดงอาจเทียบไม่ได้
สำหรับข้อมูลการเปรียบรถนั้น เราจะเปรียบเทียบให้เห็นว่าเบนซ์มือสองคุณภาพ และเบนซ์ใหม่ป้ายแดง มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกันรุ่นต่อรุ่น ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วจะทำให้เห็นถึงความคุ้มค่า คุ้มราคา ในการตัดสินใจซื้อมากยิ่งขึ้น โดยข้อมูลที่เรานำมาเปรียบเทียบประกอบด้วย ชื่อรุ่น ,ปีที่ผลิต ,ราคาเต็ม ,เงินดาวน์ ,การผ่อนดาวน์ ,ยอดผ่อนต่อเดือน และจำนวนเดือนที่ผ่อนจริง
อาทิ รถมือสองจากเบนซ์อมร Benz C250 CGI รุ่น TOP ปี 2011 ราคา 1,700,000 บาท เงินดาวน์ 300,000 บาท ผ่อนดาวน์ 0% 10 เดือน ยอดผ่อน 35,890 จำนวน 48 เดือน ประหยัดเงิน 386,304 บาท เมื่อเทียบกับ รถใหม่ป้ายแดงในท้องตลาด Benz.C200 CGI รุ่น LOW ปี2013 ราคา 2,200,000 บาท เงินดาวน์ 300,000 บาท ชำระเต็มวงเงินไม่มีผ่อน ยอดผ่อนต่องวด 43,938 บาท 48 เดือน และอีกรุ่นคือ Benz E250 CGI รุ่น TOP ปี 2011 รถมือสอง จากเบนซ์อมร ราคา 2,600,000 เงินดาวน์ 450,000 บาท ผ่อนดาวน์ 0% ยอดผ่อน 55,117 บาท จำนวน 48 เดือน ประหยัดเงิน 728,784 บาท เมื่อเทียบกับ Benz.E200CGI รุ่น LOW ปี 2013 ราคา 3,490,000 บาท เงินดาวน์ 450,000 บาท ชำระเต็มวงเงินไม่มีผ่อน ยอดผ่อนต่องวด 70,300 บาท 48 เดือน
นางสาววรรณภา กล่าวทิ้งท้ายว่าสำหรับลูกค้าที่ซื้อรถ กับเบนซ์อมรนั้น นอกเหนือจากการบริการที่กล่าวมาข้างต้น เรายังมีบริการรับประกันเปลี่ยนอะไหล่ฟรี 14 รายการ พร้อมรับประกัน ซ่อมค่าแรงฟรี ตลอดอายุการใช้งาน รวมทั้งมอบบัตร วีไอพี การ์ด เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับลูกค้า โดยการมอบส่วนลดและสิทธิพิเศษต่างๆ ให้กับลูกค้าที่ถือบัตร ซึ่งปัจจุบันมีโรงแรมและร้านค้ามีระดับมากกว่า 100 แห่ง เข้าร่วมโครงการมอบส่วนลดให้กับ เบนซ์อมร นางสาววรรณภา กล่าวตบท้าย
http://www.manager.co.th/Motoring/viewN ... 0000119915
เบนซ์อมรรัชดาฯ จัดโปรโมชั่นสุดคุ้ม ผ่อน 0% เอาใจลูกค้าที่ชื่นชอบรถหรูระดับ ไฮเอนด์ แต่ราคาเบาๆสบายกระเป๋า พร้อมเผยข้อมูลเปรียบเทียบรถเบนซ์โฉมใหม่ป้ายแดง กับรถเบนซ์มือสองคุณภาพเยี่ยมให้เห็นชัดๆแบบหมดเปลือก ไม่หวั่นลูกค้าแห่ซื้อเบนซ์ใหม่ มั่นใจด้วยจุดแข็งที่เหนือกว่า ทั้งด้านราคา และการบริการตลอด 7 วัน 24 ชั่วโมงทั่วประเทศ
นางสาววรรณภา ตั้งบรรยงค์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เบนซ์อมรรัชดา จำกัด ผู้นำธุรกิจรถเบนซ์มือสองคุณภาพ พร้อมศูนย์บริการอันดับหนึ่งของประเทศไทย เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการกระตุ้นการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในช่วงปลายปีนี้ บริษัทได้จัดโปรโมชั่นสุดคุ้มสำหรับลูกค้าที่ชื่นชอบรถหรูระดับไฮเอนด์อย่างเบนซ์ แต่ต้องการราคาเบาๆสบายกระเป๋า เราจึงเปิดโอกาสให้ลูกค้าได้ ผ่อนดาวน์ 0% ตั้งแต่วันที่ 20 - 30 กันยายน 2556 นี้เท่านั้น ขณะที่เมื่อเทียบกับรถใหม่ป้ายแดงในท้องตลาดทั่วไปต้องจ่ายเงินดาวน์เต็มจำนวน
นอกจากโปรโมชั่นสุดคุ้มผ่อน 0% แล้วเรายังจัดแคมเปญพิเศษ เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างเบนซ์โฉมใหม่ป้ายแดง กับเบนซ์มือสองคุณภาพเยี่ยมจากเบนซ์อมรฯให้เห็นชัดๆแบบหมดเปลือก เพื่อเอาใจลูกค้าที่ต้องการซื้อเบนซ์ แต่ยังลังเลใจว่าจะซื้อป้ายแดง หรือมือสอง โดยไม่หวั่นลูกค้าแห่ซื้อเบนซ์ใหม่ และทำให้ยอดขายตกเพราะมีจุดแข็งที่เหนือกว่าทั้งด้านคุณภาพที่สภาพรถทุกคันเหมือนใหม่เกือบ 90% ก็ว่าได้ ทางด้านราคาก็คุ้มค่ากว่าการซื้อเบนซ์ใหม่ป้ายแดงอย่างแน่นอน และส่วนที่สำคัญที่สุดคือด้านการบริการเรามีศูนย์บริการช่วยเหลือฉุกเฉินบนท้องถนน ตลอด 24 ชั่วโมงทั่วประเทศ เพื่อให้ลูกค้าอุ่นใจในการเดินทาง อาทิ รถยกฉุกเฉิน, ช่างบำรุงรักษารถฉุกเฉิน รวมไปถึงการเติมน้ำมันฉุกเฉิน เป็นต้น ที่แม้แต่เบนซ์ใหม่ป้ายแดงอาจเทียบไม่ได้
สำหรับข้อมูลการเปรียบรถนั้น เราจะเปรียบเทียบให้เห็นว่าเบนซ์มือสองคุณภาพ และเบนซ์ใหม่ป้ายแดง มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกันรุ่นต่อรุ่น ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันแล้วจะทำให้เห็นถึงความคุ้มค่า คุ้มราคา ในการตัดสินใจซื้อมากยิ่งขึ้น โดยข้อมูลที่เรานำมาเปรียบเทียบประกอบด้วย ชื่อรุ่น ,ปีที่ผลิต ,ราคาเต็ม ,เงินดาวน์ ,การผ่อนดาวน์ ,ยอดผ่อนต่อเดือน และจำนวนเดือนที่ผ่อนจริง
อาทิ รถมือสองจากเบนซ์อมร Benz C250 CGI รุ่น TOP ปี 2011 ราคา 1,700,000 บาท เงินดาวน์ 300,000 บาท ผ่อนดาวน์ 0% 10 เดือน ยอดผ่อน 35,890 จำนวน 48 เดือน ประหยัดเงิน 386,304 บาท เมื่อเทียบกับ รถใหม่ป้ายแดงในท้องตลาด Benz.C200 CGI รุ่น LOW ปี2013 ราคา 2,200,000 บาท เงินดาวน์ 300,000 บาท ชำระเต็มวงเงินไม่มีผ่อน ยอดผ่อนต่องวด 43,938 บาท 48 เดือน และอีกรุ่นคือ Benz E250 CGI รุ่น TOP ปี 2011 รถมือสอง จากเบนซ์อมร ราคา 2,600,000 เงินดาวน์ 450,000 บาท ผ่อนดาวน์ 0% ยอดผ่อน 55,117 บาท จำนวน 48 เดือน ประหยัดเงิน 728,784 บาท เมื่อเทียบกับ Benz.E200CGI รุ่น LOW ปี 2013 ราคา 3,490,000 บาท เงินดาวน์ 450,000 บาท ชำระเต็มวงเงินไม่มีผ่อน ยอดผ่อนต่องวด 70,300 บาท 48 เดือน
นางสาววรรณภา กล่าวทิ้งท้ายว่าสำหรับลูกค้าที่ซื้อรถ กับเบนซ์อมรนั้น นอกเหนือจากการบริการที่กล่าวมาข้างต้น เรายังมีบริการรับประกันเปลี่ยนอะไหล่ฟรี 14 รายการ พร้อมรับประกัน ซ่อมค่าแรงฟรี ตลอดอายุการใช้งาน รวมทั้งมอบบัตร วีไอพี การ์ด เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับลูกค้า โดยการมอบส่วนลดและสิทธิพิเศษต่างๆ ให้กับลูกค้าที่ถือบัตร ซึ่งปัจจุบันมีโรงแรมและร้านค้ามีระดับมากกว่า 100 แห่ง เข้าร่วมโครงการมอบส่วนลดให้กับ เบนซ์อมร นางสาววรรณภา กล่าวตบท้าย
http://www.manager.co.th/Motoring/viewN ... 0000119915
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 47
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ โฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ผู้ผลิตรถยนต์ที่เป็นบริษัทแม่จากต่างประเทศอยู่ระหว่างการติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในประเทศอย่างใกล้ชิด หลังจากมีบทเรียนในปี 54 ที่อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยได้รับความเสียหายจากน้ำท่วมพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอย่างมาก แม้สถานการณ์ของน้ำไม่รุนแรงเหมือนปี 54 แต่บริษัทรถยนต์ได้มีการเตรียมความพร้อมไว้ทุกบริษัทแล้วทั้งในด้านการป้องกัน รวมถึงการสั่งซื้อชิ้นส่วนฯในประเทศใกล้เคียงกรณีที่ผู้ผลิตชิ้นส่วนในไทยถูกน้ำท่วม “บทเรียนในปี 54 ทำให้ผู้ประกอบการวางแผนกระจายความเสี่ยง เช่น ขยายพื้นที่การลงทุนไปในจังหวัดอื่นของประเทศ หรือลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน เพราะหากน้ำท่วมในประเทศใด บริษัทลูกในอีกประเทศยังสามารถผลิตสินค้าได้”
นายสุรพงษ์ กล่าวถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยว่า ขณะนี้รถยนต์บางยี่ห้อและบางรุ่นมีปริมาณสต๊อกมากกว่า 1 เดือนจากสถานการณ์ปกติที่ต้องมีสต๊อก 15-20 วัน สาเหตุมาจากผู้ที่จองรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกบางรายยังไม่มีการรับมอบรถ เพราะยังไม่สามารถหาเงินดาวน์ได้ทัน และบางรายยังไม่พร้อมที่จะผ่อนรถยนต์ จึงขอเลื่อนการรับมอบออกไปก่อน
สำหรับการผลิตรถยนต์เพื่อการส่งออกในปีนี้ ยังถือว่าอยู่ในทิศทางที่ดี โดยพบว่าในเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา ค่ายรถยนต์ได้เพิ่มสัดส่วนการผลิตเพื่อส่งออกเป็น 58% จากปกติที่ผลิตเพียง 40% เนื่องจากความต้องการรถยนต์ในต่างประเทศมีเพิ่มขึ้น และคาดว่า ในไตรมาสที่ 4 ยอดการส่งออกเฉลี่ยจะไม่ต่ำกว่า 100,000 คันต่อเดือน ส่งผลให้ตลอดทั้งปีนี้อาจส่งออกรถยนต์ได้ 1.15 ล้านคัน เพิ่มจากปีก่อน 12% มีมูลค่าส่งออก 30,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
“ยอดการผลิตภาพรวมในปีนี้ อาจจะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน แบ่งเป็นส่งออก 1.15 ล้านคัน และขายในประเทศ 1.4 ล้านคัน ซึ่งภาพรวมยังอยู่ในภาวะที่ดี เป็นที่น่าพอใจของผู้ประกอบการ โดยในเดือน ธ.ค. กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์จะมีการหารือและสรุปเป้าการผลิตรถยนต์ในปีหน้าอีกครั้ง โดยประเด็นที่ต้องนำมาพิจารณาคือปัจจัยในประเทศและตลาดต่างประเทศ”.
โดย: ทีมข่าวเศรษฐกิจ
http://www.thairath.co.th/content/eco/373127
นายสุรพงษ์ กล่าวถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยว่า ขณะนี้รถยนต์บางยี่ห้อและบางรุ่นมีปริมาณสต๊อกมากกว่า 1 เดือนจากสถานการณ์ปกติที่ต้องมีสต๊อก 15-20 วัน สาเหตุมาจากผู้ที่จองรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกบางรายยังไม่มีการรับมอบรถ เพราะยังไม่สามารถหาเงินดาวน์ได้ทัน และบางรายยังไม่พร้อมที่จะผ่อนรถยนต์ จึงขอเลื่อนการรับมอบออกไปก่อน
สำหรับการผลิตรถยนต์เพื่อการส่งออกในปีนี้ ยังถือว่าอยู่ในทิศทางที่ดี โดยพบว่าในเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา ค่ายรถยนต์ได้เพิ่มสัดส่วนการผลิตเพื่อส่งออกเป็น 58% จากปกติที่ผลิตเพียง 40% เนื่องจากความต้องการรถยนต์ในต่างประเทศมีเพิ่มขึ้น และคาดว่า ในไตรมาสที่ 4 ยอดการส่งออกเฉลี่ยจะไม่ต่ำกว่า 100,000 คันต่อเดือน ส่งผลให้ตลอดทั้งปีนี้อาจส่งออกรถยนต์ได้ 1.15 ล้านคัน เพิ่มจากปีก่อน 12% มีมูลค่าส่งออก 30,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
“ยอดการผลิตภาพรวมในปีนี้ อาจจะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน แบ่งเป็นส่งออก 1.15 ล้านคัน และขายในประเทศ 1.4 ล้านคัน ซึ่งภาพรวมยังอยู่ในภาวะที่ดี เป็นที่น่าพอใจของผู้ประกอบการ โดยในเดือน ธ.ค. กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์จะมีการหารือและสรุปเป้าการผลิตรถยนต์ในปีหน้าอีกครั้ง โดยประเด็นที่ต้องนำมาพิจารณาคือปัจจัยในประเทศและตลาดต่างประเทศ”.
โดย: ทีมข่าวเศรษฐกิจ
http://www.thairath.co.th/content/eco/373127
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 48
สถานการณ์ตอนนี้กลายเป็น
รถยนต์ส่งออก
รถยนต์ภายในประเทศตรึงตัว stock บาน
โรงงานเองผลิต 2 กะ ไม่มี OT เน้นส่งออก
ภาพมันขัดแย้งกันสุดๆๆเลย พักนี้
ยอดส่งออกรถยนต์ไม่สามารถตามได้ เป็นจำนวนคันเสียด้วย
มาเป็นจำนวนเงินอย่างเดียว
ผิดกับในประเทศที่มีการบอกว่า จำหน่ายกี่คัน และ มียอดจดทะเบียนเท่าไร
รถยนต์ส่งออก
รถยนต์ภายในประเทศตรึงตัว stock บาน
โรงงานเองผลิต 2 กะ ไม่มี OT เน้นส่งออก
ภาพมันขัดแย้งกันสุดๆๆเลย พักนี้
ยอดส่งออกรถยนต์ไม่สามารถตามได้ เป็นจำนวนคันเสียด้วย
มาเป็นจำนวนเงินอย่างเดียว
ผิดกับในประเทศที่มีการบอกว่า จำหน่ายกี่คัน และ มียอดจดทะเบียนเท่าไร
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 49
"ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส" ประเมินยอดผลิตรถยนต์โลกทะลุ 100 ล้านคัน ภายในปี 2560 วิกฤตเศรฐกิจยุโรป-สหรัฐยังฉุดอุตฯยานยนต์ เผยเอเชีย-แปซิฟิกมาแรง ยอดขาย 5 ปีโตสูงสุด 62% ช่วยดันตลาดโลกระยะยาว สอท.มั่นใจไทยน่าจะมียอดผลิต 2.55 ล้านคันตามเป้า
นายศิระ อินทรกำธรชัย ประธานกรรมการบริหารและหุ้นส่วน บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส ประเทศไทย เปิดเผยถึงการคาดการณ์ของไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส (PWC) ต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์โลกว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะ 3-5 ปีข้างหน้า จากปัญหาวิกฤตหนี้ยุโรป และการฟื้นตัวอย่างช้า ๆ ของเศรษฐกิจสหรัฐ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่กดดันการเจริญเติบโตในระยะยาว ขณะที่ยอดผลิตรถยนต์ทั่วโลกนั้นจะสูงถึง 100 ล้านคันได้เป็นครั้งแรกในอีก 4 ปีข้างหน้า หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปีที่ 5.02% และเพิ่มเป็น 106 ล้านคันภายในปี 2562
โดยยอดผลิตรถยนต์ทั่วโลกในปีนี้จะเพิ่มขึ้น 2.3% เป็น 81 ล้านคัน จากความต้องการที่ยังคงแข็งแกร่งของตลาดเกิดใหม่ในเอเชีย-แปซิฟิก นำโดยจีน, อินเดีย และกลุ่มประเทศอาเซียน รวมทั้งความต้องการสะสมของผู้บริโภคในสหรัฐ
หลังจากที่เผชิญกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาโดยผลการศึกษา "PwC"s Autofacts 2013 Q3 Data Releas" ที่ผ่านมาว่าตลาดรถยนต์เกิดใหม่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะขยายตัวนำหน้าทวีปอื่น ๆ ในโลก โดยมีการเติบโตระหว่างปี 2555-2560 ถึง 62% ในขณะที่อเมริกาเหนืออยู่ที่ 13.4%, สหภาพยุโรป 11.7%, อเมริกาใต้ 6.7%, ยุโรปตะวันออก 6.3% และตะวันออกกลางและแอฟริกาที่ 3.4%
ขณะที่ตลาดที่พัฒนาแล้วในเอเชีย-แปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคเดียวที่เห็นการหดตัว หรือมีการเติบโตที่ -3.5% เนื่องจากบริษัทผู้ประกอบการรถยนต์ในญี่ปุ่นต้องย้ายฐานการผลิตจากประเทศของตนมายังตลาดส่งออกอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
"ในระหว่างที่โลกยังคงรอดูทิศทางที่ชัดเจนของการสานนโยบายสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอียู เรายังคงมองว่าตลาดจีน อเมริกา และอาเซียนจะผลักดันการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกในระยะยาว ส่วนตลาดรถยุโรปจะยังคงไม่เห็นสัญญาณการฟื้นตัวของดีมานด์ไปจนกว่าจะปี 2557" นายศิระกล่าว
การที่อุตสาหกรรมรถยนต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตต่อเนื่องนั้น ได้รับปัจจัยบวกจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ ของภาครัฐในหลาย ๆ ประเทศ เพื่อดึงดูดการลงทุนจากผู้ประกอบการและนักลงทุนต่างชาติ การลงทุนอย่างต่อเนื่องในตลาดกำลังพัฒนาจะยิ่งช่วยผลักดันให้ยอดการประกอบรถยนต์โลกสูงถึง 100 ล้านคันได้เป็นครั้งแรกในปี 2560
ส่วนประเทศไทย แม้ว่าแนวโน้มอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2556 จะมีทิศทางชะลอตัวหลัง จากนโยบายรถคันแรกของภาครัฐหมดลง ส่งผลให้บรรดาค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นหลายราย ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดรถยนต์ในประเทศรวมกันกว่า 80% มียอดขายลดลงในช่วงไตรมาส 2 ที่ผ่านมา แต่ก็คาดว่ายอดผลิตก็จะคงอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน ซึ่งการลงทุนจากทั้งค่ายรถและซัพพลายเออร์ทั้งในและนอกประเทศจะช่วยผลักดันการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตามเป้าหมายการผลิตรถยนต์จำนวน 3 ล้านคันภายในปี 2560 เพื่อขึ้นสู่เป็นอันดับ 5 ของโลก จากปัจจุบันอยู่ที่อันดับ 9 ของโลก จากนโยบายการส่งเสริมให้ผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (อีโคคาร์ 2) ที่มีผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนสนใจลงทุน คือมาสด้า ฟอร์ด และผู้ผลิตที่ลงทุนในอีโคคาร์ 1 อยู่ก่อนแล้ว
ก่อนหน้านี้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ยอดผลิตรถยนต์เดือนสิงหาคมที่ผ่านมาชะลอตัวอยู่ที่ 193,074 คัน ลดลง 9.9% จากปีก่อน ทำให้ยอดผลิตรถในช่วง 8 เดือนที่ผ่านมาอยู่ที่ 1.73 ล้านคันในปีนี้ และทำให้ยอดขายรถยนต์ในประเทศลดลงจากปีก่อนหน้าอยู่ที่ 100,289 คัน ลดลง 22.6% คาดว่ายอดผลิตรถยนต์ในปีนี้จะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน เติบโต 4% โดยยอดผลิตรถยนต์ในช่วงที่เหลือของปีจะอยู่ที่ราว 200,000 คันต่อเดือน ทำให้ค่ายรถยนต์ต้องหันมาเน้นตลาดส่งออกมากขึ้น
ทั้งนี้ บริษัทได้คาดการณ์แนวโน้มของอุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคตว่าความต้องการสำหรับการนำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้กับรถยนต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัย การประหยัดพลังงาน หรือการติดตั้งเครื่องนำทางรถยนต์ที่เป็นอุปกรณ์อินโฟเทนเมนต์ในตัวจะขยายตัวสูงขึ้นในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ผู้ผลิตรถยนต์จะหันมาให้ความสำคัญกับการนำนวัตกรรมใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อกระตุ้นยอดขายและสอดรับกับความต้องการของลูกค้าโดยเทรนด์ความต้องการของลูกค้าทั่วโลกสำหรับรถยนต์ไฮบริด, รถไฟฟ้า และรถเพื่อสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มีสัดส่วนเพียง 2.8% ของการผลิตทั่วโลกในปีที่ผ่านมา แต่ในปี 2560 สัดส่วนน่าจะเพิ่มเป็น 5% นอกจากนี้ การนำเอาเทคโนโลยีอื่น ๆ อาทิ ดีเซลสะอาด, ก๊าซซีเอ็นจี และรถยนต์ไร้คนขับ จะได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
นายศิระยังกล่าวถึงรูปแบบการทำตลาดที่ "สังคมออนไลน์" จะเข้ามามีบทบาทต่อพฤติกรรมการซื้อรถของผู้บริโภคในปัจจุบัน ผู้ที่จะซื้อรถจะพึ่งพาสื่อออนไลน์ในการช่วยตัดสินใจก่อนการซื้อรถเพิ่มขึ้น
ผลจากการศึกษาที่น่าสนใจระบุว่ามีผู้บริโภคถึง 90% ที่เชื่อและไว้ใจในสิ่งที่เพื่อนโพสต์ หรือแนะนำบนหน้าสื่อออนไลน์ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อรถของตัวเอง ยังมีผู้บริโภคกว่า 70% ที่มีแนวโน้มที่จะซื้อรถจากคำแนะนำบนโซเชียลมีเดียอีกด้วย ส่งผลต่อการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมรถยนต์
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
นายศิระ อินทรกำธรชัย ประธานกรรมการบริหารและหุ้นส่วน บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส ประเทศไทย เปิดเผยถึงการคาดการณ์ของไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส (PWC) ต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์โลกว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะ 3-5 ปีข้างหน้า จากปัญหาวิกฤตหนี้ยุโรป และการฟื้นตัวอย่างช้า ๆ ของเศรษฐกิจสหรัฐ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่กดดันการเจริญเติบโตในระยะยาว ขณะที่ยอดผลิตรถยนต์ทั่วโลกนั้นจะสูงถึง 100 ล้านคันได้เป็นครั้งแรกในอีก 4 ปีข้างหน้า หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปีที่ 5.02% และเพิ่มเป็น 106 ล้านคันภายในปี 2562
โดยยอดผลิตรถยนต์ทั่วโลกในปีนี้จะเพิ่มขึ้น 2.3% เป็น 81 ล้านคัน จากความต้องการที่ยังคงแข็งแกร่งของตลาดเกิดใหม่ในเอเชีย-แปซิฟิก นำโดยจีน, อินเดีย และกลุ่มประเทศอาเซียน รวมทั้งความต้องการสะสมของผู้บริโภคในสหรัฐ
หลังจากที่เผชิญกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาโดยผลการศึกษา "PwC"s Autofacts 2013 Q3 Data Releas" ที่ผ่านมาว่าตลาดรถยนต์เกิดใหม่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะขยายตัวนำหน้าทวีปอื่น ๆ ในโลก โดยมีการเติบโตระหว่างปี 2555-2560 ถึง 62% ในขณะที่อเมริกาเหนืออยู่ที่ 13.4%, สหภาพยุโรป 11.7%, อเมริกาใต้ 6.7%, ยุโรปตะวันออก 6.3% และตะวันออกกลางและแอฟริกาที่ 3.4%
ขณะที่ตลาดที่พัฒนาแล้วในเอเชีย-แปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคเดียวที่เห็นการหดตัว หรือมีการเติบโตที่ -3.5% เนื่องจากบริษัทผู้ประกอบการรถยนต์ในญี่ปุ่นต้องย้ายฐานการผลิตจากประเทศของตนมายังตลาดส่งออกอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
"ในระหว่างที่โลกยังคงรอดูทิศทางที่ชัดเจนของการสานนโยบายสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอียู เรายังคงมองว่าตลาดจีน อเมริกา และอาเซียนจะผลักดันการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกในระยะยาว ส่วนตลาดรถยุโรปจะยังคงไม่เห็นสัญญาณการฟื้นตัวของดีมานด์ไปจนกว่าจะปี 2557" นายศิระกล่าว
การที่อุตสาหกรรมรถยนต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตต่อเนื่องนั้น ได้รับปัจจัยบวกจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ ของภาครัฐในหลาย ๆ ประเทศ เพื่อดึงดูดการลงทุนจากผู้ประกอบการและนักลงทุนต่างชาติ การลงทุนอย่างต่อเนื่องในตลาดกำลังพัฒนาจะยิ่งช่วยผลักดันให้ยอดการประกอบรถยนต์โลกสูงถึง 100 ล้านคันได้เป็นครั้งแรกในปี 2560
ส่วนประเทศไทย แม้ว่าแนวโน้มอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2556 จะมีทิศทางชะลอตัวหลัง จากนโยบายรถคันแรกของภาครัฐหมดลง ส่งผลให้บรรดาค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นหลายราย ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดรถยนต์ในประเทศรวมกันกว่า 80% มียอดขายลดลงในช่วงไตรมาส 2 ที่ผ่านมา แต่ก็คาดว่ายอดผลิตก็จะคงอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน ซึ่งการลงทุนจากทั้งค่ายรถและซัพพลายเออร์ทั้งในและนอกประเทศจะช่วยผลักดันการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตามเป้าหมายการผลิตรถยนต์จำนวน 3 ล้านคันภายในปี 2560 เพื่อขึ้นสู่เป็นอันดับ 5 ของโลก จากปัจจุบันอยู่ที่อันดับ 9 ของโลก จากนโยบายการส่งเสริมให้ผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (อีโคคาร์ 2) ที่มีผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนสนใจลงทุน คือมาสด้า ฟอร์ด และผู้ผลิตที่ลงทุนในอีโคคาร์ 1 อยู่ก่อนแล้ว
ก่อนหน้านี้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ยอดผลิตรถยนต์เดือนสิงหาคมที่ผ่านมาชะลอตัวอยู่ที่ 193,074 คัน ลดลง 9.9% จากปีก่อน ทำให้ยอดผลิตรถในช่วง 8 เดือนที่ผ่านมาอยู่ที่ 1.73 ล้านคันในปีนี้ และทำให้ยอดขายรถยนต์ในประเทศลดลงจากปีก่อนหน้าอยู่ที่ 100,289 คัน ลดลง 22.6% คาดว่ายอดผลิตรถยนต์ในปีนี้จะอยู่ที่ 2.55 ล้านคัน เติบโต 4% โดยยอดผลิตรถยนต์ในช่วงที่เหลือของปีจะอยู่ที่ราว 200,000 คันต่อเดือน ทำให้ค่ายรถยนต์ต้องหันมาเน้นตลาดส่งออกมากขึ้น
ทั้งนี้ บริษัทได้คาดการณ์แนวโน้มของอุตสาหกรรมรถยนต์ในอนาคตว่าความต้องการสำหรับการนำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้กับรถยนต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัย การประหยัดพลังงาน หรือการติดตั้งเครื่องนำทางรถยนต์ที่เป็นอุปกรณ์อินโฟเทนเมนต์ในตัวจะขยายตัวสูงขึ้นในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ผู้ผลิตรถยนต์จะหันมาให้ความสำคัญกับการนำนวัตกรรมใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อกระตุ้นยอดขายและสอดรับกับความต้องการของลูกค้าโดยเทรนด์ความต้องการของลูกค้าทั่วโลกสำหรับรถยนต์ไฮบริด, รถไฟฟ้า และรถเพื่อสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มีสัดส่วนเพียง 2.8% ของการผลิตทั่วโลกในปีที่ผ่านมา แต่ในปี 2560 สัดส่วนน่าจะเพิ่มเป็น 5% นอกจากนี้ การนำเอาเทคโนโลยีอื่น ๆ อาทิ ดีเซลสะอาด, ก๊าซซีเอ็นจี และรถยนต์ไร้คนขับ จะได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
นายศิระยังกล่าวถึงรูปแบบการทำตลาดที่ "สังคมออนไลน์" จะเข้ามามีบทบาทต่อพฤติกรรมการซื้อรถของผู้บริโภคในปัจจุบัน ผู้ที่จะซื้อรถจะพึ่งพาสื่อออนไลน์ในการช่วยตัดสินใจก่อนการซื้อรถเพิ่มขึ้น
ผลจากการศึกษาที่น่าสนใจระบุว่ามีผู้บริโภคถึง 90% ที่เชื่อและไว้ใจในสิ่งที่เพื่อนโพสต์ หรือแนะนำบนหน้าสื่อออนไลน์ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อรถของตัวเอง ยังมีผู้บริโภคกว่า 70% ที่มีแนวโน้มที่จะซื้อรถจากคำแนะนำบนโซเชียลมีเดียอีกด้วย ส่งผลต่อการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมรถยนต์
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 50
สรรพสามิตเตรียมส่งเอสเอ็มเอสไปยังผู้จองรถที่ยังไม่ขอใช้สิทธิกว่า 1.3 แสนราย ยืนยันการใช้สิทธิ ค่ายรถโวยสต็อกบาน ดอกเบี้ย ค่าดูแลรักษาพุ่ง
โครงการรถยนต์คันแรก หนึ่งในนโยบายประชานิยมของรัฐ และเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้หนี้ครัวเรือนปรับตัวสูงขึ้น จนถึงขณะนี้กรมสรรพสามิตยังอยู่ในกระบวนการคืนเงินภาษี จากจำนวนรถที่เข้าร่วมโครงการ 1.25 ล้านคันที่เข้าร่วมโครงการ ในจำนวนนี้ 1.3 แสนคัน หรือคิดเป็น 10% ที่ยังไม่ยืนยันการใช้สิทธิ ภายใต้สถานการณ์กำลังซื้อซบเซา แคมเปญเดือดรถป้ายแดง จูงใจให้เกิดการทิ้งใบจองโครงการรถคันแรก
นายจุมพล ริมสาคร ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาและบริหารการจัดเก็บภาษี กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง กล่าวถึงความคืบหน้าโครงการรถยนต์คันแรกว่า ปัจจุบันกรมสรรพสามิตได้ทยอยคืนเงินภาษีให้แก่ผู้ขอใช้สิทธิในโครงการรถยนต์คันแรกแล้วจำนวนประมาณ 5 แสนราย เป็นเงินกว่า 3 หมื่นล้านบาท ส่วนที่เหลือคาดว่า จะทยอยคืนได้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปีงบประมาณ 2557-2558
ทั้งนี้ จากยอดผู้ขอใช้สิทธิรถยนต์คันแรกราว 1.25 ล้านราย วงเงิน 9 หมื่นล้านบาท ปัจจุบันได้ส่งมอบรถยนต์ไปแล้วเป็นจำนวนมาก แต่ยังเหลือยอดใบจองที่รอการแสดงขอใช้สิทธิหรือรอรับรถอีกจำนวน 1.3 แสนราย ส่วนยอดขอยกเลิกการใช้สิทธิมีจำนวน 2 หมื่นราย และมีผู้ขอใช้สิทธิที่กระทำผิดเงื่อนไขถือครองรถยนต์ไม่ครบ 5 ปี โดยกรมฯได้รับเงินคืนจากผู้ร่วมโครงการแล้วกว่า 20 ราย ในจำนวนนี้กรมสรรพสามิต ได้ส่งเรื่องเข้าสู่กระบวนการทางกฎหมายแล้วจำนวน 3 ราย
