คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1448
- ผู้ติดตาม: 0
คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 1
พอดี ได้ยินผู้บริหารพูดเรื่อง คานิบอไรเซชั่น
ประมาณว่า ถ้าเพิ่มสินค้าใหม่แล้วจะมีคานิบอไรเซชั่นไหม ประมาณนี้
มันแปลว่าอะไรเหรอครับ. เลยอยากสอบถามพี่ๆ ขอคำชี้แนะ
ประมาณว่า ถ้าเพิ่มสินค้าใหม่แล้วจะมีคานิบอไรเซชั่นไหม ประมาณนี้
มันแปลว่าอะไรเหรอครับ. เลยอยากสอบถามพี่ๆ ขอคำชี้แนะ
ผมเป็นคนความจำสั้น จึง post สิ่งที่อ่านหรือพบเจอที่คิดว่าอาจจะใช้ประโยชน์ใน board
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1837
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 2
Cannibalisation is what happens if one part of a company grows by taking sales from another. For example, if a retailer opens a new shop close to an existing one, then the existing shop is likely to lose some sales to the new one.
Cannibalisation is most commonly a concern where a company is selling the same products though different channels or in different locations. An example of the former would be a retailer's web site competing with its own shops.
Cannibalisation reduces sales growth (as the benefits of growth in one place will be offset by a reduction elsewhere). It may also reduce margins if customers switch to a lower cost (for them) and lower margin (for the seller) sales channel.
Conversely, obviously, cannibalisation may encourage a switch to a higher margin channel (e.g. internet sales may cut out a middle man) or it may be a price worth paying to develop a new business.
Cannibalisation is often a problem. Its effect is often less significant than might be expected because most companies are already in a competitive environment: they compete with others, so the extra impact of also competing with themselves is often limited.
Competing with oneself may even be turned to a company's advantage by inducing customers to look at the same produce twice in different guises. This is why some companies (such as car manufacturers and food producers) often sell very similar products with different branding.
Cannibalisation is most commonly a concern where a company is selling the same products though different channels or in different locations. An example of the former would be a retailer's web site competing with its own shops.
Cannibalisation reduces sales growth (as the benefits of growth in one place will be offset by a reduction elsewhere). It may also reduce margins if customers switch to a lower cost (for them) and lower margin (for the seller) sales channel.
Conversely, obviously, cannibalisation may encourage a switch to a higher margin channel (e.g. internet sales may cut out a middle man) or it may be a price worth paying to develop a new business.
