หน้าแรก
เว็บบอร์ด
หลักสูตรออนไลน์
Marketplace
สินค้าสมาคม
ทดลองใช้ฟรี 30 วัน
เข้าสู่ระบบ
เมนูลัด
แสดงกระทู้ที่ยังไม่มีการตอบ
แสดงกระทู้ที่เปิดดูแล้ว
ค้นหา
รายชื่อสมาชิก
ทีมงาน
FAQ
ไอเดียหุ้นเด้ง
โพสต์ยอดนิยม
หุ้นที่ติดตาม
ผู้เขียนที่ติดตาม
banklin
Joined: พุธ มิ.ย. 28, 2006 8:07 pm
30
โพสต์
|
0
กำลังติดตาม
|
0
ผู้ติดตาม
ส่งข้อความ
ดูประวัติส่วนตัว - banklin
กระทู้ที่ตั้ง
โพสต์ที่ตอบ
โพสต์ที่ตอบ
คอมเมนต์
ไลค์
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
อังคาร ธ.ค. 22, 2009 11:16 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
อังคาร ธ.ค. 22, 2009 11:09 pm
0
0
กองทุนรวมทองคำ
รายละเอียดเพิ่มเติม ไปดูในลิงค์นี้นะครับ http://www.tmbam.com/th/mutual_funds/other/goldfund/index.html
โดย
banklin
อังคาร ก.ย. 11, 2007 7:57 am
0
0
ช่วงนี้น่าจะ FIF เห็นด้วยหรือไม่ครับ ???
ว่ากันตามทฤษฎีแล้ว การลงทุนในต่างประเทศ เป็นแค่ตัวเลือกหนึ่งในการลงทุนเท่านั้นนะครับ ตามทฤษฏีการเงินสมัยใหม่ ไม่ว่าตำราเล่มไหน ก็ให้การสนับสนุนว่า นักลงทุนควรมีการกระจายความเสี่ยงในการลงทุน โดยการเลือกลงทุนสินทรัพย์ประเภทต่างๆมากกว่า 1 ชนิดขึ้นไป (Asset Allocation) เพื่อให้โอกาสที่ผลตอบแทนคาดหวังจะคลาดเคลื่อนนั้นน้อยลง และลดความผันผวนของพอร์ตการลงทุนโดยรวม ซึ่งส่วนตัวแล้วผมก้เห็นด้วยกับหลักการคิดดังกล่าว กลับมาตอบคำถามที่ว่า .... แล้วควรกระจายการลงทุนอย่างไรดี?? สิ่งสำคัญที่สุดคือ วัดระดับความเสี่ยงที่ตัวนักลงทุนรับได้ก่อน จะรบ เราก็ควรรู้ว่า เราถนัดอะไร และไม่ถนัดอะไร ถูกไหมครับ ใครรับความเสี่ยงได้มาก ก็สามารถลงทุนใน Risky Asset ได้สูงหน่อย ถ้าได้น้อยลงก็ตามสัดส่วนกันไป สำหรับ Finansa นั้น เคยจัดพอร์ตการลงทุนตามช่วงอายุของคนให้กับนักลงทุนดู ซึ่งก็ถือว่าใช้ได้ระดับหนึ่ง (เมื่ออายุคนเราสูงขึ้น เราจะรับความเสี่ยงได้น้อยลง) ลองดูแล้วกันครับ ว่าตัวเองรับความเสี่ยงได้แค่ไหน สำหรับนักลงทุนในห้อง VI ผมแน่ใจว่าเกินครึ่ง ไม่ได้ลงทุนเฉพาะหุ้นไทยเพียงอย่างเดียว เหตุผลก็ไม่ต้องอ้างหลักอะไรข้างต้นมาก้พอจะเข้าใจได้ เพราะนักลงทุนทุกคนมีข้อจำกัดเหมือนกันคือ ยังมีความกลัวความเสี่ยงอยู่ เพราะหากไม่กลัว เราคงลงทุนเหมือนเล่นพนัน และหมดตัวกันไปเรียบร้อยแล้ว ดังนั้น FIF จึงถือเป็นการกระจายความเสี่ยงที่ดีวิธีหนึ่ง ซึ่งตอบไม่ได้ว่า ควรลงทุนหรือยัง เพราะตามความเห็นของผมนั้น ไม่ว่าช่วงไหนของการลงทุน FIF จำเป็นต่อการจัดพอร์ตการลงทุนทั้งสิ้น