นายจุมพล กล่าวว่า ยอดใบจองที่ยังรอการใช้สิทธิจำนวน 1.3 แสนรายนี้ มีความเป็นไปได้ว่า อาจจะกำลังรอรับรถ หรือไม่ก็ทิ้งใบจอง เพราะบางรายอาจจองรถไว้หลายแห่ง เมื่อรับรถจากค่ายใดค่ายหนึ่งไปแล้ว ก็ไม่ได้แจ้งยกเลิกใช้สิทธิได้ ซึ่งในส่วนนี้กรมสรรพสามิต จะเข้าไปตรวจสอบจำนวนความต้องการขอใช้สิทธิที่แท้จริงว่า มีเหลืออยู่เท่าใด โดยจะใช้วิธีการส่งข้อความสั้น (เอสเอ็มเอส) เพื่อยืนยันการใช้สิทธิทางโทรศัพท์ เพื่อกรมฯ จะได้ตั้งงบประมาณในการจ่ายคืนเงินก่อนปิดโครงการได้ ทั้งนี้ ในเงื่อนไขของโครงการรถยนต์คันแรก คือ เมื่อผู้ใช้สิทธิรับรถเรียบร้อยแล้ว จะต้องยื่นเอกสารขอใช้สิทธิภายใน 90 วัน
"ตัวเลขใบจองที่ค้าง ยังไม่มาใช้สิทธิ ยังไม่น่าตกใจ แต่กรมฯ ต้องเร่งติดตามคนกลุ่มนี้ว่ายังประสงค์จะใช้สิทธิต่อหรือไม่ เพื่อจะได้ตั้งงบประมาณจ่ายคืนภาษีได้ชัดเจน เพราะโครงการจะเป็นปลายเปิด ระยะเวลาปิดโครงการไม่ได้มีมติ ครม.รองรับ อย่างไรก็ตาม เชื่อว่า โครงการดังกล่าว จะมีระยะเวลาต่อจากนี้อีกไม่นานนัก เพราะสิ้นปีนี้จะหมดรุ่นของการจองรถ” นายจุมพลกล่าว และว่า ในแง่การจ่ายเงินนั้น สรรพสามิตได้เตรียมวงเงินไว้เต็มจำนวนสำหรับผู้ที่ขอใช้สิทธิทั้งหมด แต่หากว่า ต้องใช้เงินในจำนวนที่น้อยกว่าเนื่องจากสาเหตุต่างๆ ก็จะทำให้กรมฯใช้งบประมาณที่กันไว้ลดลง
ปี 2556 รายได้เกินเป้า 5% ภาษีรถยนต์นำ
สำหรับผลการจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณ 2556 ซึ่งสิ้นสุดในเดือนกันยายนที่ผ่านมา นายจุมพล กล่าวว่า กรมฯสามารถจัดเก็บได้จำนวนประมาณ 4.3 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเป้าหมาย 2 หมื่นล้านบาท หรือ ประมาณ 5% โดยรายได้จากการจัดเก็บภาษีรถยนต์ ยังคงเป็นรายได้หลัก แม้จะลดลงจากปีก่อนหน้า ขณะที่รายได้จากภาษีสุราจากการปรับขึ้นภาษีในช่วงเดือนที่ผ่านมานั้น ยังไม่เห็นผลในทันที อาจต้องใช้เวลาประมาณ 3 เดือนถึงจะเห็นผลที่ชัดเจน
"ทุกๆ ครั้ง ในช่วงรอยต่อของการปรับขึ้นภาษีมักจะมีผลต่อการจัดเก็บรายได้ประมาณ 3 เดือน ซึ่งเป็นช่วงที่ผู้ประกอบการอยู่ระหว่างการชำระภาษีในอัตราใหม่ อย่างไรก็ดี สำหรับการปรับขึ้นภาษีสุราในช่วงที่ผ่านมา ขณะนี้ผู้ประกอบการได้เริ่มทยอยชำระภาษีในอัตราใหม่ ซึ่งก็จะมีผลต่อราคาขายปลีกของสินค้าที่กำลังทยอยปรับเพิ่มขึ้น"
ส่วนเป้าหมายจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณ 2557 ตั้งไว้ที่ 4.66 แสนล้านบาท บนฐานที่ยังไม่มีการปรับเพิ่มอัตราภาษีน้ำมันดีเซล
เขายังกล่าวด้วยว่า กรมฯ ได้ลงนามความร่วมมือกับธนาคารยูโอบี เปิดให้บริการชำระภาษีสรรพสามิตผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากเดิมที่มีธนาคารเข้าร่วมโครงการกับกรมฯ จำนวน 8 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย ธนาคารซิตี้แบงก์ ธนาคารมิซูโฮ ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น และ ธนาคารดอยช์แบงก์ เอจี สาขากรุงเทพฯ
"การใช้บริการชำระภาษีสรรพสามิตผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำให้การจัดเก็บภาษีของกรมฯ เป็นแบบ Real-time พร้อมอำนวยความสะดวกและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการทุกอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเฉพาะรายใหญ่ เข้ามายืนชำระภาษีผ่านช่องทางนี้มากขึ้น"
ทั้งนี้ ปัจจุบันการจัดเก็บภาษีผ่านช่องทางนี้เฉลี่ยอยู่ที่ 400-500 ล้านบาทต่อปี ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ประกอบรายย่อยและผู้ประกอบการยานยนต์ คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 70-80% ของผู้
ประกอบการทุกอุตสาหกรรม ดังนั้น จึงต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการยิ่งขึ้น ขณะนี้กลุ่มผู้ประกอบการน้ำมัน กำลังพัฒนาระบบให้สมบูรณ์ เพื่อเข้ามาใช้บริการ เช่น กลุ่มไทยออยล์ และ บริษัท ปตท. เป็นต้น
ไม่กำหนดเวลารับรถ-แบกสต็อกอ่วม
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธาน และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า รถยนต์ในโครงการรถคันแรกที่ยังไม่ได้ส่งมอบประมาณ 1.3 แสนคัน ส่งผลให้ตัวแทนจำหน่ายต้องแบกรับค่าใช้จ่ายในการสต็อกรถ ไม่ว่าจะเป็นดอกเบี้ย และค่าดูแลรักษา
ปัญหาสำคัญที่ทำให้ลูกค้าไม่มารับรถ และส่งผลให้เกิดสต็อกตามมาก็คือ การที่โครงการนี้ไม่ได้กำหนดระยะเวลารับรถ สามารถรับเมื่อไรก็ได้ที่พร้อม ทำให้ลูกค้าในจำนวน 1.3 แสนราย ขอเลื่อนการรับรถออกไปเรื่อยๆ เนื่องจากยังไม่มีความพร้อม
"ปัญหาคือ ลูกค้าบางส่วนขอเลื่อนการรับรถออกไป ไม่ได้ขอยกเลิก ดังนั้นค่ายรถก็ยังจำเป็นที่จะต้องสำรองรถเอาไว้ ไม่สามารถขายให้กับลูกค้ารายอื่นได้ เพราะกลัวว่าถ้าขายไปแล้ว ลูกค้าตัดสินใจมารับรถภายหลังแล้วไม่มีให้ จะเกิดการฟ้องร้องกันได้"
ส่วนการที่ยังต้องเก็บรถไว้ เพราะรถยนต์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ไมเนอร์เชนจ์ หรือเปลี่ยนรุ่นใหม่ ดังนั้นหากขายรถในสต็อกออกไป แต่ถึงเวลาลูกค้าตัดสินใจรับรถ อาจจะได้รถที่มีรายละเอียดไม่เหมือนที่จองไว้ อาจเกิดปัญหาได้ ค่ายรถจึงต้องลดความเสี่ยงปัญหาที่จะตามมา
เขากล่าวว่า ทางออกที่ทุกค่ายพยายามดำเนินการในตอนนี้คือ การติดต่อกับลูกค้า เพื่อขอความชัดเจนว่าต้องการยกเลิกการใช้สิทธิหรือไม่ หากต้องการยกเลิกก็จะต้องทำเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อป้องกันปัญหา
"ปัญหาเกิดตรงที่โครงการนี้กำหนดระยะเวลาใช้สิทธิถึง 31 ธ.ค. 2555 แต่ไม่ได้กำหนดเวลารับรถ ทำให้มีปัญหาต่อเนื่องทั้งด้านการผลิต การสต็อกรถปัจจุบันยอดขายรถเฉลี่ยเดือนละกว่า 9 หมื่นคัน ดังนั้นสต็อก 1.3 แสนคัน หากชัดเจนก็ไม่น่าจะใช่เรื่องยากที่จะจัดการ"
กำลังซื้อรถเล็กหมด - รถใหม่กระตุ้นปลายปี
นายสมภพ ปฏิภานธาดา ผู้จัดการส่วนงานการตลาด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยว่า ยอดจองรถจากโครงการรถคันแรกในส่วนของฮอนด้า ขณะนี้ส่งมอบได้เกือบหมดแล้ว จึงไม่มีปัญหาเรื่องของสต็อกมากนัก
อย่างไรก็ตามโครงการรถคันแรกที่ดึงกำลังซื้อไปจำนวนมากในปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะเดือน ธ.ค. 2555 ที่มียอดจองเดือนเดียวกว่า 4 แสนคัน ส่งผลให้กำลังซื้อรถเล็กในช่วงต้นปีนี้หายไปอย่างมาก ค่ายรถจึงต้องพยายามสร้างกำลังซื้อใหม่ด้วยการจัดแคมเปญส่งเสริมการขายอย่างรุนแรง และเชื่อว่าจะต่อเนื่องไปจนถึงสิ้นปีนี้
นอกจากนี้ ก็ยังมีการเจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม เช่น ฮอนด้าที่มีแคมเปญพิเศษกลุ่มข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ สำหรับซิตี้ ดอกเบี้ย 0% 48 เดือน เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าช่วงปลายปีกำลังซื้อบางส่วนเริ่มกลับเข้ามา บวกกับจะมีรถรุ่นใหม่เปิดตัวอีกจำนวนมาก จะเป็นการกระตุ้นตลาดได้อีกทางหนึ่ง และมีความเป็นไปได้ที่ยอดขายรถโดยรวมปีนี้จะอยู่ในระดับ 1.3 แสนคัน หรือมากกว่า ซึ่งสูงกว่าคาดการณ์เดิมที่ 1.2 ล้านคัน
ค่ายรถแทงสูญใบจองรถคันแรก
แหล่งข่าวจาก ผู้แทนจำหน่าย รถยนต์รายใหญ่ กล่าวถึงภาวะของรถคันแรกหลังจากที่หมดโครงการของรัฐบาลแล้วพบว่า ในขณะนี้รายชื่อลูกค้าที่ไม่แอ็คทีฟหรือทิ้งใบจอง ผู้จำหน่ายส่วนใหญ่แยกลูกค้ากลุ่มนี้ออกจากลูกค้าปกติ โดยแทงเป็นลูกค้าไม่แอ็คทีฟและใช้วิธีการหาลูกค้าใหม่ทดแทนในการรับรถในสต็อก ซึ่งส่วนใหญ่ค่ายรถใช้วิธีการโทรศัพท์ ส่งจดหมายเพื่ออัพเดท ความต้องการว่ายังจะออเดอร์รถอยู่หรือไม่ โดยร่วมเคลียร์เอกสารเหล่านี้มาตั้งแต่เดือนมีนาคม -กรกฎาคม และหากลุ่มลูกค้ามาทดแทนในเวลาเดียวกัน โดยวิธีการหาลูกค้าใหม่จะสะท้อนออกมาจากแคมเปญต่างๆ ของค่ายรถที่แข่งขันกันรุนแรงมากในช่วงไตรมาสแรกและไตรมาสสองของปีนี้
"ปัญหาการไม่รับรถเกิดจาก การจองหลายๆ ดีลเลอร์ พร้อมกันและการไม่พร้อมของผู้ซื้อ ที่ไม่ได้มีความต้องการที่แท้จริง ในขณะที่โครงการนี้สร้างปัญหาในการบริหารให้แก่ค่ายรถ เพราะว่า เป็นการนำเอาความต้องการซื้อในอนาคตมาใช้ ทำให้บริหารจัดการยาก ทำให้ค่ายรถต้องมาออกแคมเปญ อะไรที่ไม่จำกัดเวลา ไม่จำกัดขอบเขต เลยมีผลกระทบ หากจะมีโครงการแบบนี้เกิดขึ้นอีกคิดว่าทุกค่ายไม่น่าจะชอบ" แหล่งข่าวกล่าว
ด้านดีลเลอร์รายใหญ่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายศุภชัย ลิ้มวัฒนาพิบูลย์ บริษัท มิตซูบิชิ แก่นยนต์ไพบูลย์ จำกัด กล่าวว่า บริษัทรับออเดอร์รถคันแรกมาราว 1,500 คัน ในช่วงนั้นโชว์รูมคึกคัก แต่พอข้ามปีสถานการณ์เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือรถที่รอลูกค้ามารับ มีสต็อกเมื่อเดือนม.ค. 1,000 กว่าคัน ในขณะที่หาลูกค้ายากมากที่จะมารับรถ หลังปีใหม่ที่ผ่านมาบริษัทคาดการณ์ว่า จะผิดแผนแน่นอน จึงเริ่มหาทางลดสต็อก โดยทำกลยุทธ์การขายทุกอย่าง เช่น ดาวน์รถ 9 บาท หรือโฉนดแลกรถ โดยเอาโฉนดมาค้ำผ่อนหมดคืนโฉนดไปโดยไม่ต้องดาวน์ก็มี ซึ่งขณะนี้ สต็อกเริ่มปกติ คือ 1.5 เดือน ซึ่งจากข้อมูลที่รับออเดอร์มา 1,000 คัน คัดลูกค้าที่รับรถจริงแค่ 100 คัน แต่เราก็สามารถผ่านสถานการณ์นั้นไปได้
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... อกบาน.html
โครงการรถยนต์คันแรก หนึ่งในนโยบายประชานิยมของรัฐ และเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้หนี้ครัวเรือนปรับตัวสูงขึ้น จนถึงขณะนี้กรมสรรพสามิตยังอยู่ในกระบวนการคืนเงินภาษี จากจำนวนรถที่เข้าร่วมโครงการ 1.25 ล้านคันที่เข้าร่วมโครงการ ในจำนวนนี้ 1.3 แสนคัน หรือคิดเป็น 10% ที่ยังไม่ยืนยันการใช้สิทธิ ภายใต้สถานการณ์กำลังซื้อซบเซา แคมเปญเดือดรถป้ายแดง จูงใจให้เกิดการทิ้งใบจองโครงการรถคันแรก
นายจุมพล ริมสาคร ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาและบริหารการจัดเก็บภาษี กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง กล่าวถึงความคืบหน้าโครงการรถยนต์คันแรกว่า ปัจจุบันกรมสรรพสามิตได้ทยอยคืนเงินภาษีให้แก่ผู้ขอใช้สิทธิในโครงการรถยนต์คันแรกแล้วจำนวนประมาณ 5 แสนราย เป็นเงินกว่า 3 หมื่นล้านบาท ส่วนที่เหลือคาดว่า จะทยอยคืนได้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปีงบประมาณ 2557-2558
ทั้งนี้ จากยอดผู้ขอใช้สิทธิรถยนต์คันแรกราว 1.25 ล้านราย วงเงิน 9 หมื่นล้านบาท ปัจจุบันได้ส่งมอบรถยนต์ไปแล้วเป็นจำนวนมาก แต่ยังเหลือยอดใบจองที่รอการแสดงขอใช้สิทธิหรือรอรับรถอีกจำนวน 1.3 แสนราย ส่วนยอดขอยกเลิกการใช้สิทธิมีจำนวน 2 หมื่นราย และมีผู้ขอใช้สิทธิที่กระทำผิดเงื่อนไขถือครองรถยนต์ไม่ครบ 5 ปี โดยกรมฯได้รับเงินคืนจากผู้ร่วมโครงการแล้วกว่า 20 ราย ในจำนวนนี้กรมสรรพสามิต ได้ส่งเรื่องเข้าสู่กระบวนการทางกฎหมายแล้วจำนวน 3 ราย
นายจุมพล กล่าวว่า ยอดใบจองที่ยังรอการใช้สิทธิจำนวน 1.3 แสนรายนี้ มีความเป็นไปได้ว่า อาจจะกำลังรอรับรถ หรือไม่ก็ทิ้งใบจอง เพราะบางรายอาจจองรถไว้หลายแห่ง เมื่อรับรถจากค่ายใดค่ายหนึ่งไปแล้ว ก็ไม่ได้แจ้งยกเลิกใช้สิทธิได้ ซึ่งในส่วนนี้กรมสรรพสามิต จะเข้าไปตรวจสอบจำนวนความต้องการขอใช้สิทธิที่แท้จริงว่า มีเหลืออยู่เท่าใด โดยจะใช้วิธีการส่งข้อความสั้น (เอสเอ็มเอส) เพื่อยืนยันการใช้สิทธิทางโทรศัพท์ เพื่อกรมฯ จะได้ตั้งงบประมาณในการจ่ายคืนเงินก่อนปิดโครงการได้ ทั้งนี้ ในเงื่อนไขของโครงการรถยนต์คันแรก คือ เมื่อผู้ใช้สิทธิรับรถเรียบร้อยแล้ว จะต้องยื่นเอกสารขอใช้สิทธิภายใน 90 วัน
"ตัวเลขใบจองที่ค้าง ยังไม่มาใช้สิทธิ ยังไม่น่าตกใจ แต่กรมฯ ต้องเร่งติดตามคนกลุ่มนี้ว่ายังประสงค์จะใช้สิทธิต่อหรือไม่ เพื่อจะได้ตั้งงบประมาณจ่ายคืนภาษีได้ชัดเจน เพราะโครงการจะเป็นปลายเปิด ระยะเวลาปิดโครงการไม่ได้มีมติ ครม.รองรับ อย่างไรก็ตาม เชื่อว่า โครงการดังกล่าว จะมีระยะเวลาต่อจากนี้อีกไม่นานนัก เพราะสิ้นปีนี้จะหมดรุ่นของการจองรถ” นายจุมพลกล่าว และว่า ในแง่การจ่ายเงินนั้น สรรพสามิตได้เตรียมวงเงินไว้เต็มจำนวนสำหรับผู้ที่ขอใช้สิทธิทั้งหมด แต่หากว่า ต้องใช้เงินในจำนวนที่น้อยกว่าเนื่องจากสาเหตุต่างๆ ก็จะทำให้กรมฯใช้งบประมาณที่กันไว้ลดลง
ปี 2556 รายได้เกินเป้า 5% ภาษีรถยนต์นำ
สำหรับผลการจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณ 2556 ซึ่งสิ้นสุดในเดือนกันยายนที่ผ่านมา นายจุมพล กล่าวว่า กรมฯสามารถจัดเก็บได้จำนวนประมาณ 4.3 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเป้าหมาย 2 หมื่นล้านบาท หรือ ประมาณ 5% โดยรายได้จากการจัดเก็บภาษีรถยนต์ ยังคงเป็นรายได้หลัก แม้จะลดลงจากปีก่อนหน้า ขณะที่รายได้จากภาษีสุราจากการปรับขึ้นภาษีในช่วงเดือนที่ผ่านมานั้น ยังไม่เห็นผลในทันที อาจต้องใช้เวลาประมาณ 3 เดือนถึงจะเห็นผลที่ชัดเจน
"ทุกๆ ครั้ง ในช่วงรอยต่อของการปรับขึ้นภาษีมักจะมีผลต่อการจัดเก็บรายได้ประมาณ 3 เดือน ซึ่งเป็นช่วงที่ผู้ประกอบการอยู่ระหว่างการชำระภาษีในอัตราใหม่ อย่างไรก็ดี สำหรับการปรับขึ้นภาษีสุราในช่วงที่ผ่านมา ขณะนี้ผู้ประกอบการได้เริ่มทยอยชำระภาษีในอัตราใหม่ ซึ่งก็จะมีผลต่อราคาขายปลีกของสินค้าที่กำลังทยอยปรับเพิ่มขึ้น"
ส่วนเป้าหมายจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณ 2557 ตั้งไว้ที่ 4.66 แสนล้านบาท บนฐานที่ยังไม่มีการปรับเพิ่มอัตราภาษีน้ำมันดีเซล
เขายังกล่าวด้วยว่า กรมฯ ได้ลงนามความร่วมมือกับธนาคารยูโอบี เปิดให้บริการชำระภาษีสรรพสามิตผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากเดิมที่มีธนาคารเข้าร่วมโครงการกับกรมฯ จำนวน 8 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย ธนาคารซิตี้แบงก์ ธนาคารมิซูโฮ ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น และ ธนาคารดอยช์แบงก์ เอจี สาขากรุงเทพฯ
"การใช้บริการชำระภาษีสรรพสามิตผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำให้การจัดเก็บภาษีของกรมฯ เป็นแบบ Real-time พร้อมอำนวยความสะดวกและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการทุกอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเฉพาะรายใหญ่ เข้ามายืนชำระภาษีผ่านช่องทางนี้มากขึ้น"
ทั้งนี้ ปัจจุบันการจัดเก็บภาษีผ่านช่องทางนี้เฉลี่ยอยู่ที่ 400-500 ล้านบาทต่อปี ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ประกอบรายย่อยและผู้ประกอบการยานยนต์ คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 70-80% ของผู้
ประกอบการทุกอุตสาหกรรม ดังนั้น จึงต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการยิ่งขึ้น ขณะนี้กลุ่มผู้ประกอบการน้ำมัน กำลังพัฒนาระบบให้สมบูรณ์ เพื่อเข้ามาใช้บริการ เช่น กลุ่มไทยออยล์ และ บริษัท ปตท. เป็นต้น
ไม่กำหนดเวลารับรถ-แบกสต็อกอ่วม
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธาน และโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า รถยนต์ในโครงการรถคันแรกที่ยังไม่ได้ส่งมอบประมาณ 1.3 แสนคัน ส่งผลให้ตัวแทนจำหน่ายต้องแบกรับค่าใช้จ่ายในการสต็อกรถ ไม่ว่าจะเป็นดอกเบี้ย และค่าดูแลรักษา
ปัญหาสำคัญที่ทำให้ลูกค้าไม่มารับรถ และส่งผลให้เกิดสต็อกตามมาก็คือ การที่โครงการนี้ไม่ได้กำหนดระยะเวลารับรถ สามารถรับเมื่อไรก็ได้ที่พร้อม ทำให้ลูกค้าในจำนวน 1.3 แสนราย ขอเลื่อนการรับรถออกไปเรื่อยๆ เนื่องจากยังไม่มีความพร้อม
"ปัญหาคือ ลูกค้าบางส่วนขอเลื่อนการรับรถออกไป ไม่ได้ขอยกเลิก ดังนั้นค่ายรถก็ยังจำเป็นที่จะต้องสำรองรถเอาไว้ ไม่สามารถขายให้กับลูกค้ารายอื่นได้ เพราะกลัวว่าถ้าขายไปแล้ว ลูกค้าตัดสินใจมารับรถภายหลังแล้วไม่มีให้ จะเกิดการฟ้องร้องกันได้"
ส่วนการที่ยังต้องเก็บรถไว้ เพราะรถยนต์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ไมเนอร์เชนจ์ หรือเปลี่ยนรุ่นใหม่ ดังนั้นหากขายรถในสต็อกออกไป แต่ถึงเวลาลูกค้าตัดสินใจรับรถ อาจจะได้รถที่มีรายละเอียดไม่เหมือนที่จองไว้ อาจเกิดปัญหาได้ ค่ายรถจึงต้องลดความเสี่ยงปัญหาที่จะตามมา
