หน้าแรก
เว็บบอร์ด
หลักสูตรออนไลน์
Marketplace
สินค้าสมาคม
ทดลองใช้ฟรี 30 วัน
เข้าสู่ระบบ
เมนูลัด
แสดงกระทู้ที่ยังไม่มีการตอบ
แสดงกระทู้ที่เปิดดูแล้ว
ค้นหา
รายชื่อสมาชิก
ทีมงาน
FAQ
ไอเดียหุ้นเด้ง
โพสต์ยอดนิยม
หุ้นที่ติดตาม
ผู้เขียนที่ติดตาม
toon
Joined: พฤหัสฯ. มี.ค. 18, 2004 11:50 pm
213
โพสต์
|
0
กำลังติดตาม
|
0
ผู้ติดตาม
ส่งข้อความ
ดูประวัติส่วนตัว - toon
กระทู้ที่ตั้ง
โพสต์ที่ตอบ
โพสต์ที่ตอบ
คอมเมนต์
ไลค์
Re: สถานะยังไม่ปรับเป็น "สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า"เพราะ
test
โดย
toon
อังคาร ส.ค. 28, 2012 9:16 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
อาทิตย์ ก.ค. 18, 2010 12:21 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
อังคาร เม.ย. 07, 2009 1:09 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
เสาร์ พ.ย. 01, 2008 12:58 pm
0
0
ธนาคารโลกมีปัญหาแล้วธนาคารไทยละค่ะ
ถ้าโดยทางตรงแล้ว ผมว่าธนาคารไทยน่าจะได้รับผลกระทบน้อยนะครับ เพราะหลังจากวิกฤติ ธนาคารกลางค่อนข้างเข้มงวดกับการนำเงินออกไปลงทุนต่างประเทศ เพิ่งมาผ่อนคลายกฏต่างๆ เมื่่ือประมาณ ปลายปีที่แล้วหรือต้นปีนี้เอง ทำให้ธนาคารไทยไม่น่าจะลงทุนในต่างประเทศมากนัก แต่ผลกระทบทางอ้อมยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ เพราะมีตัวแปรหลายตัวมากครับ
โดย
toon
อังคาร ก.ย. 30, 2008 12:53 am
0
0
ขอถามคุณลูกอีสาน เรื่องเทคนิคการปรับพอร์ตครับ
ตลาดขาลงไม่เห็นต้องกลัวตรงไหน เพราะหากตั้งใจจะลงทุนไปเรื่อยๆ ไม่ใช่แค่ปี 2 ปีแล้วก็เลิก ยังไงๆ ก็ต้องเจอขาลงไม่วันใดก็วันหนึ่ง เมื่อเจอแล้วเราจะได้รู้กับตัวเองว่าที่เคยๆ อ่านมาเกี่ยวกับวิกฤตครั้งก่อนๆ บางครั้งเรายังคิดด้วยซ้ำว่าคนที่อยู่ในสถานการณ์ตอนนั้นทำไมเค้าตัดสินใจผิดพลาดอย่างนู้นอย่างนี้ เป็นเราจะไม่ปล่อยให้เป็นอย่างนั้นหรอก พอเจอเข้ากับตัวเองจริงๆ จะได้เข้าใจว่าเราจะจัดการกับมันอย่างไร ใครไม่เก่งจริงก็ต้องล้มหายตายจากไป ใครเก่งพอก็เอาตัวรอดได้ แล้วก็ได้รับกำไรมหาศาลเป็นรางวัลตอบแทนความขยันและมุ่งมั่น (เช่นเดียวกับเซียนหุ้นหลายท่านในทุกวันนี้ที่รอดจากสมรภูมิ "ต้มยำกุ้ง" รอบที่แล้ว คำกล่าวที่ว่า ตลาดหุ้นทั่วโลกในระยะยาวมีแต่ขึ้นไปเรื่อยๆ ย่อมหมายความว่า หลังวิกฤตขาลงแต่ละรอบ จะต้องมีหุ้นจำนวนหนึ่งที่สร้างกำไรให้กับคนที่เลือกซื้อหุ้นได้ถูกตัวในช่วงขาลงอย่างมากมาย ผมเห็นด้วยกับความคิดพี่นะครับ แต่ในใจลึกมักคิดว่า แล้วถ้าเราขายไปก่อนแล้วค่อยไปซื้อที่หลังจะดีกว่าใหม เพราะถ้าหากเกิดวิกฤติหนักจริงๆ ตลาดคงไม่ลงแค่วันสองวันแล้วขึ้นมั้ง ผมรู้สึกว่ามีสองความคิดตีกันอยู่ตลอดเวลาเลยครับ