อยู่ที่ว่า จะเลือกลงทุนในอะไร และมากน้อยแค่ไหน ก็เท่านั้น ลองมองอย่างนี้ไหมครับ ไม่ว่าเราจะอยู่ส่วนไหนของ Time Line ในช่วงชีวิต ปัญหาระดับมหภาคนั้นเกิดขึ้นตลอด แรงบ้าง เบาบ้าง แต่เราก็ผ่านมาได้ ทั้งดีบ้าง และพอไปได้บ้าง แต่สรุปเราก็ผ่านมาได้ ปัญหาด้านการเมืองเนี่ย ประเทศ Emerging Market เจอกันหมด ประเทศที่พัฒนาแล้ว ก็เคยมาก่อนทั้งนั้น เราน่าจะผ่านไปได้ หากมองในระยะยาว ปัญหาที่น่าเป็นห่วงมากกว่าคือ ทำอย่างไร ตลาดหุ้นไทยถึงจะมีเสถียรภาพมากกว่าที่เป็นอยู่... พอคิดถึงจุดนี้ เราก็บอกกับตัวเองว่าเป็นไปได้ยาก ถ้าอย่างนั้น FIF ก็น่าจะช่วยเพิ่มความสบายใจในการลงทุนให้เรามากขึ้น ส่วนจะลงทุนใน FIF ที่มีกลยุทธ์อะไรบ้างนั้น แล้วแต่จริตนิสัยของนักลงทุนแล้วครับ ยังชอบลงทุนในหุ้น ก็เลือกตามภูมิภาค ว่าจะลงทุนในภูมิภาคไหน หรือถ้าอยากได้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝาก แต่รับความผันผวนระดับกองทุนหุ้นไม่ได้ ก็คงต้องดูเป็น FIF ลงทุนในตราสารหนี้แทน ส่วนเรื่องประเด็นค่าเงินบาทนั้น เราต้องไปดูอีกทีครับว่า กองทุนที่เราไปลงทุนนั้น หลักๆเป็นสกุลอะไร และมีนโยบายป้องกันความเสี่ยงด้านค่าเงินหรือเปล่า -------------------------- โชคดีในการลงทุนครับ
โดย
banklin
พุธ ก.ค. 25, 2007 12:05 am
0
0
กองทุน FIF ไหน ลงทุนที่ ญี่ปุ่นบ้าง
ไม่ได้แวะมา thaivi ซะนานเลยครับ ^^ สำหรับกองทุน FIF ที่เน้นลงทุนในประเทศณี่ปุ่นทั้งพอร์ต ณ ตอนนี้ในประเทศไทยมีแค่กองเดียวเท่านั้นล่ะครับ Nippon Growth Fund โดย บลจ.แอสแซทพลัส สาเหตุที่ บลจ. ส่วนใหญ่ และมุมมองของผุ้จัดการกองทุนส่วนมาก หลีกเลี่ยงการลงทุนในตลาดณี่ปุ่น หลักๆก็คือ ยังไม่เห็นทิศทางชัดเจนว่า เศรษฐกิจณี่ปุ่นจะฟื้นตัว เพราะอัตราเงินเฟ้อยังติดลบ อีกทั้งดอกเบี้ยก็ยังต่ำติดดิน ทำให้เกิดการทำ Carry Trade (กู้เงินในณี่ปุ่น แล้วไปลงทุนในประเทศอื่นที่อัตราผลตอบแทนสูงกว่า) แต่ก็มีบางกองทุนเหมือนกันนะครับ ที่ลงทุนในตลาดณี่ปุ่นบางส่วน เพราะยังเห็นโอกาสฟื้นตัวของเศรฐกิจบ้าง เข้าทำนองว่า ในวิกฤต มีโอกาสสำหรับผู้ที่เห็นเสมอ ที่ทำผลการดำเนินงานได้เด่นๆ ก็มี Primavest Oriented Fund หรือ POF โดย บลจ.พรีมาเวสท์นั้นเอง ส่วนกองทุนอื่นที่ลงทุนในทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่ จะไม่ลงทุนณี่ปุ่นเพราะรูปแบบ และวงจรเศรษฐกิจไม่เหมือนกันครับ -------------------------- โชคดีในการลงทุนครับ
โดย
banklin