เขากล่าวว่า ทางออกที่ทุกค่ายพยายามดำเนินการในตอนนี้คือ การติดต่อกับลูกค้า เพื่อขอความชัดเจนว่าต้องการยกเลิกการใช้สิทธิหรือไม่ หากต้องการยกเลิกก็จะต้องทำเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อป้องกันปัญหา
"ปัญหาเกิดตรงที่โครงการนี้กำหนดระยะเวลาใช้สิทธิถึง 31 ธ.ค. 2555 แต่ไม่ได้กำหนดเวลารับรถ ทำให้มีปัญหาต่อเนื่องทั้งด้านการผลิต การสต็อกรถปัจจุบันยอดขายรถเฉลี่ยเดือนละกว่า 9 หมื่นคัน ดังนั้นสต็อก 1.3 แสนคัน หากชัดเจนก็ไม่น่าจะใช่เรื่องยากที่จะจัดการ"
กำลังซื้อรถเล็กหมด - รถใหม่กระตุ้นปลายปี
นายสมภพ ปฏิภานธาดา ผู้จัดการส่วนงานการตลาด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยว่า ยอดจองรถจากโครงการรถคันแรกในส่วนของฮอนด้า ขณะนี้ส่งมอบได้เกือบหมดแล้ว จึงไม่มีปัญหาเรื่องของสต็อกมากนัก
อย่างไรก็ตามโครงการรถคันแรกที่ดึงกำลังซื้อไปจำนวนมากในปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะเดือน ธ.ค. 2555 ที่มียอดจองเดือนเดียวกว่า 4 แสนคัน ส่งผลให้กำลังซื้อรถเล็กในช่วงต้นปีนี้หายไปอย่างมาก ค่ายรถจึงต้องพยายามสร้างกำลังซื้อใหม่ด้วยการจัดแคมเปญส่งเสริมการขายอย่างรุนแรง และเชื่อว่าจะต่อเนื่องไปจนถึงสิ้นปีนี้
นอกจากนี้ ก็ยังมีการเจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม เช่น ฮอนด้าที่มีแคมเปญพิเศษกลุ่มข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ สำหรับซิตี้ ดอกเบี้ย 0% 48 เดือน เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าช่วงปลายปีกำลังซื้อบางส่วนเริ่มกลับเข้ามา บวกกับจะมีรถรุ่นใหม่เปิดตัวอีกจำนวนมาก จะเป็นการกระตุ้นตลาดได้อีกทางหนึ่ง และมีความเป็นไปได้ที่ยอดขายรถโดยรวมปีนี้จะอยู่ในระดับ 1.3 แสนคัน หรือมากกว่า ซึ่งสูงกว่าคาดการณ์เดิมที่ 1.2 ล้านคัน
ค่ายรถแทงสูญใบจองรถคันแรก
แหล่งข่าวจาก ผู้แทนจำหน่าย รถยนต์รายใหญ่ กล่าวถึงภาวะของรถคันแรกหลังจากที่หมดโครงการของรัฐบาลแล้วพบว่า ในขณะนี้รายชื่อลูกค้าที่ไม่แอ็คทีฟหรือทิ้งใบจอง ผู้จำหน่ายส่วนใหญ่แยกลูกค้ากลุ่มนี้ออกจากลูกค้าปกติ โดยแทงเป็นลูกค้าไม่แอ็คทีฟและใช้วิธีการหาลูกค้าใหม่ทดแทนในการรับรถในสต็อก ซึ่งส่วนใหญ่ค่ายรถใช้วิธีการโทรศัพท์ ส่งจดหมายเพื่ออัพเดท ความต้องการว่ายังจะออเดอร์รถอยู่หรือไม่ โดยร่วมเคลียร์เอกสารเหล่านี้มาตั้งแต่เดือนมีนาคม -กรกฎาคม และหากลุ่มลูกค้ามาทดแทนในเวลาเดียวกัน โดยวิธีการหาลูกค้าใหม่จะสะท้อนออกมาจากแคมเปญต่างๆ ของค่ายรถที่แข่งขันกันรุนแรงมากในช่วงไตรมาสแรกและไตรมาสสองของปีนี้
"ปัญหาการไม่รับรถเกิดจาก การจองหลายๆ ดีลเลอร์ พร้อมกันและการไม่พร้อมของผู้ซื้อ ที่ไม่ได้มีความต้องการที่แท้จริง ในขณะที่โครงการนี้สร้างปัญหาในการบริหารให้แก่ค่ายรถ เพราะว่า เป็นการนำเอาความต้องการซื้อในอนาคตมาใช้ ทำให้บริหารจัดการยาก ทำให้ค่ายรถต้องมาออกแคมเปญ อะไรที่ไม่จำกัดเวลา ไม่จำกัดขอบเขต เลยมีผลกระทบ หากจะมีโครงการแบบนี้เกิดขึ้นอีกคิดว่าทุกค่ายไม่น่าจะชอบ" แหล่งข่าวกล่าว
ด้านดีลเลอร์รายใหญ่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายศุภชัย ลิ้มวัฒนาพิบูลย์ บริษัท มิตซูบิชิ แก่นยนต์ไพบูลย์ จำกัด กล่าวว่า บริษัทรับออเดอร์รถคันแรกมาราว 1,500 คัน ในช่วงนั้นโชว์รูมคึกคัก แต่พอข้ามปีสถานการณ์เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือรถที่รอลูกค้ามารับ มีสต็อกเมื่อเดือนม.ค. 1,000 กว่าคัน ในขณะที่หาลูกค้ายากมากที่จะมารับรถ หลังปีใหม่ที่ผ่านมาบริษัทคาดการณ์ว่า จะผิดแผนแน่นอน จึงเริ่มหาทางลดสต็อก โดยทำกลยุทธ์การขายทุกอย่าง เช่น ดาวน์รถ 9 บาท หรือโฉนดแลกรถ โดยเอาโฉนดมาค้ำผ่อนหมดคืนโฉนดไปโดยไม่ต้องดาวน์ก็มี ซึ่งขณะนี้ สต็อกเริ่มปกติ คือ 1.5 เดือน ซึ่งจากข้อมูลที่รับออเดอร์มา 1,000 คัน คัดลูกค้าที่รับรถจริงแค่ 100 คัน แต่เราก็สามารถผ่านสถานการณ์นั้นไปได้
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... อกบาน.html
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 51
ธปท.ไร้กังวล ชี้เอ็นพีแอลจากโครงการรถคันแรกยังต่ำเตี้ยเรี่ยดินไม่ถึง 2% แจงเทียบไม่ติดกับยอดขายรถปีก่อนสูงติดบอร์ดถึง 1.2 ล้านคัน เอ็นพีแอลตอนนี้ยังอยู่ที่ 4-5 พันคัน มั่นใจสถาบันการเงินเอาอยู่ อ่านรายงานแบงก์ทุกเดือนเห็นชัด งัดทั้งไม้นวมยันไม้แข็งคุมลูกค้าผิดนัดชำระหนี้
นายเกริก วณิกกุล รองผู้ว่าการด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้หรือเอ็นพีแอล ในกลุ่มเช่าซื้อรถยนต์จากโครงการรถคันแรก ว่า ระดับหนี้เอ็นพีแอลในกลุ่มเช่าซื้อในปัจจุบันไม่น่าเป็นห่วงมากนัก เนื่องจากหากดูจากเอ็นพีแอลที่เกิดขึ้นจากโครงการรถคันแรกในขณะนี้ยังอยู่ต่ำกว่า 2% และยังใกล้เคียงกับยอดเอ็นพีแอลในไตรมาสแรกของปี
ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวพบว่าเกิดเอ็นพีแอลจากการทิ้งใบจองในโครงการรถคันแรกกว่า 1 แสนคันนั้น ธปท.ยังไม่เห็นตัวเลขดังกล่าว แต่เชื่อว่าไม่น่าจะเห็นเอ็นพีแอลในระดับดังกล่าวได้ อีกทั้งฐานการคำนวณเอ็นพีแอลของ ธปท.จะคำนวณเป็นยอดเอ็นพีแอลทั้งหมดซึ่งคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จะไม่คำนวณออกมาเป็นจำนวนคัน
ขณะที่รายงานการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ที่ส่งมาถึง ธปท. ยังพบว่ามีตัวเลขไม่มาก และคาดว่าเอ็นพีแอลรถคันแรกก็ไม่ได้มีปัญหาจนส่งผลกระทบต่อการปล่อยสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเบื้องต้นเท่าที่ทราบมีแต่ลูกค้าที่ทิ้งใบจองรถยนต์คันแรก ดังนั้น จึงยังไม่ถือเป็นการสร้างความเดือดร้อนต่อการปล่อยสินเชื่อ เพราะการทิ้งใบจองไม่ได้ถึงขั้นการขอสินเชื่อด้วยซ้ำ ดังนั้น ยอดทิ้งใบจองกับยอดเอ็นพีแอลจึงเป็นคนละส่วนกัน
"แบงก์เดือดร้อนนิดเดียวเท่านั้น คือไม่ได้ปล่อยสินเชื่อในส่วนที่ทิ้งใบจอง แต่ก็ดีกว่าเป็นเอ็นพีแอลตอนหลัง ดังนั้น คนที่เดือดร้อนจากการทิ้งใบจองคือดีลเลอร์ขายรถมากกว่า"
อย่างไรก็ตาม มีรายงานระบุว่า ยอดการขายรถยนต์ ณ สิ้นปี 2555 มีจำนวนทั้งสิ้น 1.4 ล้านคัน แบ่งเป็นโครงการรถคันแรก 1.2 ล้านคัน เทียบกับปีก่อนหน้ายอดขายรถยนต์อยู่ที่ 8 แสนกว่าคัน ถ้าเปรียบเทียบยอดขายรถยนต์ที่เพิ่มสูงมากกับเอ็นพีแอลจากสินเชื่อรถยนต์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่ 4,000-5,000 คัน ถือว่าเป็นจำนวนที่ไม่มากนัก
"ปัจจุบันเอ็นพีแอลจากสินเชื่อรถยนต์คันแรกมีไม่ถึง 2% จากจำนวนที่ปล่อยไป และเชื่อว่าในไตรมาส 2 ยอดเอ็นพีแอลน่าจะขยับจากไตรมาสแรกไม่มาก เพราะการปล่อยสินเชื่อของแบงก์ก็เข้มงวดและระวังการเกิดเอ็นพีแอลมากขึ้น ถ้าเกิดผิดนัดชำระหนี้ปุ๊บ แบงก์และลีสซิ่งต่าง ๆ ก็จะดำเนินการสอบถามลูกค้าทันที เพื่อแก้ไขปัญหา กระทั่งยึดหรือขายต่อทันที เพื่อไม่ให้ค้างในระบบ ซึ่งก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีเพราะเป็นวิธีที่แบงก์จะสามารถดูแลตัวเองได้"
พร้อมให้ความเห็นถึงการปล่อยสินเชื่อที่อาจลดลงตามภาวะการอุปโภคบริโภคของประชาชนที่ชะลอตัวลงในช่วงที่ผ่านมาว่า เรื่องนี้ต้องติดตามดูต่อไป อย่างไรก็ตาม ยืนยันว่าเท่าที่ติดตามอยู่ยังเห็นการให้สินเชื่อขยายตัวต่อเนื่อง
ทั้งนี้ ธปท.พบว่าเอ็นพีแอลจากสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ณ ไตรมาสแรกปีนี้ อยู่ที่ 1.32 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็น 1.5% ส่วนไตรมาส 2 แม้จะพบยอดค้างชำระเกิน 1 เดือน เพิ่มขึ้นเป็น 6.8% หรือ 6 หมื่นล้านบาท แต่ ณ สิ้นเดือน มิ.ย.กลับพบว่าเอ็นพีแอลสินเชื่อรถยนต์ยังอยู่ที่ 1.49 หมื่นล้านบาทเท่านั้น
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0900
นายเกริก วณิกกุล รองผู้ว่าการด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้หรือเอ็นพีแอล ในกลุ่มเช่าซื้อรถยนต์จากโครงการรถคันแรก ว่า ระดับหนี้เอ็นพีแอลในกลุ่มเช่าซื้อในปัจจุบันไม่น่าเป็นห่วงมากนัก เนื่องจากหากดูจากเอ็นพีแอลที่เกิดขึ้นจากโครงการรถคันแรกในขณะนี้ยังอยู่ต่ำกว่า 2% และยังใกล้เคียงกับยอดเอ็นพีแอลในไตรมาสแรกของปี
ส่วนกรณีที่มีรายงานข่าวพบว่าเกิดเอ็นพีแอลจากการทิ้งใบจองในโครงการรถคันแรกกว่า 1 แสนคันนั้น ธปท.ยังไม่เห็นตัวเลขดังกล่าว แต่เชื่อว่าไม่น่าจะเห็นเอ็นพีแอลในระดับดังกล่าวได้ อีกทั้งฐานการคำนวณเอ็นพีแอลของ ธปท.จะคำนวณเป็นยอดเอ็นพีแอลทั้งหมดซึ่งคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จะไม่คำนวณออกมาเป็นจำนวนคัน
ขณะที่รายงานการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ที่ส่งมาถึง ธปท. ยังพบว่ามีตัวเลขไม่มาก และคาดว่าเอ็นพีแอลรถคันแรกก็ไม่ได้มีปัญหาจนส่งผลกระทบต่อการปล่อยสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเบื้องต้นเท่าที่ทราบมีแต่ลูกค้าที่ทิ้งใบจองรถยนต์คันแรก ดังนั้น จึงยังไม่ถือเป็นการสร้างความเดือดร้อนต่อการปล่อยสินเชื่อ เพราะการทิ้งใบจองไม่ได้ถึงขั้นการขอสินเชื่อด้วยซ้ำ ดังนั้น ยอดทิ้งใบจองกับยอดเอ็นพีแอลจึงเป็นคนละส่วนกัน
"แบงก์เดือดร้อนนิดเดียวเท่านั้น คือไม่ได้ปล่อยสินเชื่อในส่วนที่ทิ้งใบจอง แต่ก็ดีกว่าเป็นเอ็นพีแอลตอนหลัง ดังนั้น คนที่เดือดร้อนจากการทิ้งใบจองคือดีลเลอร์ขายรถมากกว่า"
อย่างไรก็ตาม มีรายงานระบุว่า ยอดการขายรถยนต์ ณ สิ้นปี 2555 มีจำนวนทั้งสิ้น 1.4 ล้านคัน แบ่งเป็นโครงการรถคันแรก 1.2 ล้านคัน เทียบกับปีก่อนหน้ายอดขายรถยนต์อยู่ที่ 8 แสนกว่าคัน ถ้าเปรียบเทียบยอดขายรถยนต์ที่เพิ่มสูงมากกับเอ็นพีแอลจากสินเชื่อรถยนต์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่ 4,000-5,000 คัน ถือว่าเป็นจำนวนที่ไม่มากนัก
"ปัจจุบันเอ็นพีแอลจากสินเชื่อรถยนต์คันแรกมีไม่ถึง 2% จากจำนวนที่ปล่อยไป และเชื่อว่าในไตรมาส 2 ยอดเอ็นพีแอลน่าจะขยับจากไตรมาสแรกไม่มาก เพราะการปล่อยสินเชื่อของแบงก์ก็เข้มงวดและระวังการเกิดเอ็นพีแอลมากขึ้น ถ้าเกิดผิดนัดชำระหนี้ปุ๊บ แบงก์และลีสซิ่งต่าง ๆ ก็จะดำเนินการสอบถามลูกค้าทันที เพื่อแก้ไขปัญหา กระทั่งยึดหรือขายต่อทันที เพื่อไม่ให้ค้างในระบบ ซึ่งก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีเพราะเป็นวิธีที่แบงก์จะสามารถดูแลตัวเองได้"
พร้อมให้ความเห็นถึงการปล่อยสินเชื่อที่อาจลดลงตามภาวะการอุปโภคบริโภคของประชาชนที่ชะลอตัวลงในช่วงที่ผ่านมาว่า เรื่องนี้ต้องติดตามดูต่อไป อย่างไรก็ตาม ยืนยันว่าเท่าที่ติดตามอยู่ยังเห็นการให้สินเชื่อขยายตัวต่อเนื่อง
ทั้งนี้ ธปท.พบว่าเอ็นพีแอลจากสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ณ ไตรมาสแรกปีนี้ อยู่ที่ 1.32 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็น 1.5% ส่วนไตรมาส 2 แม้จะพบยอดค้างชำระเกิน 1 เดือน เพิ่มขึ้นเป็น 6.8% หรือ 6 หมื่นล้านบาท แต่ ณ สิ้นเดือน มิ.ย.กลับพบว่าเอ็นพีแอลสินเชื่อรถยนต์ยังอยู่ที่ 1.49 หมื่นล้านบาทเท่านั้น
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0900
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 52
คำถามที่น่าคิด
ใบจองรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เกิดการผลิตรถยนต์ในรุ่นที่เข้าโครงการจำนวนมาก แล้วถ้าหากประชาชนทิ้งใบจอง แล้วค่ายรถยนต์ จะจัดการกับใบจองดังกล่าวเพื่อผลิตอย่างไง หรือ ว่าผลิตตามใบจองดังกล่าวแล้ว
ในอนาคตอาจจะมีการปรับเพิ่มราคาใบจองที่ 5,000 บาทให้สูงขึ้นได้ เหมือน การจองคอนโดมิเนี่ยม/บ้านหรือเปล่าหนอ
ใบจองรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรก ทำให้เกิดการผลิตรถยนต์ในรุ่นที่เข้าโครงการจำนวนมาก แล้วถ้าหากประชาชนทิ้งใบจอง แล้วค่ายรถยนต์ จะจัดการกับใบจองดังกล่าวเพื่อผลิตอย่างไง หรือ ว่าผลิตตามใบจองดังกล่าวแล้ว
ในอนาคตอาจจะมีการปรับเพิ่มราคาใบจองที่ 5,000 บาทให้สูงขึ้นได้ เหมือน การจองคอนโดมิเนี่ยม/บ้านหรือเปล่าหนอ
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 53
BOI อนุมัติลงทุน 31 โครงการ กว่า 1.5แสนล.
หน้าหลัก » เศรษฐกิจ
บอร์ดบีโอไออนุมัติลงทุนกว่า 1.5 แสนล้านบาท ผู้ผลิตไฟฟ้าลงทุนครั้งใหญ่ - กลุ่มยานยนต์เร่งขยายกำลังการผลิต...
เมื่อวันที่ 7 ต.ค.56 นายอุดม วงศ์วิวัฒน์ไชย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบีโอไอ ได้อนุมัติส่งเสริมการลงทุน 31 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 152,588 ล้านบาท เช่น บริษัทอาหารเบทเทอร์ จำกัด ขยายกิจการผลิตไข่ไก่เชื้อ กำลังผลิตปีละประมาณ 89,837,000 ใบ เงินลงทุน 1,703 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี, บริษัท อาอิชิ อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนเหล็กทุบขึ้นรูป ที่ทุบขึ้นรูปเอง กำลังผลิตรวมปีละ 33,900 ตัน เงินลงทุน 1,451 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง (แหลมฉบัง) จ.ชลบุรี
บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลสำหรับรถบรรทุกเพื่อการพาณิชย์ (ไม่รวมรถกระบะ 1 ตัน) กำลังผลิตปีละ 43,650 เครื่อง เงินลงทุน 2,000 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง, บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ เช่น เฟืองหน้า เพลาหลัง คอม้า ดุมล้อ แชสซี และฝาท้าย รวมกำลังผลิตปีละประมาณ 5,503,000 ชิ้น เงินลงทุน 7,447 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ จ.สมุทรปราการ, บริษัท ไทยซัมมิท พีเคเค บางปะกง จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ กำลังผลิตรวมปีละ 272,050 ชิ้น เงินลงทุน 1,410 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี
บริษัท มูซาชิออโตพาร์ท จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนเกียร์สำหรับยานพาหนะ กำลังผลิตรวมปีละ 6,400,000 ชิ้น เงินลงทุน 1,500 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของบริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี, บริษัท โชนัน ยูนิเทค (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนโลหะสำหรับยานพาหนะ กำลังผลิตปีละ 5,800,000 ชิ้น เงินลงทุน 1,030 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จ.ฉะเชิงเทรา, บริษัท สยามโตโยต้าอุตสาหกรรม จำกัด ขยายกิจการผลิตเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคล กำลังผลิตปีละ 105,000 เครื่อง และเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสำหรับรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ปีละประมาณ 89,450 เครื่อง เงินลงทุน 5,196 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี
บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 3 จำกัด ผลิตไฟฟ้าจากก๊าชธรรมชาติ ขนาด 142 เมกะวัตต์ และไอน้ำ 30 ตัน/ชั่วโมง เงินลงทุน 5,600 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ แพลนท์ 5 เอ จำกัด ขยายกิจการผลิตไฟฟ้าจากไอน้ำเชื้อเพลิงชีวมวล กำลังผลิต 98 เมกะวัตต์ เงินลงทุนทั้งสิ้น 1,300 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของ บริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ แพลนท์ 12 จำกัด ผลิตไฟฟ้าจากน้ำมันยางดำ ขนาด 90 เมกะวัตต์ และไอน้ำ 172 ตัน/ชั่วโมง เงินลงทุน 6,059 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของบริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี.
