หน้าแรก
เว็บบอร์ด
หลักสูตรออนไลน์
Marketplace
สินค้าสมาคม
ทดลองใช้ฟรี 30 วัน
เข้าสู่ระบบ
เมนูลัด
แสดงกระทู้ที่ยังไม่มีการตอบ
แสดงกระทู้ที่เปิดดูแล้ว
ค้นหา
รายชื่อสมาชิก
ทีมงาน
FAQ
ไอเดียหุ้นเด้ง
โพสต์ยอดนิยม
หุ้นที่ติดตาม
ผู้เขียนที่ติดตาม
pakdhorc
Joined: ศุกร์ ม.ค. 05, 2007 2:43 am
6
โพสต์
|
0
กำลังติดตาม
|
0
ผู้ติดตาม
ส่งข้อความ
ดูประวัติส่วนตัว - pakdhorc
กระทู้ที่ตั้ง
โพสต์ที่ตอบ
โพสต์ที่ตอบ
คอมเมนต์
ไลค์
ไม่มีหัวข้อ
โดย
pakdhorc
พฤหัสฯ. ก.ย. 06, 2007 11:51 pm
0
0
แจก EPS16YEAR (งบดุล ย้อน 19 ปี,ราคา,Ratio,แบบเครดิตภาษี)
ขอรบกวนด้วยคนครับ
[email protected]
ขอบคุณครับ
โดย
pakdhorc
อังคาร ม.ค. 09, 2007 3:14 am
0
0
* * * จิบกาแฟ แล เศรษฐกิจ * * *
สวัสดีครับ ทุกท่าน เข้าใจว่ามีผู้สนใจประเด็นเรื่องค่าเงินบาทเป็นจำนวนมาก แต่ต้องขอบอกก่อนนะครับว่าผมอาจมีความรู้อย่างไม่ถูกต้องครบถ้วย ดังนั้นถ้าท่านใดผ่านมาพบว่าผิดพลาดก็รบกวนช่วยแก้ไขให้ด้วยครับ ขอขอบคุณ สำหรับ บทความของ ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ นั้นผมเข้าใจว่าท่านกล่าวถึงเฉพาะตลาดเงินบาทในประเทศ( onshore ) ครับ ในปัจจุบันเราใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ดังนั้นค่าเงินจะเปลี่ยนไปตามปริมาณ Demand และ Supple ของเงินบาทในตลาด onshore เป็นหลักครับเมื่อใดที่ Demand บาทมาก ค่าเงินบาทก็จะแข็ง ถ้า Demand บาทน้อย ค่าเงินบาทก็จะอ่อนครับ การที่ Demand บาทจะมากหรือน้อยก็มีมาจากหลายสาเหตุครับเช่น การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย สมมุติว่าถ้า ธปท. ขึ้นดอกเบี้ย ชาวต่างชาติที่เขารู้สึกว่าผลตอบแทนของดอกเบี้ยในเงินสกุลบาทน่าสนใจเขาก็จะขนเงินเข้ามาแลกเงินบาทเพื่อเอามาลงทุนในประเทศไทย จะลงทุนในไทยส่วนใหญ่ก็ต้องใช้เงินสกุลบาทดังนั้น เงิน$ก็จะวิ่งมาออกันที่ธปท.ทำให้เกิด Demand ในเงินบาทเพิ่มขึ้นครับ ตามหลักการปกติถ้าธปท.ไม่เข้าแทรกแซงเลย ค่าเงินก็จะแข็งค่าเพิ่มขึ้นตามความต้องการบาทครับ ( เพราะเม็ดเงินในระบบมีเท่าเดิม วันดีคืนดีก็มีนักลงทุนต่างชาติที่ต้องการเพิ่มขึ้นมา ) แต่ถ้าธปท.ไม่อยากให้เงินบาทแข็งค่า( $อ่อน ) ก็ต้องเพิ่ม Supply บาทในระบบโดยการเอาเงินที่พิมพ์เก็บไว้ในห้องมั่งคงออกมาให้ต่างชาติแลกเป็นเงินบาท เม็ดเงินตัวนี้เองที่ไปเพิ่มปริมาณเงินในระบบ และอาจทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อครับ ธปท. จึงต้องดูดสภาพคล่องกลับโดยการออกพันธบัตร ตามที่ผมได้เคยกล่าวไปแล้วครับ สรุป ถ้าผมเข้าใจไม่ผิด ก็คือ เงิน$ ไหลเข้ามาในประเทศไทยจะไปถูกเก็บไว้ที่ ธปท.ครับ( เงินทุนสำรองจึงเพิ่มขึ้น ) ธปท.ก็ปล่อยเงินบาทออกให้นักลงทุนต่างชาติเอาเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจในประเทศ ( ซึ่งถ้าไม่อยากให้เงินบาทแข็งค่าก็ต้องพิมพ์แบงค์เพิ่ม ถ้าไม่พิมพ์แบงค์เพิ่มเงินบาทก็จะแข็งค่า ) น่าจะเป็นอย่างนี้นะครับ ส่วนการซื้อ ขาย เงินบาทในตลาดต่างประเทศ ( offshore ) ต้องขออภัยครับผมไม่มีความรู้เรื่องนี้ครับ ขอบคุณครับ :D :D :D :D
โดย
pakdhorc
อังคาร ม.ค. 09, 2007 1:50 am
0
0
* * * จิบกาแฟ แล เศรษฐกิจ * * *
ยินดีครับ คุณ matrix ถ้าอย่างไงแล้วผมจะหาโอกาสเข้ามาแลกเปลี่ยนทัศนะด้านเศรษฐศาสตร์บ้างตามความรู้ที่ผมมีครับ ถ้าผิดพลาดประการใดขอให้ช่วยชี้แนะด้วยครับ ผมเปิดกว้างรับความคิดเห็นเสมอครับ
โดย
pakdhorc
จันทร์ ม.ค. 08, 2007 3:44 pm
0
0