อังคาร ก.ค. 24, 2007 11:48 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พุธ พ.ย. 22, 2006 12:26 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พฤหัสฯ. พ.ย. 16, 2006 9:32 pm
0
0
ระหว่างฝากเงินออมทรัพย์ ฝากประจำ และกองทุนตราสารหนี้
ตอบโจทย์สภาพคล่องดี เสี่ยงต่ำ และย้ำด้วยผลตอบแทนที่สูกว่าเงินฝากออมทรัพย์ ด้วย "Money Market Fund" ครับ "Money Market Fund" เรียกอีกอย่างว่า กองทุนรวมตราสารตลาดเงิน ลักษณะกองทุนที่สำคัญก็คือ - มีนโยบายลงทุนในตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐบาล ตั๋วเงินคลังอายุไม่เกิน 3 เดือน - มีนโยบายคุ้มครองเงินต้นแก่ผู้ลงทุน - สามารถซื้อ/ขาย ได้ทุกวันทำการ (ถ้าขายคืน ได้รับเงินคืน T+1 หรือ T+2 แล้วแต่ บลจ.แต่ละแห่ง) - ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของหลายธนาคาร ผมแนะนำให้ลองพิจารณากองทุนทหารไทยธนรัฐ (TMBTM) ของ บลจ.ทหารไทย (TMBAM) ดูนะครับ เนื่องจากเป็นกองทุน MM Fund ที่มีความเสี่ยงต่ำที่สุดในประเทศ ประกอบกับผลการดำเนินงานย้อนหลัง 1 เดือนที่ผ่านมา อยู่ที่ 4.4%ต่อปี (ณ วันที่ 29/09/06) โดยผลตอบแทนที่เราได้รับนี้ ไม่เสียภาษีเหมือนเงินฝากธนาคารนะครับ รายละเอียดเพิ่มเติมครับ http://www.tmbam.com/th/mutual_funds/cash_management/treasury_money/index.html
โดย
banklin
อังคาร ต.ค. 03, 2006 4:37 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พุธ ก.ย. 27, 2006 3:28 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พุธ ก.ย. 27, 2006 3:25 pm
0
0
Best LTF in the market
วิธีดูง่ายที่สุด ถ้าอยากรู้ว่ากองไหนตั้งแต่จัดตั้งกองทุนทำผลงานได้ดีที่สุดก็ดูที่ NAV สิ้นวัน ณ ปัจจุบันครับ เพราะกองทุนรวมทุกกอง (ไม่ว่าจะเป็น LTF RMF หรือกองทุนอื่นๆ) เมื่อเริ่มจัดตั้งกองทุน ราคาต่อหน่วยที่เสนอขายครั้งแรกจะเท่ากับ 10 บาท ทุกกอง ถ้ากองไหน ของ บลจ.ไหน ราคาต่อหน่วย มากที่สุด แสดงว่ากองทุนนั้น ทำผลงานได้ดีครับ ---------------------------- แต่วิธีดูผลการดำเนินงานอย่างนี้ ใช้ได้ไม่เสมอไปครับ เป็นการประเมินคร่าวๆเท่านั้น เพราะข้อเสียของวิธีนี้ก็คือ ถ้ากองใดที่จัดตั้งมาเป็นระยะเวลานานกว่ามากๆแล้ว ก็มีแนวโน้มที่ราคาจะสูงกว่ากองทุนที่เพิ่งจัดตั้งใหม่ขึ้นมา เพราะฉะนั้น วิธีการดูผลการดำเนินงานย้อนหลังเปรียบเทียบที่ถูกต้อง ควรดูเทียบกันในระยะเวลาเดียวกัน 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี หรือ 2 ปี คราวนี้พูดถึง LTF นะครับ เนื่องจาก กองทุน LTF หรือ RMF