โดย: ไทยรัฐออนไลน์
หน้าหลัก » เศรษฐกิจ
บอร์ดบีโอไออนุมัติลงทุนกว่า 1.5 แสนล้านบาท ผู้ผลิตไฟฟ้าลงทุนครั้งใหญ่ - กลุ่มยานยนต์เร่งขยายกำลังการผลิต...
เมื่อวันที่ 7 ต.ค.56 นายอุดม วงศ์วิวัฒน์ไชย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบีโอไอ ได้อนุมัติส่งเสริมการลงทุน 31 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 152,588 ล้านบาท เช่น บริษัทอาหารเบทเทอร์ จำกัด ขยายกิจการผลิตไข่ไก่เชื้อ กำลังผลิตปีละประมาณ 89,837,000 ใบ เงินลงทุน 1,703 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี, บริษัท อาอิชิ อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนเหล็กทุบขึ้นรูป ที่ทุบขึ้นรูปเอง กำลังผลิตรวมปีละ 33,900 ตัน เงินลงทุน 1,451 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง (แหลมฉบัง) จ.ชลบุรี
บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลสำหรับรถบรรทุกเพื่อการพาณิชย์ (ไม่รวมรถกระบะ 1 ตัน) กำลังผลิตปีละ 43,650 เครื่อง เงินลงทุน 2,000 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง, บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ เช่น เฟืองหน้า เพลาหลัง คอม้า ดุมล้อ แชสซี และฝาท้าย รวมกำลังผลิตปีละประมาณ 5,503,000 ชิ้น เงินลงทุน 7,447 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่ จ.สมุทรปราการ, บริษัท ไทยซัมมิท พีเคเค บางปะกง จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ กำลังผลิตรวมปีละ 272,050 ชิ้น เงินลงทุน 1,410 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี
บริษัท มูซาชิออโตพาร์ท จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนเกียร์สำหรับยานพาหนะ กำลังผลิตรวมปีละ 6,400,000 ชิ้น เงินลงทุน 1,500 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของบริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี, บริษัท โชนัน ยูนิเทค (ประเทศไทย) จำกัด ขยายกิจการผลิตชิ้นส่วนโลหะสำหรับยานพาหนะ กำลังผลิตปีละ 5,800,000 ชิ้น เงินลงทุน 1,030 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จ.ฉะเชิงเทรา, บริษัท สยามโตโยต้าอุตสาหกรรม จำกัด ขยายกิจการผลิตเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคล กำลังผลิตปีละ 105,000 เครื่อง และเครื่องยนต์แก๊สโซลีนสำหรับรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ปีละประมาณ 89,450 เครื่อง เงินลงทุน 5,196 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี
บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 3 จำกัด ผลิตไฟฟ้าจากก๊าชธรรมชาติ ขนาด 142 เมกะวัตต์ และไอน้ำ 30 ตัน/ชั่วโมง เงินลงทุน 5,600 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ แพลนท์ 5 เอ จำกัด ขยายกิจการผลิตไฟฟ้าจากไอน้ำเชื้อเพลิงชีวมวล กำลังผลิต 98 เมกะวัตต์ เงินลงทุนทั้งสิ้น 1,300 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของ บริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ แพลนท์ 12 จำกัด ผลิตไฟฟ้าจากน้ำมันยางดำ ขนาด 90 เมกะวัตต์ และไอน้ำ 172 ตัน/ชั่วโมง เงินลงทุน 6,059 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่เขตอุตสาหกรรมของบริษัท 304 จ.ปราจีนบุรี.
โดย: ไทยรัฐออนไลน์
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 54
"มิตซู" ประสานมือดีลเลอร์ แก้เกมสต๊อกล้น
updated: 09 ต.ค. 2556 เวลา 17:55:32 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
สัมภาษณ์
เป็นที่ทราบกันดีว่าตลาดรถยนต์ในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้บรรดาค่ายรถยนต์ต่างตกอยู่ในภาวะ "หืดขึ้นคอ" นโยบาย "รถคันแรก" ทำให้หลายคนต่างประเมินตลาดคลาดเคลื่อน ทั้งยอดขายและกำลังการผลิต
วันนี้ "โนบุยูกิ มูราฮาชิ" ในฐานะกรรมการผู้จัดการ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส จำกัด เปิดโอกาสให้ร่วมพูดคุยถึงการปรับแผนธุรกิจ เพื่อรับมือกับปัจจัยลบที่รุมเร้า
- มองภาพตลาด
ปีนี้ผู้ผลิตผู้จำหน่ายทุกคนต้องทำงานหนัก เพราะตลาดอยู่ในภาวะที่ "อิ่มตัว" ซึ่งเหตุผลหลักก็มาจากในปีที่ผ่านมา ความต้องการในปีนี้ได้ถูกดึงออกไปใช้ก่อนในช่วงปี 2555 กับนโยบายโครงการรถยนต์คันแรก แต่ขณะนี้ตลาดรถยนต์โดยรวมถือว่ากลับเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว หลังจากปีก่อนตลาดโตเป็นพิเศษยอดขายในช่วง 8 เดือนที่ผ่านมามียอดไปแล้วเกือบ 900,000 คัน และช่วง 4 เดือนสุดท้าย คาดว่า
ยอดขายรถยนต์จะอยู่ในระดับ 90,000-100,000 คัน นั่นหมายความว่าทั้งปีจะมียอดขายที่ 1.2 ล้านคัน ซึ่งถือเป็นอัตราการเติบโตที่ค่อนข้างสูง
- ยอดขายมิตซูบิชิ
สำหรับยอดขายมิตซูบิชิเองนั้น 8 เดือนเรามียอดขายอยู่ที่ 72,000 คัน ลดลงเพียงเล็กน้อย จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนที่ทำได้ 73,000 คัน แต่เรายังมั่นใจว่าทั้งปีมิตซูบิชิจะมียอดขายระดับ 100,000-110,000 คัน และมีส่วนแบ่งทางการตลาดที่ 10% ต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้เดิมที่ 120,000 คันในปีนี้ และลดลงจากปีก่อนที่ทำได้ 130,000 คัน
ตลาดที่ถือว่าเติบโตน่าพอใจและเป็นกำลังหลักของเราในช่วงที่ผ่านมา คือ ตลาดใน "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" ซึ่งหากดูจากตัวเลขอัตราการเติบโตและยอดขายแล้ว จะพบว่าตลาดอีสานนั้นเติบโตเป็นอันดับ 2 หรือมีสัดส่วนแทบจะใกล้เคียงกับตลาดของภาคกลางเลยทีเดียวที่ 123% หรือ 23,606 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันของที่ 10,561 คัน หรือยอดขายในเดือนสิงหาคม มิตซูบิชิมียอดขายที่ 14,599 คัน ในช่วง 7 เดือน และเทียบกับปีก่อนยอดขายในเดือนสิงหาคมก็มากกว่าปีที่แล้ว
- ปัจจัยที่ทำให้ตลาดอีสานโต
การเติบโตของมิตซูบิชิในภาคอีสานถือเป็นอัตราการเติบโตที่น่าสนใจ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากโอกาสทางธุรกิจที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่องในภาคอีสาน แม้ว่าตลาดรถยนต์โดยรวมจะอยู่ในภาวะ "อิ่มตัว" บวกกับดีลเลอร์พื้นที่นี้มีความพยายามและมีความขยันค่อนข้างสูง ทุกคนมีจิตใจที่เข้มแข็งและใจสู้ ซึ่งตรงนี้ถือเป็นกำลังใจสำคัญที่คนมิตซูบิชิทุกคนอยากที่จะเดินหน้าสู้ต่อไป
และเราเชื่อว่าทั้งปีตลาดอีสานน่าจะมียอดขายในระดับ 20,000 กว่าคันในปีงบประมาณที่สิ้นสุดเดือนมีนาคม 2557 จากโชว์รูมจำหน่าย 50 แห่ง และเรามั่นใจว่ายอดดังกล่าวจะเป็นไปได้อย่างแน่นอน
- ปรับกลยุทธ์-ตั้งรับอย่างไร
สถานการณ์ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาเมื่อเทียบกับช่วงปลายปี ถือว่า "หน้ามือ-หลังมือ" หลายคนเริ่มกังวลกับภาวะรถยนต์ล้นสต๊อก หลาย ๆ ค่ายก็มีการปรับลดกำลังการผลิต สถานการณ์นี้เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ตอนนี้เราได้ทำงานร่วมกับดีลเลอร์อย่างหนักเพื่อพยายามช่วยเหลือและเร่งแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งเราก็สามารถผ่านพ้นมาได้ด้วยดี
- สงครามแคมเปญจะสิ้นสุดเมื่อใด
อย่างที่ทุกคนทราบดีว่า วันนี้ค่ายรถยนต์ทุก ๆ ค่ายต่างทำแคมเปญส่งเสริมการขายกันแทบจะทุกค่าย เมื่อค่ายหนึ่งทำอีกค่ายก็ต้องทำตาม หยุดไม่ได้ เพราะทุกคนต้องการที่ขายให้ได้เท่ากับปีที่แล้ว
ซึ่งน่าแปลกใจปีนี้ตลาดไม่เอื้ออำนวย บวกกับหลายค่ายมีกำลังการผลิตที่สูงขึ้น ขณะที่ความต้องการของตลาดรถยนต์โดยรวมกลับหดตัวลงเล็กน้อย หลายค่ายพูดเช่นเดียวกัน แต่ทุก ๆ ค่ายต่างก็พยายามบอกว่า ปีนี้ตัวเองจะมียอดขายเติบโตเพิ่มขึ้น หรืออย่างน้อยก็เท่ากับปีก่อน นั่นเป็นผลให้เกิดการทำแคมเปญส่งเสริมการขายที่ดุเดือดในปัจจุบัน เพราะทุกคนต่างต้องการยอดขายมาไว้กับตัวเองให้มากที่สุด
- สถานการณ์ดังกล่าวจะจบเมื่อใด
วันนี้คงไม่มีใครบอกได้ว่าการแข่งขันที่รุนแรง สงครามราคาจะไปจบลงเมื่อไร อาจจะต้องรอให้ถึงวันที่มีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มขึ้น หรือตลาดในประเทศพร้อมที่จะกลับมาเติบโตอีกครั้ง
เพราะวันนี้เชื่อว่า ไม่ว่ารถยนต์ค่ายไหนไม่ยอมที่จะให้ยอดขายของตัวเองน้อยลง อย่างน้อยต้องเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้นเท่านั้น
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1381315685
updated: 09 ต.ค. 2556 เวลา 17:55:32 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
สัมภาษณ์
เป็นที่ทราบกันดีว่าตลาดรถยนต์ในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้บรรดาค่ายรถยนต์ต่างตกอยู่ในภาวะ "หืดขึ้นคอ" นโยบาย "รถคันแรก" ทำให้หลายคนต่างประเมินตลาดคลาดเคลื่อน ทั้งยอดขายและกำลังการผลิต
วันนี้ "โนบุยูกิ มูราฮาชิ" ในฐานะกรรมการผู้จัดการ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส จำกัด เปิดโอกาสให้ร่วมพูดคุยถึงการปรับแผนธุรกิจ เพื่อรับมือกับปัจจัยลบที่รุมเร้า
- มองภาพตลาด
ปีนี้ผู้ผลิตผู้จำหน่ายทุกคนต้องทำงานหนัก เพราะตลาดอยู่ในภาวะที่ "อิ่มตัว" ซึ่งเหตุผลหลักก็มาจากในปีที่ผ่านมา ความต้องการในปีนี้ได้ถูกดึงออกไปใช้ก่อนในช่วงปี 2555 กับนโยบายโครงการรถยนต์คันแรก แต่ขณะนี้ตลาดรถยนต์โดยรวมถือว่ากลับเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว หลังจากปีก่อนตลาดโตเป็นพิเศษยอดขายในช่วง 8 เดือนที่ผ่านมามียอดไปแล้วเกือบ 900,000 คัน และช่วง 4 เดือนสุดท้าย คาดว่า
ยอดขายรถยนต์จะอยู่ในระดับ 90,000-100,000 คัน นั่นหมายความว่าทั้งปีจะมียอดขายที่ 1.2 ล้านคัน ซึ่งถือเป็นอัตราการเติบโตที่ค่อนข้างสูง
- ยอดขายมิตซูบิชิ
สำหรับยอดขายมิตซูบิชิเองนั้น 8 เดือนเรามียอดขายอยู่ที่ 72,000 คัน ลดลงเพียงเล็กน้อย จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนที่ทำได้ 73,000 คัน แต่เรายังมั่นใจว่าทั้งปีมิตซูบิชิจะมียอดขายระดับ 100,000-110,000 คัน และมีส่วนแบ่งทางการตลาดที่ 10% ต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้เดิมที่ 120,000 คันในปีนี้ และลดลงจากปีก่อนที่ทำได้ 130,000 คัน
ตลาดที่ถือว่าเติบโตน่าพอใจและเป็นกำลังหลักของเราในช่วงที่ผ่านมา คือ ตลาดใน "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" ซึ่งหากดูจากตัวเลขอัตราการเติบโตและยอดขายแล้ว จะพบว่าตลาดอีสานนั้นเติบโตเป็นอันดับ 2 หรือมีสัดส่วนแทบจะใกล้เคียงกับตลาดของภาคกลางเลยทีเดียวที่ 123% หรือ 23,606 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันของที่ 10,561 คัน หรือยอดขายในเดือนสิงหาคม มิตซูบิชิมียอดขายที่ 14,599 คัน ในช่วง 7 เดือน และเทียบกับปีก่อนยอดขายในเดือนสิงหาคมก็มากกว่าปีที่แล้ว
- ปัจจัยที่ทำให้ตลาดอีสานโต
การเติบโตของมิตซูบิชิในภาคอีสานถือเป็นอัตราการเติบโตที่น่าสนใจ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากโอกาสทางธุรกิจที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่องในภาคอีสาน แม้ว่าตลาดรถยนต์โดยรวมจะอยู่ในภาวะ "อิ่มตัว" บวกกับดีลเลอร์พื้นที่นี้มีความพยายามและมีความขยันค่อนข้างสูง ทุกคนมีจิตใจที่เข้มแข็งและใจสู้ ซึ่งตรงนี้ถือเป็นกำลังใจสำคัญที่คนมิตซูบิชิทุกคนอยากที่จะเดินหน้าสู้ต่อไป
และเราเชื่อว่าทั้งปีตลาดอีสานน่าจะมียอดขายในระดับ 20,000 กว่าคันในปีงบประมาณที่สิ้นสุดเดือนมีนาคม 2557 จากโชว์รูมจำหน่าย 50 แห่ง และเรามั่นใจว่ายอดดังกล่าวจะเป็นไปได้อย่างแน่นอน
- ปรับกลยุทธ์-ตั้งรับอย่างไร
สถานการณ์ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาเมื่อเทียบกับช่วงปลายปี ถือว่า "หน้ามือ-หลังมือ" หลายคนเริ่มกังวลกับภาวะรถยนต์ล้นสต๊อก หลาย ๆ ค่ายก็มีการปรับลดกำลังการผลิต สถานการณ์นี้เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ตอนนี้เราได้ทำงานร่วมกับดีลเลอร์อย่างหนักเพื่อพยายามช่วยเหลือและเร่งแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งเราก็สามารถผ่านพ้นมาได้ด้วยดี
- สงครามแคมเปญจะสิ้นสุดเมื่อใด
อย่างที่ทุกคนทราบดีว่า วันนี้ค่ายรถยนต์ทุก ๆ ค่ายต่างทำแคมเปญส่งเสริมการขายกันแทบจะทุกค่าย เมื่อค่ายหนึ่งทำอีกค่ายก็ต้องทำตาม หยุดไม่ได้ เพราะทุกคนต้องการที่ขายให้ได้เท่ากับปีที่แล้ว
ซึ่งน่าแปลกใจปีนี้ตลาดไม่เอื้ออำนวย บวกกับหลายค่ายมีกำลังการผลิตที่สูงขึ้น ขณะที่ความต้องการของตลาดรถยนต์โดยรวมกลับหดตัวลงเล็กน้อย หลายค่ายพูดเช่นเดียวกัน แต่ทุก ๆ ค่ายต่างก็พยายามบอกว่า ปีนี้ตัวเองจะมียอดขายเติบโตเพิ่มขึ้น หรืออย่างน้อยก็เท่ากับปีก่อน นั่นเป็นผลให้เกิดการทำแคมเปญส่งเสริมการขายที่ดุเดือดในปัจจุบัน เพราะทุกคนต่างต้องการยอดขายมาไว้กับตัวเองให้มากที่สุด
- สถานการณ์ดังกล่าวจะจบเมื่อใด
วันนี้คงไม่มีใครบอกได้ว่าการแข่งขันที่รุนแรง สงครามราคาจะไปจบลงเมื่อไร อาจจะต้องรอให้ถึงวันที่มีสัดส่วนการส่งออกเพิ่มขึ้น หรือตลาดในประเทศพร้อมที่จะกลับมาเติบโตอีกครั้ง
เพราะวันนี้เชื่อว่า ไม่ว่ารถยนต์ค่ายไหนไม่ยอมที่จะให้ยอดขายของตัวเองน้อยลง อย่างน้อยต้องเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้นเท่านั้น
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1381315685
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 55
แคมเปญเก่าแลกใหม่โตโยต้าออกฤทธิ์ แค่เดือนเดียวดันตลาดเก๋งขึ้นแซงฮอนด้า "วีออสใหม่" ไหลลื่นฉลุยเฉียดหมื่นคันต่อเดือน มั่นใจได้อีโคคาร์ยาริสใหม่ถล่มซ้ำทิ้งห่างแน่นอน หอการค้าญี่ปุ่นรายงานเดือนกันยายนขายรถทั้งระบบยังต่ำกว่าแสนคัน เก๋งโตโยต้าเบียดแชมป์
แหล่งข่าวฝ่ายบริหาร บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด เปิดเผย
"ประชาชาติธุรกิจ"