Cannibalisation is often a problem. Its effect is often less significant than might be expected because most companies are already in a competitive environment: they compete with others, so the extra impact of also competing with themselves is often limited.
Competing with oneself may even be turned to a company's advantage by inducing customers to look at the same produce twice in different guises. This is why some companies (such as car manufacturers and food producers) often sell very similar products with different branding.
- kotaro
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1495
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 3
การกินตัวเอง
ออกสินค้าใหม่ หรือเปิดร้านใหม่แทนที่จะได้ลูกค้าใหม่ แต่กลับได้ลูกค้าเราจากสาขาอื่นที่ใกล้ๆกัน
ออกสินค้าใหม่ หรือเปิดร้านใหม่แทนที่จะได้ลูกค้าใหม่ แต่กลับได้ลูกค้าเราจากสาขาอื่นที่ใกล้ๆกัน
“Laughter is timeless. Imagination has no age. And dreams are forever.” ― Walt Disney Company
-
- Verified User
- โพสต์: 1448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 4
ขอบคุณมากครับ
แล้วอย่างงี้การแยก secment
ก็ต้องระวังการกินตัวเองใช่ไหมครับ
ผลดีผลเสียขึ้นอยู่กับกรณีหรือเปล่าครับ
เช่น kodak ควรกินตัวเอง โดยการออกผลิตภัณฑ์ กลอ่ง digital แต่ไม่ทำ
ในขณะที่ sumsung hardisk เลือกที่จะหยุด hard disk ขนาดเล็ก
หันไปผลิต nan flash แทน
ไม่ทราบว่าผมเข้าใจถูกหรือเปล่า. หรือผมสับสนกับกรณี สบู่นกแก้วออก ครีมตัวใหม่ เพื่อทดแทนสบู่แบบบ้านๆ
ขอชี้แนะด้วยครับ
แล้วอย่างงี้การแยก secment
ก็ต้องระวังการกินตัวเองใช่ไหมครับ
ผลดีผลเสียขึ้นอยู่กับกรณีหรือเปล่าครับ
เช่น kodak ควรกินตัวเอง โดยการออกผลิตภัณฑ์ กลอ่ง digital แต่ไม่ทำ
ในขณะที่ sumsung hardisk เลือกที่จะหยุด hard disk ขนาดเล็ก
หันไปผลิต nan flash แทน
ไม่ทราบว่าผมเข้าใจถูกหรือเปล่า. หรือผมสับสนกับกรณี สบู่นกแก้วออก ครีมตัวใหม่ เพื่อทดแทนสบู่แบบบ้านๆ
ขอชี้แนะด้วยครับ
ผมเป็นคนความจำสั้น จึง post สิ่งที่อ่านหรือพบเจอที่คิดว่าอาจจะใช้ประโยชน์ใน board
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
- kotaro
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1495
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 5
เรื่อง Cannibalisation นี่น่าจะมองในมุมของ ปัญหามากกว่านะครับ ว่า จริงๆแล้ว บริษัทฯวางกลยุทธ์ว่าจะ growth แต่ผิดคาดกลับไปเจอปัญหาเรื่อง Cannibalisation แทน (วางกลยุทธ์ผิด)
ส่วนอีกมุมองคือ กลยุทธ์ที่มีการวางแผนมาก่อน
เช่นกลยุทธ์ new product same market หรือ new shop same market
เพราะถ้าเราไม่ทำ คนอื่นก็จะมาเอาตลาดของเราไป เราเลยกินตัวเองดีกว่าปล่อยให้คนอื่นกิน
ที่เห็นชัดสำหรับคน คือร้านแว่นท๊อปเจริญ ในจังหวัดผมเปิดเยอะมาก........
แต่ส่วนใหญ่กลยุทธ์แบบนี้จะไม่ใช้ตอนที่ยังอยู่ในช่วง growth นะ น่าจะเป็นตลาดที่ mature แล้ว
(ถ้าใครรู้ว่ามั่ว ช่วยแก้ให้ด้วยนะครับ )
ส่วนอีกมุมองคือ กลยุทธ์ที่มีการวางแผนมาก่อน
เช่นกลยุทธ์ new product same market หรือ new shop same market