เป็นกองทุนที่มีระยะเวลการถือครองนาน อย่างต่ำๆก็ 4 ปีขึ้น เพราะฉะนั้นการดูผลการดำเนินงานแค่ 3 เดือน หรือ 6 เดือน อาจไม่ได้สะท้อนให้เห็นผลการดำเนินงานที่แท้จริงของกองทุน วิธีที่ถูกคือ ควรดูผลการดำเนินงานในระยะยาว ว่าสม่ำเสอมหรือไม่ ดีกว่า bechmark หรือไม่ และมีนโยบายการลงทุนที่สอดคล้องกับความต้องการของเราหรือไม่ ทั้งนี้สิ่งสำคัญคือ ความเสี่ยงนะครับ นักลงทุนทั่วไปสามารถามตัว Beta ของพอร์ตได้จาก บลจ. ที่ขาย LTF ได้โดยตรงครับผม --------------------------- ผลการดำเนินงานโดยเปรียบเทียบที่ทาง Finansa จัดทำก็พอดูเพื่อประกอบการตัดสินใจได้ดีนะครับ หรืออีกที่หนึ่งก็ http://www.poems.in.th หรือใครสนใจผลการดำเนินงานที่ update กว่าหน่อยก็ลองเข้า blog ผมนะครับ http://mutualfundlover.bloggang.com เข้าที่เมนูผลการดำเนินงานย้อนหลัง สามารถ e-mail มาขอ password ได้ครับ -------------------------- โชคดีในการลงทุนครับ
โดย
banklin
พุธ ส.ค. 30, 2006 6:09 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
อังคาร ก.ค. 25, 2006 12:07 pm
0
0
KGLOBE : FIF Fund ที่ KBANK ส่งเข้าประกวดในตลาดกองทุนรวม
MSCI Index = Morgan Stanley Capital International Index เป็นดัชนีอ้างอิงที่ทาง Morgan Stanley คิดคำนวนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการวัดตลาดหุ้น โดยคร่าวๆแล้วแบ่งตามเกณฑ์ Growth ของ Market Cap. ปรับเป็นฐานเดียวกัน โดย Adjust เอาอัตราแลกเปลี่ยนเข้าไปรวมแล้วครับ ------------------------- วิธีคำนวณอย่างละเอียดลองเข้าไปดูในนี้นะครับ http://www.msci.com/methodology/ ------------------------- ส่วนที่คุณ munata ถามว่ามีกองทุนใดลงทุนใน ณี่ปุ่นกับจีนเป็นหลักเลย ก็มีอยู่ที่เดียวครับที่เน้นลงทุนในตลาดหุ้นณี่ปุ่นอย่างเดียว ของ บลจ.แอสแซทพลัส ส่วนกองทุนที่ไปลงทุนในตลาดหุ้นจีนโดยเฉพาะ เท่าที่หาข้อมูลมา ยังไม่มีการจัดตั้งครับ แต่ที่ใกล้เคียงหน่อยก็คงจะเป็น ABAPAC ของ บลจ.อเบอร์ดีน ที่ลงทุนในตลาดหุ้นเอเชีย (ยกเว้นณี่ปุ่น) -------------------------- โชคดีในการลงทุนครับ
โดย
banklin
อาทิตย์ ก.ค. 23, 2006 12:44 pm
0
0
KGLOBE : FIF Fund ที่ KBANK ส่งเข้าประกวดในตลาดกองทุนรวม