ว่า แม้ตลาดในช่วงที่ผ่านมาจะอยู่ในภาวะชะลอตัว แต่ความพยายามของค่ายรถยนต์ที่แนะนำแคมเปญส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง ก็ยังสามารถประคับประคองยอดขายไปได้โดยเฉพาะแคมเปญล่าสุดที่ทางโตโยต้าและโตโยต้าชัวร์ออกร่วมกัน ภายใต้โปรแกรม "สนุกดี" โดยลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถวีออสรุ่นเก่า สามารถนำรถมาแลกซื้อวีออสใหม่โมเดล 2013 จะได้ราคารถเก่าสูงกว่าทั่วไป 30,000 บาท
หลังจากนั้นจะมีโปรแกรม "สบายดี" ซึ่งเป็นโปรแกรมทางด้านการเงินสนับสนุน ซึ่งจะมีตารางการผ่อนชำระสินเชื่อแบบสบาย ๆ อัตราการผ่อนชำระก็ใกล้เคียงกับที่ผ่อนชำระอยู่เดิม พร้อมของแถมมากมาย
ส่งผลให้ตัวเลขการขายวีออสใหม่พุ่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ทั่วประเทศมียอดขายต่อเดือนเฉียดหมื่นคัน
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า แคมเปญส่งเสริมการขายที่บริษัททำมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความพยายามของดีลเลอร์เกือบทุกรายที่แข่งขันกันเองอย่างหนักได้ผลดีเกินคาด ทำให้ยอดขายรถยนต์ในเดือนกันยายน โดยเฉพาะตลาดเก๋ง โตโยต้ากลับมาเป็นผู้นำแซงหน้าฮอนด้าซึ่งครองแชมป์ตลาดรถยนต์นั่งมาตลอด โดยตลาดรถยนต์นั่งของโตโยต้าเดือนกันยายนมียอดขายสูงถึง 13,725 คัน ในขณะที่ฮอนด้าทำได้เพียง 13,679 คัน และในช่วงปลายเดือนตุลาคมนี้ โตโยต้าจะมีอีโคคาร์ ยาริส เก๋งขนาดเล็กประหยัดน้ำมันมาเสริมตลาดอีกรุ่น ก็เชื่อว่าตลาดเก๋งน่าจะทิ้งห่างคู่แข่งได้อย่างแน่นอน
สำหรับยอดขายรถยนต์เดือนกันยายนที่ผ่านมา หอการค้าญี่ปุ่นรายงานว่า มียอดขายทั้งสิ้น 93,122 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมที่มียอดขาย 98,937 คัน ซึ่งเป็นภาวะการขายที่ตกต่ำกว่าแสนคันต่อเดือน นับเป็นเดือนที่ 4 ของปีนี้ โดยค่ายโตโยต้ามียอดการจำหน่ายสูงสุด 31,186 คัน ลดลงจากเดือนก่อนที่ทำได้ 31,237 คัน, ฮอนด้าขายได้ 13,679 คัน ลดลงจาก 15,762 คัน, อีซูซุขายได้ 11,923 คัน ลดลงจาก 14,276 คัน, นิสสันขายได้ 8,501 คัน เพิ่มขึ้นจาก 7,209 คัน, มิตซูบิชิขายได้ 8,017 คัน ลดลงจาก 8,102 คัน เชฟโรเลตขายได้ 4,813 คัน ลดลงจาก 5,818 คัน, ซูซูกิขายได้ 4,014 คัน ลดลง 4,838 คัน, มาสด้าขายได้ 4,005 คัน เพิ่มขึ้นจาก 3,901 คัน, ฟอร์ดขายได้ 3,984 คัน ลดลงจาก 4,300 คัน และยี่ห้ออื่น ๆ ซึ่งขายได้ 3,000 คัน ลดลงจาก 3,500 คัน
ทั้งนี้เซ็กเมนต์รถยนต์นั่งพบว่า โตโยต้ามียอดขายเป็นอันดับหนึ่ง 13,725 คัน เพิ่มขึ้นจาก 13,706 คัน ส่วนฮอนด้ายอดขายลดลงมาเป็น 13,679 คัน จาก 15,762 คัน, นิสสันเพิ่มขึ้นเป็น 6,625 คัน จาก 5,772 คัน, มิตซูบิชิลดลงเหลือ 3,950 คัน จาก 4,406 คัน, ซูซูกิลดลงเหลือ 3,528 คัน จาก 4,377 คัน, มาสด้าลดลงเหลือ 1,846 คัน จาก 1,914 คัน ส่วนค่ายเชฟโรเลตและฟอร์ดตัวเลขไม่ชัดเจน
ขณะที่อีโคคาร์ในเดือนกันยายนมียอดขายทั้งสิ้น 13,585 คัน ลดลงจากเดือนก่อนซึ่งขายได้ 15,189 คัน โดยรถยนต์นิสสัน อัลเมร่า กลับมามียอดขายสูงสุดในกลุ่มรถอีโคคาร์ที่ 3,349 คัน จากจำนวน 3,413 คันรองลงมาคือ ซูซูกิ สวิฟท์ มียอดขาย 3,107 คัน ลดลงจาก 4,001 คัน, มิตซูบิชิ แอททราจ ลดลงเหลือ 2,470 คัน จากเดิม 2,928 คัน, ฮอนด้า อเมซ ขายได้ 1,171 คัน ลดลงจาก 1,986 คัน, มิตซูบิชิ มิราจ ขายได้ 1,399 คัน ลดลงจาก 1,415 คัน, นิสสัน มาร์ช ขายเพิ่มขึ้นเป็น 1,725 คัน จาก 1,073 คัน และฮอนด้า บริโอ้ ขายลดลงเหลือ 364 คัน จาก 373 คันขณะที่รถปิกอัพขนาด 1 ตัน และรถเพื่อการพาณิชย์ พบว่ามียอดขายที่ 35,970 คัน ลดลงจาก 49,569 คัน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
แหล่งข่าวฝ่ายบริหาร บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด เปิดเผย
"ประชาชาติธุรกิจ"
ว่า แม้ตลาดในช่วงที่ผ่านมาจะอยู่ในภาวะชะลอตัว แต่ความพยายามของค่ายรถยนต์ที่แนะนำแคมเปญส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง ก็ยังสามารถประคับประคองยอดขายไปได้โดยเฉพาะแคมเปญล่าสุดที่ทางโตโยต้าและโตโยต้าชัวร์ออกร่วมกัน ภายใต้โปรแกรม "สนุกดี" โดยลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถวีออสรุ่นเก่า สามารถนำรถมาแลกซื้อวีออสใหม่โมเดล 2013 จะได้ราคารถเก่าสูงกว่าทั่วไป 30,000 บาท
หลังจากนั้นจะมีโปรแกรม "สบายดี" ซึ่งเป็นโปรแกรมทางด้านการเงินสนับสนุน ซึ่งจะมีตารางการผ่อนชำระสินเชื่อแบบสบาย ๆ อัตราการผ่อนชำระก็ใกล้เคียงกับที่ผ่อนชำระอยู่เดิม พร้อมของแถมมากมาย
ส่งผลให้ตัวเลขการขายวีออสใหม่พุ่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ทั่วประเทศมียอดขายต่อเดือนเฉียดหมื่นคัน
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่า แคมเปญส่งเสริมการขายที่บริษัททำมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความพยายามของดีลเลอร์เกือบทุกรายที่แข่งขันกันเองอย่างหนักได้ผลดีเกินคาด ทำให้ยอดขายรถยนต์ในเดือนกันยายน โดยเฉพาะตลาดเก๋ง โตโยต้ากลับมาเป็นผู้นำแซงหน้าฮอนด้าซึ่งครองแชมป์ตลาดรถยนต์นั่งมาตลอด โดยตลาดรถยนต์นั่งของโตโยต้าเดือนกันยายนมียอดขายสูงถึง 13,725 คัน ในขณะที่ฮอนด้าทำได้เพียง 13,679 คัน และในช่วงปลายเดือนตุลาคมนี้ โตโยต้าจะมีอีโคคาร์ ยาริส เก๋งขนาดเล็กประหยัดน้ำมันมาเสริมตลาดอีกรุ่น ก็เชื่อว่าตลาดเก๋งน่าจะทิ้งห่างคู่แข่งได้อย่างแน่นอน
สำหรับยอดขายรถยนต์เดือนกันยายนที่ผ่านมา หอการค้าญี่ปุ่นรายงานว่า มียอดขายทั้งสิ้น 93,122 คัน ลดลงจากเดือนสิงหาคมที่มียอดขาย 98,937 คัน ซึ่งเป็นภาวะการขายที่ตกต่ำกว่าแสนคันต่อเดือน นับเป็นเดือนที่ 4 ของปีนี้ โดยค่ายโตโยต้ามียอดการจำหน่ายสูงสุด 31,186 คัน ลดลงจากเดือนก่อนที่ทำได้ 31,237 คัน, ฮอนด้าขายได้ 13,679 คัน ลดลงจาก 15,762 คัน, อีซูซุขายได้ 11,923 คัน ลดลงจาก 14,276 คัน, นิสสันขายได้ 8,501 คัน เพิ่มขึ้นจาก 7,209 คัน, มิตซูบิชิขายได้ 8,017 คัน ลดลงจาก 8,102 คัน เชฟโรเลตขายได้ 4,813 คัน ลดลงจาก 5,818 คัน, ซูซูกิขายได้ 4,014 คัน ลดลง 4,838 คัน, มาสด้าขายได้ 4,005 คัน เพิ่มขึ้นจาก 3,901 คัน, ฟอร์ดขายได้ 3,984 คัน ลดลงจาก 4,300 คัน และยี่ห้ออื่น ๆ ซึ่งขายได้ 3,000 คัน ลดลงจาก 3,500 คัน
ทั้งนี้เซ็กเมนต์รถยนต์นั่งพบว่า โตโยต้ามียอดขายเป็นอันดับหนึ่ง 13,725 คัน เพิ่มขึ้นจาก 13,706 คัน ส่วนฮอนด้ายอดขายลดลงมาเป็น 13,679 คัน จาก 15,762 คัน, นิสสันเพิ่มขึ้นเป็น 6,625 คัน จาก 5,772 คัน, มิตซูบิชิลดลงเหลือ 3,950 คัน จาก 4,406 คัน, ซูซูกิลดลงเหลือ 3,528 คัน จาก 4,377 คัน, มาสด้าลดลงเหลือ 1,846 คัน จาก 1,914 คัน ส่วนค่ายเชฟโรเลตและฟอร์ดตัวเลขไม่ชัดเจน
ขณะที่อีโคคาร์ในเดือนกันยายนมียอดขายทั้งสิ้น 13,585 คัน ลดลงจากเดือนก่อนซึ่งขายได้ 15,189 คัน โดยรถยนต์นิสสัน อัลเมร่า กลับมามียอดขายสูงสุดในกลุ่มรถอีโคคาร์ที่ 3,349 คัน จากจำนวน 3,413 คันรองลงมาคือ ซูซูกิ สวิฟท์ มียอดขาย 3,107 คัน ลดลงจาก 4,001 คัน, มิตซูบิชิ แอททราจ ลดลงเหลือ 2,470 คัน จากเดิม 2,928 คัน, ฮอนด้า อเมซ ขายได้ 1,171 คัน ลดลงจาก 1,986 คัน, มิตซูบิชิ มิราจ ขายได้ 1,399 คัน ลดลงจาก 1,415 คัน, นิสสัน มาร์ช ขายเพิ่มขึ้นเป็น 1,725 คัน จาก 1,073 คัน และฮอนด้า บริโอ้ ขายลดลงเหลือ 364 คัน จาก 373 คันขณะที่รถปิกอัพขนาด 1 ตัน และรถเพื่อการพาณิชย์ พบว่ามียอดขายที่ 35,970 คัน ลดลงจาก 49,569 คัน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... catid=0800
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 56
แบงก์ผวาหนี้เสียดีลเลอร์รถ แบกสต๊อกอ่วม-เงินตึง เข้มสินเชื่อเช็กเครดิตยิบ
updated: 15 ต.ค. 2556 เวลา 17:30:45 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
รถคันแรกป่วนตลาดรถไม่เลิก ดีลเลอร์อ่วมหลังกำลังซื้อชะงัก "สต๊อกบวม-สภาพคล่องหาย" แบงก์คุมเข้มสินเชื่อ เกาะติดเครดิตโชว์รูมทั่วประเทศ สั่งเช็กยอดรถถี่ยิบหวั่นสต๊อกลม กัดฟันเปิดช่องทยอยเคลียร์หนี้-ไม่ปล่อยวงเงินใหม่ ขณะที่ตลาดยังถล่มแคมเปญหนัก กสิกรฯผวาหนี้เสียลีสซิ่งพุ่ง ด้านค่ายรถโดดอุ้มดีลเลอร์หามาตรการช่วยเหลือ
จากกรณีผลกระทบจากนโยบายคืนภาษีรถคันแรกที่มีการดึงกำลังซื้อล่วงหน้าไป ทำให้ปีนี้กำลังซื้อรถใหม่ในตลาดชะงัก เกิดปัญหารถล้นโชว์รูม แม้ว่าจะทำแคมเปญส่งเสริมการขายก็ยังรุนแรง แต่ถานการณ์กำลังซื้อก็ยังไม่ดีขึ้น จนทำให้ดีลเลอร์รถเกิดปัญหาสภาพคล่องตึงตัว ทำให้สถาบันการเงินทั้งหลายต้องจับตาสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดเกรงจะเกิดปัญหาหนี้เสีย
กัดฟันยืดเครดิตดีลเลอร์รถ
นายอิสระ วงศ์รุ่ง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จำกัด เปิดเผยว่า สถานการณ์สินเชื่อสำหรับดีลเลอร์ (ฟอร์แพลน) ในเวลานี้เริ่มเห็นว่าอายุการใช้สินเชื่อเริ่มยาวขึ้น จากเดิม 30-60 วันก็จะใช้คืนสินเชื่อได้ ยืดขึ้นเป็นประมาณ 90 วัน เนื่องจากดีลเลอร์ใช้วงเงินซื้อรถจากผู้ผลิตรถยนต์มาแล้ว แต่ยังไม่สามารถระบายของออกไปได้ เนื่องจากตลาดเริ่มฝืดในช่วงหลังหมดแคมเปญรถคันแรก นับเป็นสถานการณ์ที่ต้องระมัดระวัง
สำหรับแนวทางควบคุมความเสี่ยงของสินเชื่อฟอร์แพลน จะต้องตรวจสต๊อกรถของดีลเลอร์อยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าวงเงินที่ใช้อยู่สอดคล้องกับปริมาณของรถที่สต๊อกไว้
กรณีดีลเลอร์ที่มีปัญหาสภาพคล่อง ก็มีโปรแกรมช่วยยืดอายุหนี้ให้แก่ดีลเลอร์ เช่น ครบ 60 วันจ่ายบางส่วน 20% ครบ 90 วันจ่ายเพิ่มอีก 30% และ 90 วันจ่ายส่วนที่เหลือเพิ่มอีก 50% เป็นต้น และจะไม่ปล่อยวงเงินเพิ่มให้จนกว่าลูกค้าจะทยอยจ่ายคืนในงวดเดิมก่อน ขณะเดียวกันก็เข้าไปร่วมทำแคมเปญกับดีลเลอร์เพื่อช่วยระบายรถให้เร็วขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย
ตรวจเข้มหวั่นสต๊อกลม
"การบริหารความเสี่ยงตอนนี้เราต้องคุมตลอด โดยเฉพาะการตรวจสต๊อกรถ ถ้าดีลเลอร์ใช้วงเงินเต็มแต่กลับไม่เจอสต๊อกรถก็เป็นสัญญาณอันตราย สำหรับสินเชื่อฟอร์แพลนยังไม่ค่อยน่าเป็นห่วงเพราะมีวัตถุประสงค์การใช้วงเงินชัดเจน แต่กว่า 60% ดีลเลอร์จะกู้เป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) กับธนาคาร ซึ่งไม่ได้ระบุวัตถุประสงค์ชัดเจน ถ้าคุมไม่ดีจะอันตราย"
ขณะที่ฝั่งดีลเลอร์ก็พยายามปรับตัวเช่นกัน เช่นขอให้บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ช่วยชะลอการส่งมอบรถ ซึ่งบริษัทรถยนต์บางรายก็ช่วยเหลือด้วยการแบกต้นทุนเก็บรักษารถยนต์ไว้ให้ระยะหนึ่งก่อน รอดีลเลอร์ระบายสต๊อกออกไปได้และพร้อมรับรถลอตใหม่เข้าไป ฉะนั้นระหว่างนี้วงเงินสินเชื่อและดอกเบี้ยก็ยังไม่เดิน
"ถ้าดีลเลอร์ทำธุรกิจรถยนต์อย่างจริงจังจะไม่ค่อยมีปัญหา ส่วนใหญ่สามารถใช้คืนสินเชื่อได้ ยกเว้นดีลเลอร์ที่นำเงินไปใช้ผิดประเภท เช่น วงเงินสินเชื่อที่ไปใช้ซื้อรถมาแล้ว เมื่อขายรถออกไปได้ก็ควรคืนให้สถาบันการเงิน แต่ถ้าไม่คืนแล้วเอาไปหมุนลงทุนอย่างอื่นก็เสี่ยงจะเสียหายได้ง่าย"
จับตาหนี้เสียรถคันแรกพุ่ง
นายอิสระกล่าวว่า ทิศทางสินเชื่อในครึ่งปีหลังน่าจะเติบโตได้ช้าลง หลังจากเริ่มเห็นสัญญาณว่ากลุ่มรถคันแรกและรถมือสองที่มีปัญหาเรื่องหนี้เสียเพิ่มขึ้น และราคาตกจนทำให้ยึดรถมาแล้วจะขายขาดทุนไปราว 20-25% ซึ่งเป็นประเด็นที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กำลังเป็นห่วงในเวลานี้ ฉะนั้นช่วงครึ่งปีหลังสถาบันการเงินคงต้องชะลอการทำตลาดลงบ้าง
ด้านนายศักดิ์ชัย พีชะพัฒน์ รองกรรมการผู้อำนวยการ ธนาคารทิสโก้ กล่าวว่า สถานการณ์สต๊อกรถที่ล้นดีลเลอร์เป็นผลพวงจากดีมานด์เทียมที่เกิดขึ้นช่วงปลายปีที่แล้ว ทำให้ดีลเลอร์ต้องแบกต้นทุนตรงนี้ จากปกติที่จะเคลียร์สต๊อกรถและคืนสินเชื่อทั้งก้อนได้จบใน 45-60 วัน ก็ต้องยืดออกไปบ้าง ซึ่งธนาคารก็ยืดหยุ่นให้ แต่ก็พยายามให้ดีลเลอร์ทยอยจ่ายคืนเป็นงวด ครั้งละ 20-30% ซึ่งคาดว่าภายในสิ้นปีนี้หรือต้นปีหน้าก็น่าจะเข้าสู่ภาวะปกติได้
คุมเข้มไม่ให้ใช้เงินผิดประเภท
ขณะนี้ธนาคารทิสโก้ก็กำชับให้ทีมงานตรวจสอบสต๊อกของดีลเลอร์เข้มงวดเช่นกัน และตรวจสอบถี่ขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะกลุ่มที่สถานะเครดิตเริ่มเห็นสัญญาณว่าอาจจะมีปัญหา เช่น เริ่มจ่ายช้า หรือทยอยจ่ายเป็นรายงวด ขณะเดียวกันก็ต้องดูแลไม่ให้ดีลเลอร์นำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ที่ขอสินเชื่อไป
"ตอนนี้ดีลเลอร์รถใหม่ก็คงอึดอัดบ้าง และต้องระมัดระวังเรื่องการใช้เงินมากขึ้น ซึ่งยอมรับว่าเป็นจังหวะที่บริหารได้ยากผิดปกติ หลังจากปีที่แล้วตลาดก็ดีผิดปกติไปแล้ว และส่วนที่น่าเป็นห่วงคือกลุ่มเต็นท์รถมือสองที่น่าจะหนักกว่าดีลเลอร์รถใหม่ เพราะตลาดซบเซามา 2-3 ปี ตั้งแต่มีโครงการรถคันแรก ถึงตอนนี้ก็ยังไม่ฟื้น"
นายศักดิ์ชัยกล่าวอีกว่า ในจังหวะนี้ธนาคารก็พยายามช่วยเหลือดีลเลอร์ให้ระบายรถได้เร็วขึ้น ช่วยสนับสนุนแคมเปญกระตุ้นยอดขายต่าง ๆ ด้านหนึ่งก็เป็นจังหวะที่ดีสำหรับลูกค้าที่มีกำลังซื้อ เพราะสามารถซื้อด้วยเงื่อนไขดีมาก มีค่ายผู้ผลิตรถยนต์อัดงบฯเข้ามาอุดหนุนมากเป็นประวัติการณ์ เฉลี่ยแล้วบางค่ายสูงถึง 10% ของมูลค่ารถ จากปกติอยู่แค่ 3-5% แต่ขณะเดียวกันสถาบันการเงินก็ต้องระมัดระวังเรื่องจุดยืนในการปล่อยสินเชื่อที่มีคุณภาพด้วย
ขณะที่นายไพโรจน์ ชื่นครุฑ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.อยุธยา แคปปิตอล ออโต้ ลีส กล่าวว่า บริษัทให้ความสำคัญกับการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อผู้แทนจำหน่ายรถยนต์ และประสานงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อดูแลรักษาเงื่อนไขทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็ต้องสนับสนุนด้านการตลาดและส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการเติบโตของคู่ค้าอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยมองถึงว่าตลาดปลายปีนี้น่าจะเห็นตลาดรถยนต์เติบโตขึ้นจากแรงกระตุ้นของการจัดงานมอเตอร์ เอ็กซ์โป
