หน้าแรก
เว็บบอร์ด
หลักสูตรออนไลน์
Marketplace
สินค้าสมาคม
ทดลองใช้ฟรี 30 วัน
เข้าสู่ระบบ
เมนูลัด
แสดงกระทู้ที่ยังไม่มีการตอบ
แสดงกระทู้ที่เปิดดูแล้ว
ค้นหา
รายชื่อสมาชิก
ทีมงาน
FAQ
ไอเดียหุ้นเด้ง
โพสต์ยอดนิยม
หุ้นที่ติดตาม
ผู้เขียนที่ติดตาม
KIMBAAN
Joined: พฤหัสฯ. ม.ค. 09, 2014 3:13 pm
4
โพสต์
|
0
กำลังติดตาม
|
0
ผู้ติดตาม
ส่งข้อความ
ดูประวัติส่วนตัว - KIMBAAN
กระทู้ที่ตั้ง
โพสต์ที่ตอบ
โพสต์ที่ตอบ
คอมเมนต์
ไลค์
Re: บทวิเคราะห์ในการลงทุน 2014 จากดอยช์แบงค์
ขอบคุณครับ อย่างนี้ก็น่าลงทุนในเมกามากกว่าสิครับ ส่วนตัวยังคงให้ความสนใจจีนและอาเซียนเป็นพิเศษ สวัสดีค่ะคุณ anubist นักลงทุนฝั่งยุโรปยังคงะมัดระวังกับการลงทุนในสหรัฐฯ เพราะ 5 ปีมานี้เจ็บตัวกันเยอะ ธนาคารในเบลเยียมบางแห่งถึงขั้นล้มละลาย ดีหน่อยก็ถูกต่างชาติเทคโอเวอร์ไปจากวิกฤต U.S. subprime mortgage crisis และการล้มละลายของเมืองดีทรอยต์ ปัจจุบันทางยุโรปให้ความสนใจกับการลงทุนในจีน บราซิลและตุรกีเป็นพิเศษค่ะ ปี 2012 ประเทศเบลเยียมมีเศรษฐีใหม่เกิดขึ้นมากที่สุดในยุโรปจากวิกฤติการเงินยุโรป ปี 2013 คนเบลเยียมส่วนใหญ่ยอมให้เงินกว่า "แสนล้านยูโร" จมอยู่ในบัญชีออมทรัพย์ที่ดอกเบี้ยต่ำเรี่ยดิน ทั้งๆ 3 ไตรมาสนี้ตลาดหุ้นที่ยุโรปให้ผลตอบดีทีเดียว ***วันอาทิตย์จะโพสต์บทวิเคราะห์ที่เหลืออีก 6 ข้อค่ะ***
โดย
KIMBAAN
ศุกร์ ม.ค. 10, 2014 3:43 pm
0
4
บทวิเคราะห์ในการลงทุน 2014 จากดอยช์แบงค์ (ต่อ)
3. นโยบายดอกเบี้ย นักวิเคราะห์สรุปว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นจะยังคงต่ำเรี่ยดินต่อไป โดยนโยบายการเงินของประเทศสหรัฐฯ จะแตกต่างจากประเทศในยูโรโซนและญี่ปุ่น นักวิเคราะห์มองว่า "การเจริญเติบโตที่แข็งแกร่งต้องอาศัยนโยบายการเงินที่เข้มงวด" แม้ยังเป็นทฤษฎีบทที่จำกัดในการปรับใช้ แต่อาจมีการนำมาใช้ในมาตรทางการเงินของสหรัฐฯ อีกครั้ง และ Fed จะยังคงอัตราดอกเบี้ยที่ตำเรี่ยดินอย่างเข้มงวดไปอีกนาน ในยูโรโซนมาตรการคงดอกเบี้ยต่ำของ ECB เป็นบริบทสำคัญที่ทำให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างต่ำ และมีอัตราเงินเฟ้อเพียงเล็กน้อย เศรษฐกิจญี่ปุ่นจะได้ประโยชน์จากอัตราเงินเฟ้อที่ค่อยๆ ปรับตัวขึ้นมา ธนาคารชาติของญี่ปุ่นยังคงพยายามรักษานโยบายอัตราดอกเบี้่ย 0% และนโยบายอนปรนเชิงปริมาณต่อไปจนปลายปี 2014 4. ภาวะเงินค่าดอลล่าห์สหรัฐฯ ที่แข็งขึ้น เงินดอลลาร์สหรัฐฯ ปรับตัวแข็งค่าขึ้นมาได้สักระยะนึงแล้วเมื่อเทียบกับเงินเยนญี่ปุ่น และค่าเงินในประเทศกำลังพัฒนาซึ่งเป็นคู่ค้าหลัก แต่เมื่อเทียบกับค่าเงินยูโรนั้นนักวิเคราะห์ให้เรารอดูหนังภาคต่อไป สืบเนื่องจาก Fed ใช้มาตรการทางการเงินที่เข้มงวด ในขณะที่ ECB ยังคงใช้นโยบายผ่อนปรน ปล่อยให้ค่าเงินไหล....ไป (นึกถึงหน้าคุณอี๊ด วงฟลายไปด้วยนะคะ ^^) ปัจจัยหลักคือ ปัจจุบันสหรัฐฯ ผันตัวจากผู้นำเข้าสุทธิ เป็นผู้ส่งออกสุทธิด้านพลังงานแปรรูปที่โดดเด่นในอีก 20 ปีข้างหน้า **คหสต ด้วยเหตุนี้ทาง EU จึงลงทุนกับพลังงานทางเลือกสูงขึ้นหลายเท่าตัว อีกปัจจัยที่นักวิเคราะห์ให้น้ำหนักคือ ตัวเลขการขาดดุลการค้าที่ปรับตัวลดลงจะเป็นปัจจัยบวกต่อเนื่องสำหรัรบสกุลเงินดอลล่าสหรัฐ และความได้เปรียบทางจีดีพีและอัตราดอกเบี้ยขอบสหรัฐ ทำให้การลงทุนในสกุลเงินดอดล่าห์สหรัฐฯ น่าสนใจมากขึ้นและสามารถดึงดูดเงินทุนได้เป็นอย่างมาก
โดย
KIMBAAN
พฤหัสฯ. ม.ค. 09, 2014 11:23 pm
0
2
หน้า
1
จากทั้งหมด
1
ชื่อล็อกอิน:
KIMBAAN
ระดับ:
Verified User
กลุ่ม:
สมาชิก
ที่อยู่:
BE
ติดต่อสมาชิก
PM:
ส่งข้อความส่วนตัว
สถิติสมาชิก
ลงทะเบียนเมื่อ:
พฤหัสฯ. ม.ค. 09, 2014 3:13 pm
ใช้งานล่าสุด:
-
โพสต์ทั้งหมด:
4 |
ค้นหาเจ้าของโพสต์
(0.00% จากโพสทั้งหมด / 0.00 ข้อความต่อวัน)
GO_TO_SEARCH_ADV
ไปที่
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้น
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้นต่างประเทศ
↳ ไอเดียหุ้นเด้ง
↳ หลักสูตรการลงทุนออนไลน์
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์ [กระทู้รับชมออนไลน์]
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์
↳ ThaiVI GO Series
↳ คลังกระทู้คุณค่า
↳ Value Investing
↳ บทความ
↳ ความรู้งบการเงิน
↳ ร้อยคนร้อยเล่ม / Multimedia Forum
↳ mai Corner
↳ Alternative Investing
เรื่องทั่วไป
↳ นั่งเล่น / กีฬา / สุขภาพ
↳ Asking Staff
↳ CSR
×
บันทึกไม่สำเร็จ
กรุณาลองใหม่อีกครั้ง
×
บันทึกสำเร็จแล้ว