อยากขอความเห็นสัก 2 ข้อครับ 1) ควรเชื่อข้อมูลอันไหนดี (ขอโทษที่จำชื่อและตำแหน่งของผู้ให้ข้อมูลทางวิทยุไม่ได้ แต่จากที่ฟังก็รู้สึกว่าให้ข้อมูลได้ดีครบถ้วนครับ) 2) ระหว่างการให้น้ำหนักที่จีนและญี่ปุ่น กับ อเมริกา พี่ๆคิดว่าอันไหนจะน่าสนใจกว่ากันครับ ยินดีให้คำแนะนำที่ถูกต้องแก่นักลงทุนครับ ขอตอบคำถามของคุณ munata ตามนี้นะครับ 1. ที่ทางผู้ร่วมรายการทางวิทยุตอบว่า ให้น้ำหนักการลงทุนที่ จีนและเอเชียมากกว่าที่อื่นนั้น จากการสอบถามและหาข้อมูลเพิ่มเติมของผม ได้คำตอบอย่างนี้ครับ - การให้น้ำหนักมากกว่าที่อื่น หมายถึง KGLOBE ให้น้ำหนักการลงทุนใน 2 ประเทศดังกล่าว สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานตาม MSCI World Index ตามนี้นะครับ Country Exposure % of Port % MSCI Index Asia-Pac ex Japan 12.753% 3.610% Europe ex Euro 16.180% 15.790% Latin America 1.664% 0.000% Afirica 1.122% 0.080% North America 37.070% 53.940% Euro 14.060% 14.890% Japan 15.479% 11.690% จะเห็นได้ว่า Overweight เอเชีย และ ณี่ปุ่น ส่วน อเมริกา Underweight ครับผม 2. ขอตอบจากมุมมองโดยรวมต่อเศรษฐกิจโลกนะครับ สหรัฐ มองว่าเศรษฐกิจยังโตปีหน้าแต่ชะลอตัว เนื่องจากขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และ FED ประกาศเพิ่มอัตราดอกเบี้ยต่อเนื่อง ณี่ปุ่น น่าจะฟื้นตัว หลังจากซบเซามานาน ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจจากมุมมองของต่างชาติ ถือว่าณี่ปุ่นดีขึ้น มีอัตราการจ้างงานเพิ่มขึ้น ส่งผลดีกับการใช้จ่ายเพื่อบริโภค Consumer Product จึงได้อานิสงค์เต็มๆครับ จีน น่าจะขยายตัวต่อไปอีกอย่างน้อย 8% ในปีหน้า จากภาคเอกชน ตอบเคลียร์ไหมครับ สงสัยอะไรอีกก็ถามมาได้นะครับ ---------------------------- ออมก่อนรวยกว่านะครับ
โดย
banklin
พฤหัสฯ. ก.ค. 20, 2006 3:43 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
จันทร์ ก.ค. 10, 2006 10:01 am
0
0
ลงทุนดอกเบี้ยขาขึ้น
ไม่เถียงคุณ shanghai ครับ แต่อย่าลืมครับ หุ้น มีความเสี่ยงสูงกว่า ฝากธนาคาร
โดย
banklin
ศุกร์ ก.ค. 07, 2006 3:51 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พฤหัสฯ. ก.ค. 06, 2006 5:45 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
banklin
พฤหัสฯ. ก.ค. 06, 2006 5:39 pm
0
0
ผลการดำเนินงานล่าสุดของ ABLTF (อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว)
555
โดย
banklin
พุธ ก.ค. 05, 2006 9:05 am
0
0
ผลการดำเนินงานล่าสุดของ ABLTF (อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว)
สิทธิในการลงทุนใน Set 50 Future ลืมตอบประเด็นนี้ไปเลยครับ แสดงว่าคุณ Boring Stock Lover ยังไม่ทราบรายละเอียด LTF นะครับ คงไม่อธิบายรายละเอียดลึกๆในบอร์ด แต่ลองไปดูในนี้แทนนะครับ http://www.set.or.th/ltf/ltf.html ถ้าตอบคร่าวๆก็ ไม่ลงทุนใน Set 50 Future แน่นอนครับผม