ด้านนายสุภกิจ บุญเลี้ยง ผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์เอสเอ็มอี ธนาคารกรุงไทย กล่าวว่า ที่ผ่านมาธนาคารได้ปล่อยกู้ตั๋ว P/N ให้แก่ลูกค้าดีลเลอร์บ้าง แต่ถือว่าเป็นสัดส่วนที่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับพอร์ตสินเชื่อเอสเอ็มอีโดยรวม ซึ่งยอมรับว่าขณะนี้เริ่มเห็นสัญญาณว่าลูกค้าที่เป็นดีลเลอร์บางรายเริ่มชำระคืนล่าช้า เนื่องจากสต๊อกรถเอาไว้แล้วระบายออกไม่ทัน
"เราพยายามเข้าไปช่วยอย่างเข้าใจลูกค้า และผ่อนปรนให้แบบครบวงจร ตั้งแต่ยืด-ขยายอายุตั๋ว เพื่อประคองให้สถานการณ์ลูกค้าค่อย ๆ ดีขึ้น รวมถึงมีทีมดูแลลูกค้าเข้าไปดูแลใกล้ชิด" นายสุภกิจกล่าว
ค่ายรถอุ้มยืดเครดิตเท่าตัว
นายวัลลภ ตรีฤกษ์งาม ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซูซูกิ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ตลาดรถยนต์ได้รับผลกระทบมาตั้งแต่ต้นปี ยิ่งครึ่งปีหลังตลาดหดตัวชัดขึ้น หนำซ้ำช่วงนี้มีปัญหาน้ำท่วมเข้ามาอีก ส่งผลให้มู้ดการจับจ่ายของลูกค้าแย่ลง ดีลเลอร์ขายรถส่วนใหญ่เลยต้องแบกภาระกันค่อนข้างหนัก
สำหรับซูซูกิได้มีมาตรการช่วยเหลือดีลเลอร์ด้วยการยืดระยะเวลาชำระเงินออกไปนานเท่าตัว จากเดิมกำหนดว่าต้องชำระเงินภายในระยะเวลา 15 วัน หลังส่งรถก็ขยายเป็น 30 วัน หรือจาก 30 วันขยายเป็น 45 วัน เพื่อช่วยผ่อนคลายและเพิ่มสภาพคล่องให้ดีลเลอร์ รวมถึงพยายามเน้นทำกลยุทธ์ทางการตลาดเพิ่มเพื่อสร้างสีสันและกระตุ้นตลาดไปในตัว
ฮอนด้าชี้ 2 ปกลับสู่ภ�วะปกติ
ขณะที่นายพิทักษ์ พฤทธิสาริกร รองประธานกรรมการบริหารอาวุโส บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวยอมรับว่า ตอนนี้ขายรถยนต์กำไรน้อยลง ดีลเลอร์ต้องโหมจัดแคมเปญส่งเสริมการขายมากกว่าปกติเพื่อระบายรถในสต๊อก ซึ่งบริษัทไม่ได้นิ่งนอนใจ หาวิธีช่วยเหลือดีลเลอร์แต่ละรายในการพิจารณาจำนวนสต๊อกที่เหมาะสม ไม่ให้เกิดปัญหาสต๊อกสูงเกินไป ขณะที่โรงงานยังคงมีการผลิต 2 กะตามปกติ และแม้ช่วงนี้ดีลเลอร์อาจจะมีรายได้จากการขายน้อยลง แต่ยังคงมีรายได้จากศูนย์บริการเข้ามาเสริม
"ยอมรับว่าดีมานด์ตอนนี้อาจจะหายไปแต่สักระยะ ผมเชื่อว่าน่าจะไม่ถึง 2 ปีทุกอย่างจะกลับมาปกติ เราพยายามคุยกับดีลเลอร์โดยเฉพาะเรื่องสต๊อกอย่างสม่ำเสมอ และพยายามไม่ให้เกิดปัญหา" นายพิทักษ์กล่าว
ด้านนายวิเชียร เอมประเสริฐสุข รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า โตโยต้ามีนโยบายบริหารจัดการยอดสั่งจองรถให้สอดคล้องกับสภาพตลาด ปัญหาดังกล่าวไม่เกิดแน่ และดีลเลอร์แทบจะไม่มีผลกระทบตรงนี้เลย
ขณะที่นายประพัฒน์ เชยชม รองผู้จัดการใหญ่อาวุโสการตลาดและการขาย บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันสต๊อกดีลเลอร์กลับเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว ไม่ได้มีปัญหาแต่อย่างใด
มิตซูฯจับตาใกล้ชิด
ด้านนายโนบุยูกิ มูราฮาชิ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า มิตซูบิชิ ได้ติดตามสถานการณ์ตลาดอย่างใกล้ชิด และดีลเลอร์ส่วนใหญ่คลี่คลายสถานการณ์ทุกอย่างค่อนข้างลงตัว
สำหรับกรณีบริษัท มิตซูเชียงราย (999) จำกัด รวมไปถึงบริษัทในกลุ่ม 999 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง พะเยา และน่าน รวม 7 สาขาที่เป็นดีลเลอร์ของบริษัท มีปัญหาการจดทะเบียนและโอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้า บริษัทได้ทำการสืบสวนข้อเท็จจริง รวมถึงมีการพูดคุยกับดีลเลอร์รายนี้แล้ว ซึ่งทางผู้บริหารยอมรับว่าเป็นความบกพร่อง และบริษัทได้ตัดสิทธิ์จากการเป็นดีลเลอร์โดยมีผลทันที และได้แต่งตั้งตัวแทนจำหน่ายรายใหม่เข้าไปรับผิดชอบลูกค้าแทน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1381828912
updated: 15 ต.ค. 2556 เวลา 17:30:45 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
รถคันแรกป่วนตลาดรถไม่เลิก ดีลเลอร์อ่วมหลังกำลังซื้อชะงัก "สต๊อกบวม-สภาพคล่องหาย" แบงก์คุมเข้มสินเชื่อ เกาะติดเครดิตโชว์รูมทั่วประเทศ สั่งเช็กยอดรถถี่ยิบหวั่นสต๊อกลม กัดฟันเปิดช่องทยอยเคลียร์หนี้-ไม่ปล่อยวงเงินใหม่ ขณะที่ตลาดยังถล่มแคมเปญหนัก กสิกรฯผวาหนี้เสียลีสซิ่งพุ่ง ด้านค่ายรถโดดอุ้มดีลเลอร์หามาตรการช่วยเหลือ
จากกรณีผลกระทบจากนโยบายคืนภาษีรถคันแรกที่มีการดึงกำลังซื้อล่วงหน้าไป ทำให้ปีนี้กำลังซื้อรถใหม่ในตลาดชะงัก เกิดปัญหารถล้นโชว์รูม แม้ว่าจะทำแคมเปญส่งเสริมการขายก็ยังรุนแรง แต่ถานการณ์กำลังซื้อก็ยังไม่ดีขึ้น จนทำให้ดีลเลอร์รถเกิดปัญหาสภาพคล่องตึงตัว ทำให้สถาบันการเงินทั้งหลายต้องจับตาสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดเกรงจะเกิดปัญหาหนี้เสีย
กัดฟันยืดเครดิตดีลเลอร์รถ
นายอิสระ วงศ์รุ่ง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จำกัด เปิดเผยว่า สถานการณ์สินเชื่อสำหรับดีลเลอร์ (ฟอร์แพลน) ในเวลานี้เริ่มเห็นว่าอายุการใช้สินเชื่อเริ่มยาวขึ้น จากเดิม 30-60 วันก็จะใช้คืนสินเชื่อได้ ยืดขึ้นเป็นประมาณ 90 วัน เนื่องจากดีลเลอร์ใช้วงเงินซื้อรถจากผู้ผลิตรถยนต์มาแล้ว แต่ยังไม่สามารถระบายของออกไปได้ เนื่องจากตลาดเริ่มฝืดในช่วงหลังหมดแคมเปญรถคันแรก นับเป็นสถานการณ์ที่ต้องระมัดระวัง
สำหรับแนวทางควบคุมความเสี่ยงของสินเชื่อฟอร์แพลน จะต้องตรวจสต๊อกรถของดีลเลอร์อยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าวงเงินที่ใช้อยู่สอดคล้องกับปริมาณของรถที่สต๊อกไว้
กรณีดีลเลอร์ที่มีปัญหาสภาพคล่อง ก็มีโปรแกรมช่วยยืดอายุหนี้ให้แก่ดีลเลอร์ เช่น ครบ 60 วันจ่ายบางส่วน 20% ครบ 90 วันจ่ายเพิ่มอีก 30% และ 90 วันจ่ายส่วนที่เหลือเพิ่มอีก 50% เป็นต้น และจะไม่ปล่อยวงเงินเพิ่มให้จนกว่าลูกค้าจะทยอยจ่ายคืนในงวดเดิมก่อน ขณะเดียวกันก็เข้าไปร่วมทำแคมเปญกับดีลเลอร์เพื่อช่วยระบายรถให้เร็วขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย
ตรวจเข้มหวั่นสต๊อกลม
"การบริหารความเสี่ยงตอนนี้เราต้องคุมตลอด โดยเฉพาะการตรวจสต๊อกรถ ถ้าดีลเลอร์ใช้วงเงินเต็มแต่กลับไม่เจอสต๊อกรถก็เป็นสัญญาณอันตราย สำหรับสินเชื่อฟอร์แพลนยังไม่ค่อยน่าเป็นห่วงเพราะมีวัตถุประสงค์การใช้วงเงินชัดเจน แต่กว่า 60% ดีลเลอร์จะกู้เป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) กับธนาคาร ซึ่งไม่ได้ระบุวัตถุประสงค์ชัดเจน ถ้าคุมไม่ดีจะอันตราย"
ขณะที่ฝั่งดีลเลอร์ก็พยายามปรับตัวเช่นกัน เช่นขอให้บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ช่วยชะลอการส่งมอบรถ ซึ่งบริษัทรถยนต์บางรายก็ช่วยเหลือด้วยการแบกต้นทุนเก็บรักษารถยนต์ไว้ให้ระยะหนึ่งก่อน รอดีลเลอร์ระบายสต๊อกออกไปได้และพร้อมรับรถลอตใหม่เข้าไป ฉะนั้นระหว่างนี้วงเงินสินเชื่อและดอกเบี้ยก็ยังไม่เดิน
"ถ้าดีลเลอร์ทำธุรกิจรถยนต์อย่างจริงจังจะไม่ค่อยมีปัญหา ส่วนใหญ่สามารถใช้คืนสินเชื่อได้ ยกเว้นดีลเลอร์ที่นำเงินไปใช้ผิดประเภท เช่น วงเงินสินเชื่อที่ไปใช้ซื้อรถมาแล้ว เมื่อขายรถออกไปได้ก็ควรคืนให้สถาบันการเงิน แต่ถ้าไม่คืนแล้วเอาไปหมุนลงทุนอย่างอื่นก็เสี่ยงจะเสียหายได้ง่าย"
จับตาหนี้เสียรถคันแรกพุ่ง
นายอิสระกล่าวว่า ทิศทางสินเชื่อในครึ่งปีหลังน่าจะเติบโตได้ช้าลง หลังจากเริ่มเห็นสัญญาณว่ากลุ่มรถคันแรกและรถมือสองที่มีปัญหาเรื่องหนี้เสียเพิ่มขึ้น และราคาตกจนทำให้ยึดรถมาแล้วจะขายขาดทุนไปราว 20-25% ซึ่งเป็นประเด็นที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กำลังเป็นห่วงในเวลานี้ ฉะนั้นช่วงครึ่งปีหลังสถาบันการเงินคงต้องชะลอการทำตลาดลงบ้าง
ด้านนายศักดิ์ชัย พีชะพัฒน์ รองกรรมการผู้อำนวยการ ธนาคารทิสโก้ กล่าวว่า สถานการณ์สต๊อกรถที่ล้นดีลเลอร์เป็นผลพวงจากดีมานด์เทียมที่เกิดขึ้นช่วงปลายปีที่แล้ว ทำให้ดีลเลอร์ต้องแบกต้นทุนตรงนี้ จากปกติที่จะเคลียร์สต๊อกรถและคืนสินเชื่อทั้งก้อนได้จบใน 45-60 วัน ก็ต้องยืดออกไปบ้าง ซึ่งธนาคารก็ยืดหยุ่นให้ แต่ก็พยายามให้ดีลเลอร์ทยอยจ่ายคืนเป็นงวด ครั้งละ 20-30% ซึ่งคาดว่าภายในสิ้นปีนี้หรือต้นปีหน้าก็น่าจะเข้าสู่ภาวะปกติได้
คุมเข้มไม่ให้ใช้เงินผิดประเภท
ขณะนี้ธนาคารทิสโก้ก็กำชับให้ทีมงานตรวจสอบสต๊อกของดีลเลอร์เข้มงวดเช่นกัน และตรวจสอบถี่ขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะกลุ่มที่สถานะเครดิตเริ่มเห็นสัญญาณว่าอาจจะมีปัญหา เช่น เริ่มจ่ายช้า หรือทยอยจ่ายเป็นรายงวด ขณะเดียวกันก็ต้องดูแลไม่ให้ดีลเลอร์นำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ที่ขอสินเชื่อไป
"ตอนนี้ดีลเลอร์รถใหม่ก็คงอึดอัดบ้าง และต้องระมัดระวังเรื่องการใช้เงินมากขึ้น ซึ่งยอมรับว่าเป็นจังหวะที่บริหารได้ยากผิดปกติ หลังจากปีที่แล้วตลาดก็ดีผิดปกติไปแล้ว และส่วนที่น่าเป็นห่วงคือกลุ่มเต็นท์รถมือสองที่น่าจะหนักกว่าดีลเลอร์รถใหม่ เพราะตลาดซบเซามา 2-3 ปี ตั้งแต่มีโครงการรถคันแรก ถึงตอนนี้ก็ยังไม่ฟื้น"
นายศักดิ์ชัยกล่าวอีกว่า ในจังหวะนี้ธนาคารก็พยายามช่วยเหลือดีลเลอร์ให้ระบายรถได้เร็วขึ้น ช่วยสนับสนุนแคมเปญกระตุ้นยอดขายต่าง ๆ ด้านหนึ่งก็เป็นจังหวะที่ดีสำหรับลูกค้าที่มีกำลังซื้อ เพราะสามารถซื้อด้วยเงื่อนไขดีมาก มีค่ายผู้ผลิตรถยนต์อัดงบฯเข้ามาอุดหนุนมากเป็นประวัติการณ์ เฉลี่ยแล้วบางค่ายสูงถึง 10% ของมูลค่ารถ จากปกติอยู่แค่ 3-5% แต่ขณะเดียวกันสถาบันการเงินก็ต้องระมัดระวังเรื่องจุดยืนในการปล่อยสินเชื่อที่มีคุณภาพด้วย
ขณะที่นายไพโรจน์ ชื่นครุฑ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.อยุธยา แคปปิตอล ออโต้ ลีส กล่าวว่า บริษัทให้ความสำคัญกับการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อผู้แทนจำหน่ายรถยนต์ และประสานงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อดูแลรักษาเงื่อนไขทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็ต้องสนับสนุนด้านการตลาดและส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการเติบโตของคู่ค้าอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยมองถึงว่าตลาดปลายปีนี้น่าจะเห็นตลาดรถยนต์เติบโตขึ้นจากแรงกระตุ้นของการจัดงานมอเตอร์ เอ็กซ์โป
ด้านนายสุภกิจ บุญเลี้ยง ผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์เอสเอ็มอี ธนาคารกรุงไทย กล่าวว่า ที่ผ่านมาธนาคารได้ปล่อยกู้ตั๋ว P/N ให้แก่ลูกค้าดีลเลอร์บ้าง แต่ถือว่าเป็นสัดส่วนที่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับพอร์ตสินเชื่อเอสเอ็มอีโดยรวม ซึ่งยอมรับว่าขณะนี้เริ่มเห็นสัญญาณว่าลูกค้าที่เป็นดีลเลอร์บางรายเริ่มชำระคืนล่าช้า เนื่องจากสต๊อกรถเอาไว้แล้วระบายออกไม่ทัน
"เราพยายามเข้าไปช่วยอย่างเข้าใจลูกค้า และผ่อนปรนให้แบบครบวงจร ตั้งแต่ยืด-ขยายอายุตั๋ว เพื่อประคองให้สถานการณ์ลูกค้าค่อย ๆ ดีขึ้น รวมถึงมีทีมดูแลลูกค้าเข้าไปดูแลใกล้ชิด" นายสุภกิจกล่าว
ค่ายรถอุ้มยืดเครดิตเท่าตัว
นายวัลลภ ตรีฤกษ์งาม ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซูซูกิ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ตลาดรถยนต์ได้รับผลกระทบมาตั้งแต่ต้นปี ยิ่งครึ่งปีหลังตลาดหดตัวชัดขึ้น หนำซ้ำช่วงนี้มีปัญหาน้ำท่วมเข้ามาอีก ส่งผลให้มู้ดการจับจ่ายของลูกค้าแย่ลง ดีลเลอร์ขายรถส่วนใหญ่เลยต้องแบกภาระกันค่อนข้างหนัก
สำหรับซูซูกิได้มีมาตรการช่วยเหลือดีลเลอร์ด้วยการยืดระยะเวลาชำระเงินออกไปนานเท่าตัว จากเดิมกำหนดว่าต้องชำระเงินภายในระยะเวลา 15 วัน หลังส่งรถก็ขยายเป็น 30 วัน หรือจาก 30 วันขยายเป็น 45 วัน เพื่อช่วยผ่อนคลายและเพิ่มสภาพคล่องให้ดีลเลอร์ รวมถึงพยายามเน้นทำกลยุทธ์ทางการตลาดเพิ่มเพื่อสร้างสีสันและกระตุ้นตลาดไปในตัว
ฮอนด้าชี้ 2 ปกลับสู่ภ�วะปกติ
ขณะที่นายพิทักษ์ พฤทธิสาริกร รองประธานกรรมการบริหารอาวุโส บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวยอมรับว่า ตอนนี้ขายรถยนต์กำไรน้อยลง ดีลเลอร์ต้องโหมจัดแคมเปญส่งเสริมการขายมากกว่าปกติเพื่อระบายรถในสต๊อก ซึ่งบริษัทไม่ได้นิ่งนอนใจ หาวิธีช่วยเหลือดีลเลอร์แต่ละรายในการพิจารณาจำนวนสต๊อกที่เหมาะสม ไม่ให้เกิดปัญหาสต๊อกสูงเกินไป ขณะที่โรงงานยังคงมีการผลิต 2 กะตามปกติ และแม้ช่วงนี้ดีลเลอร์อาจจะมีรายได้จากการขายน้อยลง แต่ยังคงมีรายได้จากศูนย์บริการเข้ามาเสริม
"ยอมรับว่าดีมานด์ตอนนี้อาจจะหายไปแต่สักระยะ ผมเชื่อว่าน่าจะไม่ถึง 2 ปีทุกอย่างจะกลับมาปกติ เราพยายามคุยกับดีลเลอร์โดยเฉพาะเรื่องสต๊อกอย่างสม่ำเสมอ และพยายามไม่ให้เกิดปัญหา" นายพิทักษ์กล่าว
ด้านนายวิเชียร เอมประเสริฐสุข รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า โตโยต้ามีนโยบายบริหารจัดการยอดสั่งจองรถให้สอดคล้องกับสภาพตลาด ปัญหาดังกล่าวไม่เกิดแน่ และดีลเลอร์แทบจะไม่มีผลกระทบตรงนี้เลย
ขณะที่นายประพัฒน์ เชยชม รองผู้จัดการใหญ่อาวุโสการตลาดและการขาย บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันสต๊อกดีลเลอร์กลับเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว ไม่ได้มีปัญหาแต่อย่างใด
มิตซูฯจับตาใกล้ชิด
ด้านนายโนบุยูกิ มูราฮาชิ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า มิตซูบิชิ ได้ติดตามสถานการณ์ตลาดอย่างใกล้ชิด และดีลเลอร์ส่วนใหญ่คลี่คลายสถานการณ์ทุกอย่างค่อนข้างลงตัว
สำหรับกรณีบริษัท มิตซูเชียงราย (999) จำกัด รวมไปถึงบริษัทในกลุ่ม 999 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง พะเยา และน่าน รวม 7 สาขาที่เป็นดีลเลอร์ของบริษัท มีปัญหาการจดทะเบียนและโอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้า บริษัทได้ทำการสืบสวนข้อเท็จจริง รวมถึงมีการพูดคุยกับดีลเลอร์รายนี้แล้ว ซึ่งทางผู้บริหารยอมรับว่าเป็นความบกพร่อง และบริษัทได้ตัดสิทธิ์จากการเป็นดีลเลอร์โดยมีผลทันที และได้แต่งตั้งตัวแทนจำหน่ายรายใหม่เข้าไปรับผิดชอบลูกค้าแทน
http://www.prachachat.net/news_detail.p ... 1381828912
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 57
ใบจองรถคันแรก 1.3 แสนคันส่อถูกทิ้งดีลเลอร์-กรมสรรพสามิตส่ง SMS ถาม
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 17 ตุลาคม 2556 12:54 น.