เพราะถ้าเราไม่ทำ คนอื่นก็จะมาเอาตลาดของเราไป เราเลยกินตัวเองดีกว่าปล่อยให้คนอื่นกิน
ที่เห็นชัดสำหรับคน คือร้านแว่นท๊อปเจริญ ในจังหวัดผมเปิดเยอะมาก........
แต่ส่วนใหญ่กลยุทธ์แบบนี้จะไม่ใช้ตอนที่ยังอยู่ในช่วง growth นะ น่าจะเป็นตลาดที่ mature แล้ว
(ถ้าใครรู้ว่ามั่ว ช่วยแก้ให้ด้วยนะครับ )
“Laughter is timeless. Imagination has no age. And dreams are forever.” ― Walt Disney Company
-
- Verified User
- โพสต์: 1448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 7
ขอบคุณครับคุณหมอ
ผมว่า robinson รัชดา กับพระราม9 ไม่ใช่กรณีนี้ เพราะเป็นสินค้าทดแทนชัดเจนเพราะความจำเป็นเนื่องจาก
สัญญาตรงรัชดาหมด เลยต้องย้ายครับ
ผมว่าน่าจะเป็นกรณี น้ำโออิชิทั้งหลาย หรืออย่างพวก มาม่า ราเมงoriental
ได้ความรู้เพิ่ม ขอบคุณครับ
ผมว่า robinson รัชดา กับพระราม9 ไม่ใช่กรณีนี้ เพราะเป็นสินค้าทดแทนชัดเจนเพราะความจำเป็นเนื่องจาก
สัญญาตรงรัชดาหมด เลยต้องย้ายครับ
ผมว่าน่าจะเป็นกรณี น้ำโออิชิทั้งหลาย หรืออย่างพวก มาม่า ราเมงoriental
ได้ความรู้เพิ่ม ขอบคุณครับ
ผมเป็นคนความจำสั้น จึง post สิ่งที่อ่านหรือพบเจอที่คิดว่าอาจจะใช้ประโยชน์ใน board
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
เพื่อจะได้กลับมาอ่านทีหลัง
หากเยอะไปหรือ ทำให้เพื่อนๆ รำคาญในต้องขออภัยด้วยครับ
หากบางหัวข้อไม่มีเนื้อ หรือ เพื่อนๆ บันทึกเนื้อข่าวเพิ่มให้จะขอบคุณอย่างยิ่งครับ
- Ii'8N
- Verified User
- โพสต์: 3682
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 8
cannibalization ถึงส่วนใหญ่จะความหมายลบ
แต่เคยเห็นเขาบอกวิธีการ Apple (Jobs), Gillette, etc. ก็เรียกกลยุทธ์ cannibalization ด้วยครับ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ โจมตีผลิตภัณฑ์เก่าตัวเราเอง ด้วย R&D ให้มีความเหนือกว่า ก่อนที่คนอื่นมาโจมตีเรา
http://www.slideshare.net/mprege/brand-cannibalization
แต่เคยเห็นเขาบอกวิธีการ Apple (Jobs), Gillette, etc. ก็เรียกกลยุทธ์ cannibalization ด้วยครับ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ โจมตีผลิตภัณฑ์เก่าตัวเราเอง ด้วย R&D ให้มีความเหนือกว่า ก่อนที่คนอื่นมาโจมตีเรา
http://www.slideshare.net/mprege/brand-cannibalization
-
- Verified User
- โพสต์: 23
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 9
canibalisation คือการกินตัวเองของสินค้าที่เราออกมาใหม่หรือ List-in เข้าไปใหม่ครับ
เช่นเราทำเครื่องดื่มอยู่รสชาติหนึ่งมียอดขาย 100 ขวดต่อเดือน พอเราออกรสชาติใหม่ขึ้นมา ตัวใหม่มียอดขาย 40 ขวดต่อเดือน แต่รสชาติเดือนเหลือยอดขาย 70 ขวดต่อเดือน แสดงว่าน้ำรสชาติใหม่มีการกิน share ตัวเก่าไป 30% แต่หากมองภาพรวมยอดขายเรากลับเพิ่มเป็น 110 ขวดต่อเดือน หรือเพิ่มมา 10% แทน
ตรงนี้บริษัทก็ต้องมีการวิเคราะห์และคำนวณ รวมทั้งทำตลาดให้ดี คือให้มีการกินตัวเองน้อยที่สุด แล้วไปแย่งแชร์คู่แข่งมาแทน หรือให้ช่วยกันขยายตลาดแทน
เช่นเราทำเครื่องดื่มอยู่รสชาติหนึ่งมียอดขาย 100 ขวดต่อเดือน พอเราออกรสชาติใหม่ขึ้นมา ตัวใหม่มียอดขาย 40 ขวดต่อเดือน แต่รสชาติเดือนเหลือยอดขาย 70 ขวดต่อเดือน แสดงว่าน้ำรสชาติใหม่มีการกิน share ตัวเก่าไป 30% แต่หากมองภาพรวมยอดขายเรากลับเพิ่มเป็น 110 ขวดต่อเดือน หรือเพิ่มมา 10% แทน