โดย
banklin
พุธ ก.ค. 05, 2006 12:27 am
0
0
ผลการดำเนินงานล่าสุดของ ABLTF (อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว)
คุยกันไปคุยกันมา นอกประเด็นไปถึงเบต้าแล้วครับ ตกลงเรื่อง P/E Ratio นี่ ประเด็นที่จะถามคือ Weight P/E ของหุ้นแต่ละตัว ทั้งพอร์ตใช่ไหมครับ อยากทราบประโยชน์จากการใช้ P/E Ratio กับการวัดผลกองทุนรวมเหมือนกันครับ ใครพอแนะนำได้บ้างครับ พอดีเพิ่งเคยมีคนถามมาก็คราวนี้เอง ขอบคุณล่วงหน้าครับ
โดย
banklin
พุธ ก.ค. 05, 2006 12:23 am
0
0
ผลการดำเนินงานล่าสุดของ ABLTF (อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว)
ตามประเด็นที่คุณ Boring Stock Lover ถามมานะครับ ปกติการวัดผลการดำเนินงานและความเสี่ยงของกองทุน จะไม่ดูที่ P/E ของพอร์ตนะครับ เพราะ Nav ของกองทุนก็คือ Equity ของกองทุน (ราคาของกองทุนไม่ได้เกิดจาก Demand Supply โดยตรง อย่างราคาของหุ้น) หรือผมไม่เข้าใจคำถามคุณ Boring Stock Lover ก็ไม่ทราบนะครับ -*- ส่วน Yield ของหุ้นที่ อเบอร์ดีนไปลงทุน เฉลี่ยอยู่ที่ 4% และค่าเบต้าของกองทุนอยู่ที่ประมาณ 0.8 กว่าๆครับ ไม่แน่นอน
โดย
banklin
อังคาร ก.ค. 04, 2006 5:08 pm
0
0
หน้า
1
จากทั้งหมด
1
ชื่อล็อกอิน:
banklin
ระดับ:
Verified User
กลุ่ม:
สมาชิก
งานอดิเรก:
Basketball , Investment in Financial Market
ที่อยู่:
BKK, Thailand
ติดต่อสมาชิก
PM:
ส่งข้อความส่วนตัว
เว็บไซต์:
เข้าชมเว็บไซต์
Yahoo Messenger:
Send YIM message
สถิติสมาชิก
ลงทะเบียนเมื่อ:
พุธ มิ.ย. 28, 2006 8:07 pm
ใช้งานล่าสุด:
พุธ ต.ค. 24, 2012 11:14 pm
โพสต์ทั้งหมด:
30 |
ค้นหาเจ้าของโพสต์
(0.00% จากโพสทั้งหมด / 0.00 ข้อความต่อวัน)
GO_TO_SEARCH_ADV
ไปที่
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้น
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้นต่างประเทศ
↳ ไอเดียหุ้นเด้ง
↳ หลักสูตรการลงทุนออนไลน์
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์ [กระทู้รับชมออนไลน์]
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์
↳ ThaiVI GO Series
↳ คลังกระทู้คุณค่า
↳ Value Investing
↳ บทความ
↳ ความรู้งบการเงิน
↳ ร้อยคนร้อยเล่ม / Multimedia Forum
↳ mai Corner
↳ Alternative Investing
เรื่องทั่วไป
↳ นั่งเล่น / กีฬา / สุขภาพ
↳ Asking Staff
↳ CSR
×
บันทึกไม่สำเร็จ
กรุณาลองใหม่อีกครั้ง
×
บันทึกสำเร็จแล้ว