ใบจองรถคันแรก 1.3 แสนคันในมือดีลเลอร์ยังค้างเติ่งไม่มีคนมารับรถ กรมสรรพสามิต-ดีลเลอร์ก้นร้อนเร่งส่ง SMS พบปะลูกค้าตรงสอบถามเพื่อเช็กยอดที่แท้จริงหวั่นขายออกไปอาจถูกลูกค้าที่จองฟ้องได้ ขณะที่ค่ายรถยอมรับแคมเปญอัดยอดขายช่วงนี้จูงใจกว่ารถคันแรกแต่ปัญหาไฟแนนซ์ไม่ผ่าน 20-30% รับยอดขายรถในประเทศ ก.ย.ดิ่งแต่ดันส่งออกทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปี
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้พบว่ายอดใบจองในโครงการรถยนต์คันแรกที่มีอยู่ประมาณ 1.3 แสนคันในมือตัวแทนจำหน่าย (ดีลเลอร์) ล่าสุดยังไม่มีผู้มารับรถที่จองไว้ส่งผลให้กรมสรรพสามิตและดีลเลอร์ต้องเร่งสอบถามไปยังลูกค้าทั้งการส่งข้อความหรือ SMS การไปพบปะโดยตรงว่าจะใช้สิทธิ์หรือไม่เพื่อทำข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรเนื่องจากหากรถมีการปล่อยออกไปไม่ได้อยู่ในโชว์รูมอาจถูกลูกค้าฟ้องร้องได้
“ขณะนี้ทั้งกรมสรรพสามิตและดีลเลอร์กำลังติดตามอยู่ว่าที่สุดจะทิ้งใบจองทั้งหมดหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยอมรับว่าส่วนหนึ่งที่ลูกค้าไม่ยอมมารับรถในโครงการรถคันแรกเนื่องจากเวลานี้ค่ายรถได้จัดแคมเปญที่ให้สิทธิ์ประโยชน์ดีกว่ารถคันแรกโดยเฉพาะรถกระบะ ซึ่งล่าสุดดีลเลอร์ก็แจ้งว่ารถในสต็อกเริ่มคลี่คลายแล้วในบางรุ่นยกเว้นรถยนต์นั่งขนาดเล็กที่สต็อกยังคงสูงอยู่” นายสุรพงษ์กล่าว
สำหรับการส่งเสริมการขายค่ายรถยนต์ทุกแห่งยังคงดำเนินการต่อเนื่องเพื่อเพิ่มยอดขายในช่วงสิ้นปี รวมถึงการไปออกบูทตามห้างสรรพสินค้าเพื่อเข้าถึงลูกค้าโดยตรง ซึ่งพบว่าลูกค้ายังคงมีการจองซื้อรถยนต์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ 3-4 เดือนที่ผ่านมา แต่ที่ติดปัญหาหลังจากที่ส่งไปให้ไฟแนนซ์มีการเข้มงวดมากขึ้น และมีการต่อรองเงินดาวน์ โดยเฉลี่ยไม่ผ่านการพิจารณาปล่อยสินเชื่อจากไฟแนนซ์สูงถึง 20-30%
นายสุรพงษ์กล่าวถึงการผลิตรถยนต์ทั้งหมดเดือน ก.ย. 56 มีทั้งสิ้น 194,737 คันต่ำกว่าระดับสองแสนคันเป็นเดือนที่ 2 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค.56 จำนวน 0.86% โดยยอดขายรถยนต์ในประเทศของเดือน ก.ย.มีจำนวนทั้งสิ้น 94,859 คัน ต่ำกว่า 1 แสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจาก ส.ค. 56 ร้อยละ 5.41 เนื่องจากการส่งมอบรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกเสร็จสิ้นแล้ว
สำหรับการส่งออกรถยนต์เดือน ก.ย.อยู่ที่ 118,253 คันทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปีอีกครั้งนับตั้งแต่มีการส่งออกปี 2531 โดยการผลิตเพื่อส่งออกอยู่ที่ 109,782 คัน คิดเป็นร้อยละ 56.37 ของยอดการผลิตทั้งหมด ขณะที่การผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศเดือน ก.ย.ผลิตได้ 84,955 คัน คิดเป็นร้อยละ 43.63 ของยอดการผลิตทั้งหมด
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 17 ตุลาคม 2556 12:54 น.
ใบจองรถคันแรก 1.3 แสนคันในมือดีลเลอร์ยังค้างเติ่งไม่มีคนมารับรถ กรมสรรพสามิต-ดีลเลอร์ก้นร้อนเร่งส่ง SMS พบปะลูกค้าตรงสอบถามเพื่อเช็กยอดที่แท้จริงหวั่นขายออกไปอาจถูกลูกค้าที่จองฟ้องได้ ขณะที่ค่ายรถยอมรับแคมเปญอัดยอดขายช่วงนี้จูงใจกว่ารถคันแรกแต่ปัญหาไฟแนนซ์ไม่ผ่าน 20-30% รับยอดขายรถในประเทศ ก.ย.ดิ่งแต่ดันส่งออกทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปี
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้พบว่ายอดใบจองในโครงการรถยนต์คันแรกที่มีอยู่ประมาณ 1.3 แสนคันในมือตัวแทนจำหน่าย (ดีลเลอร์) ล่าสุดยังไม่มีผู้มารับรถที่จองไว้ส่งผลให้กรมสรรพสามิตและดีลเลอร์ต้องเร่งสอบถามไปยังลูกค้าทั้งการส่งข้อความหรือ SMS การไปพบปะโดยตรงว่าจะใช้สิทธิ์หรือไม่เพื่อทำข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรเนื่องจากหากรถมีการปล่อยออกไปไม่ได้อยู่ในโชว์รูมอาจถูกลูกค้าฟ้องร้องได้
“ขณะนี้ทั้งกรมสรรพสามิตและดีลเลอร์กำลังติดตามอยู่ว่าที่สุดจะทิ้งใบจองทั้งหมดหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยอมรับว่าส่วนหนึ่งที่ลูกค้าไม่ยอมมารับรถในโครงการรถคันแรกเนื่องจากเวลานี้ค่ายรถได้จัดแคมเปญที่ให้สิทธิ์ประโยชน์ดีกว่ารถคันแรกโดยเฉพาะรถกระบะ ซึ่งล่าสุดดีลเลอร์ก็แจ้งว่ารถในสต็อกเริ่มคลี่คลายแล้วในบางรุ่นยกเว้นรถยนต์นั่งขนาดเล็กที่สต็อกยังคงสูงอยู่” นายสุรพงษ์กล่าว
สำหรับการส่งเสริมการขายค่ายรถยนต์ทุกแห่งยังคงดำเนินการต่อเนื่องเพื่อเพิ่มยอดขายในช่วงสิ้นปี รวมถึงการไปออกบูทตามห้างสรรพสินค้าเพื่อเข้าถึงลูกค้าโดยตรง ซึ่งพบว่าลูกค้ายังคงมีการจองซื้อรถยนต์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ 3-4 เดือนที่ผ่านมา แต่ที่ติดปัญหาหลังจากที่ส่งไปให้ไฟแนนซ์มีการเข้มงวดมากขึ้น และมีการต่อรองเงินดาวน์ โดยเฉลี่ยไม่ผ่านการพิจารณาปล่อยสินเชื่อจากไฟแนนซ์สูงถึง 20-30%
นายสุรพงษ์กล่าวถึงการผลิตรถยนต์ทั้งหมดเดือน ก.ย. 56 มีทั้งสิ้น 194,737 คันต่ำกว่าระดับสองแสนคันเป็นเดือนที่ 2 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค.56 จำนวน 0.86% โดยยอดขายรถยนต์ในประเทศของเดือน ก.ย.มีจำนวนทั้งสิ้น 94,859 คัน ต่ำกว่า 1 แสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจาก ส.ค. 56 ร้อยละ 5.41 เนื่องจากการส่งมอบรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกเสร็จสิ้นแล้ว
สำหรับการส่งออกรถยนต์เดือน ก.ย.อยู่ที่ 118,253 คันทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปีอีกครั้งนับตั้งแต่มีการส่งออกปี 2531 โดยการผลิตเพื่อส่งออกอยู่ที่ 109,782 คัน คิดเป็นร้อยละ 56.37 ของยอดการผลิตทั้งหมด ขณะที่การผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศเดือน ก.ย.ผลิตได้ 84,955 คัน คิดเป็นร้อยละ 43.63 ของยอดการผลิตทั้งหมด
-
- Verified User
- โพสต์: 4241
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 58
ยานยนต์
วันที่ 17 ตุลาคม 2556 11:52
สิ้นฤทธิ์รถคันแรก ยอดขายในปท.ร่วง28%
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ส.อ.ท.เผยยอดขายรถยนต์ในประเทศ ก.ย. อยู่ที่ 9.48 หมื่นคัน ลดลง 28.5% สิ้นฤทธิ์รถคันแรก ขณะที่ยอดส่งออกรถยนต์พุ่งสูงสุดในรอบ 25 ปี
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศ เดือน ก.ย.56 มีจำนวนทั้งสิ้น 94,859 คัน ต่ำกว่าหนึ่งแสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว 28.5% และลดลงจากเดือนส.ค. 56 ที่ระดับ 5.41% เนื่องจากการส่งมอบรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกเสร็จสิ้นแล้ว มีเพียงบางส่วนที่กำลังติดตามว่าจะสละสิทธิ์หรือไม่
สำหรับตั้งแต่เดือนม.ค.- ก.ย. 56 รถยนต์มียอดขาย 1,034,199 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ในระยะเวลาเดียวกัน 3.4% ส่วนรถจักรยานยนต์ มียอดขาย 1,590,094 คัน ลดลงจากเดือนม.ค. - ก.ย. ปีก่อน 3.3%
ทั้งนี้ ช่วงเดือนก.ย. 56 ส่งออกรถยนต์ได้ 118,253 คัน ทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปีอีกครั้ง นับตั้งแต่มีการส่งออกเมื่อปี พ.ศ.2531 เพิ่มขึ้นจากเดือนก.ย. ปีก่อน 16.76% และเพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค.56 ที่ระดับ 13.47% มีมูลค่าการส่งออก 52,346.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก.ย. ปีก่อน 7.08%
ขณะที่จำนวนรถยนต์ทั้งหมดที่ผลิตได้ในเดือนก.ย. 56 มีทั้งสิ้น 194,737 คัน ต่ำกว่าสองแสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจากเดือนก.ย.ปีก่อน 16.28% แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนส.ค. 56 ที่ 0.86%
ทั้งนี้รวมจำนวนรถยนต์ที่ผลิตได้ในเดือนม.ค. - ก.ย. 56 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,930,251 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนม.ค. - ก.ย. ปีก่อน 11.99%
http://bit.ly/1bYangs
วันที่ 17 ตุลาคม 2556 11:52
สิ้นฤทธิ์รถคันแรก ยอดขายในปท.ร่วง28%
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ส.อ.ท.เผยยอดขายรถยนต์ในประเทศ ก.ย. อยู่ที่ 9.48 หมื่นคัน ลดลง 28.5% สิ้นฤทธิ์รถคันแรก ขณะที่ยอดส่งออกรถยนต์พุ่งสูงสุดในรอบ 25 ปี
นายสุรพงษ์ ไพสิฐพัฒนพงษ์ รองประธานและโฆษกกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศ เดือน ก.ย.56 มีจำนวนทั้งสิ้น 94,859 คัน ต่ำกว่าหนึ่งแสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว 28.5% และลดลงจากเดือนส.ค. 56 ที่ระดับ 5.41% เนื่องจากการส่งมอบรถยนต์ในโครงการรถยนต์คันแรกเสร็จสิ้นแล้ว มีเพียงบางส่วนที่กำลังติดตามว่าจะสละสิทธิ์หรือไม่
สำหรับตั้งแต่เดือนม.ค.- ก.ย. 56 รถยนต์มียอดขาย 1,034,199 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ในระยะเวลาเดียวกัน 3.4% ส่วนรถจักรยานยนต์ มียอดขาย 1,590,094 คัน ลดลงจากเดือนม.ค. - ก.ย. ปีก่อน 3.3%
ทั้งนี้ ช่วงเดือนก.ย. 56 ส่งออกรถยนต์ได้ 118,253 คัน ทำลายสถิติสูงสุดรอบ 25 ปีอีกครั้ง นับตั้งแต่มีการส่งออกเมื่อปี พ.ศ.2531 เพิ่มขึ้นจากเดือนก.ย. ปีก่อน 16.76% และเพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค.56 ที่ระดับ 13.47% มีมูลค่าการส่งออก 52,346.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก.ย. ปีก่อน 7.08%
ขณะที่จำนวนรถยนต์ทั้งหมดที่ผลิตได้ในเดือนก.ย. 56 มีทั้งสิ้น 194,737 คัน ต่ำกว่าสองแสนคันเป็นเดือนที่ 2 ลดลงจากเดือนก.ย.ปีก่อน 16.28% แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนส.ค. 56 ที่ 0.86%
ทั้งนี้รวมจำนวนรถยนต์ที่ผลิตได้ในเดือนม.ค. - ก.ย. 56 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,930,251 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนม.ค. - ก.ย. ปีก่อน 11.99%
http://bit.ly/1bYangs
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18134
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 59
ภาพตลาดรถยนต์ภายในประเทศ ย่ำแย่จากการสิ้นฤทธิ์ของโครงการรถยนต์คันแรก
ค่าย Honda ออกมาโฆษณาเรื่องอาชีพพิเศษไม่ต้อง 0% เมื่อก่อนไม่ต้องโฆษณาแต่ตอนนี้ต้องโฆษณาเพราะกระตุ้นยอดขาย
ส่วยค่ายโตโยต้า ออกครอบครัว Vios
ค่ายอื่นๆ ดอกเบี้ย 0% ในบางรุ่น
ส่วนตลาดต่างประเทศนั้น ส่งออกทำ New High (All time new high)
แปลกไมละ ภาพส่วนภาพขัดแย้งกันสุดขีด
ค่าย Honda ออกมาโฆษณาเรื่องอาชีพพิเศษไม่ต้อง 0% เมื่อก่อนไม่ต้องโฆษณาแต่ตอนนี้ต้องโฆษณาเพราะกระตุ้นยอดขาย
ส่วยค่ายโตโยต้า ออกครอบครัว Vios
ค่ายอื่นๆ ดอกเบี้ย 0% ในบางรุ่น
ส่วนตลาดต่างประเทศนั้น ส่งออกทำ New High (All time new high)
แปลกไมละ ภาพส่วนภาพขัดแย้งกันสุดขีด
- Teathink
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1182
- ผู้ติดตาม: 0
Re: สถานการณ์รถยนต์
โพสต์ที่ 60
ไม่แปลกหรอกครับ เนื่องจากนโยบายecocarบังคับให้บริษัทผลิตรถโดยมีขั้นต่ำทุกๆปีmiracle เขียน:ภาพตลาดรถยนต์ภายในประเทศ ย่ำแย่จากการสิ้นฤทธิ์ของโครงการรถยนต์คันแรก
ค่าย Honda ออกมาโฆษณาเรื่องอาชีพพิเศษไม่ต้อง 0% เมื่อก่อนไม่ต้องโฆษณาแต่ตอนนี้ต้องโฆษณาเพราะกระตุ้นยอดขาย
ส่วยค่ายโตโยต้า ออกครอบครัว Vios
ค่ายอื่นๆ ดอกเบี้ย 0% ในบางรุ่น
ส่วนตลาดต่างประเทศนั้น ส่งออกทำ New High (All time new high)
แปลกไมละ ภาพส่วนภาพขัดแย้งกันสุดขีด
ตัวเลขไม่ค่อยแน่ใจนะครับน่าจะราว 1แสนคันต่อปีเป็นอย่างน้อยเพื่อประโยชน์ทางภาษี
ดังนั้นถ้าขายในประเทศไม่ได้แต่ต้องผลิตเท่าเดิม ทำให้ยอดส่งออกเพิ่มขึ้นเป็นการชดเชย