ตรงนี้บริษัทก็ต้องมีการวิเคราะห์และคำนวณ รวมทั้งทำตลาดให้ดี คือให้มีการกินตัวเองน้อยที่สุด แล้วไปแย่งแชร์คู่แข่งมาแทน หรือให้ช่วยกันขยายตลาดแทน
-
- Verified User
- โพสต์: 390
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 10
ที่เห็นชัดเจน แต่ไม่เห็นมีคนพูดถึงในที่นี้คือ 7-11 ไงครับ
ซอยเดียวกัน เปิดติด ๆ กัน อย่างข้างหลัง ม.จันทร์เกษม ครับ
ซอยเดียวกัน เปิดติด ๆ กัน อย่างข้างหลัง ม.จันทร์เกษม ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 423
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 11
tigerroad197 เขียน:ที่เห็นชัดเจน แต่ไม่เห็นมีคนพูดถึงในที่นี้คือ 7-11 ไงครับ
ซอยเดียวกัน เปิดติด ๆ กัน อย่างข้างหลัง ม.จันทร์เกษม ครับ
อย่าง 7-11 ในมุมมองผม ผมว่าเค้าต้องยอมที่จะกินตัวเองบ้าง เพื่อป้องกันไม่ให้คู่แข่งมาเปิดใกล้ๆ หากคู่แข่งมาเปิดใกล้ๆมันจะกลายเป็นเสียแชร์ให้คู่แข่งอย่างเต็มๆครับ เค้าก็เลยต้องยอมกินตัวเองบ้าง เพื่อรักษาlocationเอาไว้ฮะ
อันนี้ยังไม่รวมถึงเรื่องที่ผมเคยได้ยินมา อย่างเช่นร้านแรกเป็นของแฟรนไชนส์ ขายดีมาก ทางบริษัทเลยจะขอให้ขยายร้านเพิ่ม แต่เจ้าของแฟรนไชนส์ขยายไม่ไหวหรือไม่อยากขยาย บริษัทก็เลยมาเปิดเองซะเลย ก็เลยกลายเป็นบริษัทเสียส่วนแบ่งให้เจ้าของแฟรนไชนส์น้อยลง ตัวเองกำไรมากขึ้น เรื่องนี้จริงเท็จประการใดผมก็ไม่ทราบนะครับ แค่เคยได้ยินๆเค้าพูดกันมาครับ
สิ่งที่สำคัญที่สุดในการเดินทางสายนี้คือ จิตใจที่มั่นคงและแน่วแน่.....ส่วนความรู้เป็นสิ่งที่สามารถไขว่คว้าเพื่อตามให้ทันผู้อื่นได้ สู้ต่อไป...
- boypeter
- Verified User
- โพสต์: 297
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คานิบอไรเซชั่น คืออะไรเหรอครับ
โพสต์ที่ 13
เรื่องจริงครับ ข้างบ้านผมเอง...Yaiba123 เขียน:tigerroad197 เขียน:ที่เห็นชัดเจน แต่ไม่เห็นมีคนพูดถึงในที่นี้คือ 7-11 ไงครับ
ซอยเดียวกัน เปิดติด ๆ กัน อย่างข้างหลัง ม.จันทร์เกษม ครับ
อย่าง 7-11 ในมุมมองผม ผมว่าเค้าต้องยอมที่จะกินตัวเองบ้าง เพื่อป้องกันไม่ให้คู่แข่งมาเปิดใกล้ๆ หากคู่แข่งมาเปิดใกล้ๆมันจะกลายเป็นเสียแชร์ให้คู่แข่งอย่างเต็มๆครับ เค้าก็เลยต้องยอมกินตัวเองบ้าง เพื่อรักษาlocationเอาไว้ฮะ
อันนี้ยังไม่รวมถึงเรื่องที่ผมเคยได้ยินมา อย่างเช่นร้านแรกเป็นของแฟรนไชนส์ ขายดีมาก ทางบริษัทเลยจะขอให้ขยายร้านเพิ่ม แต่เจ้าของแฟรนไชนส์ขยายไม่ไหวหรือไม่อยากขยาย บริษัทก็เลยมาเปิดเองซะเลย ก็เลยกลายเป็นบริษัทเสียส่วนแบ่งให้เจ้าของแฟรนไชนส์น้อยลง ตัวเองกำไรมากขึ้น เรื่องนี้จริงเท็จประการใดผมก็ไม่ทราบนะครับ แค่เคยได้ยินๆเค้าพูดกันมาครับ
เดิมที มี 7-11 สาขาเดียว ขายดีมาก เป็นแฟรนไชน์
- ต่อมา Lotus express มาเปิดฝั่งตรงข้าม
- 7-11 ของบริษัทมาให้เปิดสาขาเพิ่ม ข้าง Lotus แต่แฟรนไชน์ไม่เอาด้วย บริษัทเลยเปิดเอง 3-4 ห้องเลยใหญ่มาก
- BigC mini มาเปิดตรงกลางต่อ ระหว่าง Lotus กับ 7-11 บริษัท
เหตุการณืที่เกิดขึ้น ในเวลา 6 เดือน แข่งกันดุเดือดมาก
แต่โดยสรุป อยู่กันได้หมด 4 แห่ง ที่อยู่ติดๆกัน 7-11 share ไปได้เยอะสุด แต่ที่เซ็งสุด คือ 7-11 แฟรนไชน์
แต่นี่ คือ ธุรกิจ ครับ