* * * จิบกาแฟ แล เศรษฐกิจ * * *
เรื่องค่าเงินบาทกับการออกพันธบัตรนั้นมีความเกี่ยวข้องกันตามทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์ดังนี้ครับ หากว่ามีเงินทุนไหลเข้ามาในประเทศไทยมากๆก็แสดงว่ามีคนอยากที่จะแลกเงินสกุลต่างประเทศกับเงินบาทเพิ่มขึ้น เพื่อจะนำมาลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆในประเทศไทย ดังนั้น ธปท.ก็จะต้องรับซื้อเงินตราต่างประเทศนั้นไว้( จึงทำให้เงินทุนสำรองเพิ่มขึ้น ) แล้วก็ปล่อยเงินบาทที่เก็บไว้ออกมาเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ การเข้ามาของเงินบาทจำนวนนี้จะทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นเพราะ ปริมาณสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นไม่ทันการเพิ่มขึ้นของเม็ดเงินในระบบ( เม็ดเงินมากขึ้นแต่สินค้าเท่าเดิม ) จึงทำให้ราคาสินค้ามีการปรับตัวเพิ่มขึ้น และจะเกิดภาวะเงินเฟ้อในที่สุด ซึ่งเป้าหมายของ ธปท.ก็คือการคุมเงินเฟ้อ เพือในเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ เมื่อเงินเฟ้อจะเกิดจากการเพิ่มของปริมาณเงินบาทในระบบ วิธีแก้ก็คือต้องไปลดปริมาณเงินบาทในระบบ ซึ่งก็มีความเป็นไปได้หลายวิธี เช่น พยายามให้ตลาดเชื่อว่าเงินบาทจะอ่อนโดยนโยบายต่างๆ นักลงทุนที่เคยเอาเงินเข้ามาก็จะพยายามแลกเงินบาทกลับเป็นเงินตราต่างประเทศ เงินบาทก็จะไหลกลับมาสู่ ธปท. คนก็จะเอาไปจับจ่ายใช้สอยไม่ได้ เงินเฟ้อก็จะลดลง แต่วิธีนี้จะกระทบกับระดับเงินทุนสำรองที่จะต้องลดลงไป หรือ การใช้วิธีการออก พันธบัตร ธปท .ออกมาขายให้ประชาชน คนที่เคยมีเงินอยู่ในมือเมื่อมาซื้อ พันธบัตรฯ แล้วก็จะทำให้เข้าเหลือเงินไว้จับจ่ายน้อยลงเช่นเดียวกับวิธีแรก เงินก็จะเฟ้อน้อยลง ซึ่งในวิธีนี้ก็มีต้นทุนของ ธปท.ในการจ่ายดอกเบี้ย พันธบัตร ที่ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณร้อยละ 5 ต่อปีครับ ดังนั้น การไหลเข้าของเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน เงินเฟ้อ และ การออกพันธบัตร จึงน่าที่จะเกี่ยวข้องกันตามที่เคยเรียนมาครับ
โดย
pakdhorc
จันทร์ ม.ค. 08, 2007 12:31 pm
0
0
* * * จิบกาแฟ แล เศรษฐกิจ * * *
สมมุติว่าเราเป็นคนวางนโยบายบ้าง ควรใช้นโยบายอะไรที่จะสกัดการเข้ามาเก็งกำไรค่าเงินดีหล่ะครับ เผื่อคนในแบ็งค์ชาติมาอ่านเจอแล้วเขาจะเอาไปใช้บ้างครับ :lol:
โดย
pakdhorc
ศุกร์ ม.ค. 05, 2007 2:57 am
0
0
หน้า
1
จากทั้งหมด
1
ชื่อล็อกอิน:
pakdhorc
ระดับ:
Verified User
กลุ่ม:
สมาชิก
ติดต่อสมาชิก
PM:
ส่งข้อความส่วนตัว
สถิติสมาชิก
ลงทะเบียนเมื่อ:
ศุกร์ ม.ค. 05, 2007 2:43 am
ใช้งานล่าสุด:
พฤหัสฯ. ก.ย. 06, 2007 11:55 pm
โพสต์ทั้งหมด:
6 |
ค้นหาเจ้าของโพสต์
(0.00% จากโพสทั้งหมด / 0.00 ข้อความต่อวัน)
GO_TO_SEARCH_ADV
ไปที่
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้น
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้นต่างประเทศ
↳ ไอเดียหุ้นเด้ง
↳ หลักสูตรการลงทุนออนไลน์
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์ [กระทู้รับชมออนไลน์]
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์
↳ ThaiVI GO Series
↳ คลังกระทู้คุณค่า
↳ Value Investing
↳ บทความ
↳ ความรู้งบการเงิน
↳ ร้อยคนร้อยเล่ม / Multimedia Forum
↳ mai Corner
↳ Alternative Investing
เรื่องทั่วไป
↳ นั่งเล่น / กีฬา / สุขภาพ
↳ Asking Staff
↳ CSR
×
บันทึกไม่สำเร็จ
กรุณาลองใหม่อีกครั้ง
×
บันทึกสำเร็จแล้ว