โดย
toon
จันทร์ ก.ย. 29, 2008 5:57 am
0
0
แจก EPS16YEAR (งบดุล ย้อน 19 ปี,ราคา,Ratio,แบบเครดิตภาษี)
รบกวนพี่ครรชิตด้วยนะครับ ขอ version 2007 ครับ
[email protected]
ครับ
โดย
toon
อาทิตย์ ส.ค. 24, 2008 9:05 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
เสาร์ ส.ค. 23, 2008 1:05 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ส.ค. 18, 2008 9:57 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ มิ.ย. 11, 2008 9:12 am
0
0
เอาไงดีกับ SCC
SCC คงไม่เจ๊งง่ายๆหรอกครับ เพียงแต่เขามีธุรกิจหลัก 3 อย่างคือกระดาษ ปูน ปิโตร ซึ่งปูนกับกระดาษ ได้รับผลกระทบจากน้ำมันค่อนข้างมาก ในขณะที่ปิโตร หลายคนก็กลัวว่าจะเป็นช่วงขาลง แต่อย่างไรก็ตามบริษัทก็มีการลงทุนเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากใน 3ธุรกิจหลัก เพื่อเพิ่มผลกำไรในอนาคต ซึ่งน่าจะเห็นผลในอีก 2-3 ปีข้างหน้า
โดย
toon
เสาร์ พ.ค. 03, 2008 10:05 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
อังคาร พ.ย. 20, 2007 12:18 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
ศุกร์ ก.ย. 28, 2007 11:33 pm
0
0
commodity trading
ผมว่าลองอ่าน HOT COMMODITY ของ JIM ROGER สิครับ
โดย
toon
จันทร์ ก.ย. 17, 2007 3:06 pm
0
0
ถ้า .... บริษัทต้องออกจากตลาด แล้วนักลงทุน จะเป็นอย่างไร ..?
ขอเสริมหน่อยนะครับ เท่าที่รู้ก็คือ หากบริษัทออกนอกตลาด โดยที่เราไม่ได้ขายคืน เราก็ยังเป็นผู้ถือหุ้นร่วมในบริษัทนั้นครับ เพียงแต่การเปิดเผยข้อมูลเราอาจจะได้รับรู้น้อยลง แต่สิทธิในการรับเงินปันผล หรือประชุมผู้ถือหุ้นยังคงมีเหมือนเดิมครับ
โดย
toon
จันทร์ ก.ย. 17, 2007 2:56 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ก.ย. 17, 2007 2:45 pm
0
0
ระดมความคิด VI ทำอย่างไรให้ บาทอ่อนลง
วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3922 (3122) บาทแข็ง โทษใครดี ? - คอลัมน์ มองซ้าย มองขวา คอลัมน์ มองซ้าย มองขวา โดย ณ พัฒน์ ช่วงนี้เรื่องค่าเงินบาทแข็งปึ๋งปั๋งเป็นประเด็นร้อนของสังคม เห็นทีจะไม่พูดถึงไม่ได้เสียแล้วครับ ผมว่าเป็นเรื่องดีนะครับ ที่ประเด็นด้านเศรษฐกิจเป็นที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง นักเศรษฐศาสตร์อย่างผมจะได้เลิกอธิบายเพื่อนบ้านเสียทีว่า เรียนเศรษฐศาสตร์ไปทำไม แต่เท่าที่อ่านดูตามหน้าหนังสือพิมพ์ เหมือนว่าแบงก์ชาติจะเป็นแพะบูชายัญปรากฏการณ์บาทแข็งรอบนี้ไปแล้ว ผมอยากลองอธิบายดูสักหน่อยว่า ที่ผ่านมาทำไมบาทถึงแข็ง แล้วบาทแข็งเป็นความผิดของใคร แล้วเราจะแก้ไขปัญหานี้ยังไงดี ก่อนอื่นคงต้องขอเสนอความเห็นส่วนตัวก่อนว่า ค่าของเงินบาทที่แข็งตัวอยู่ในขณะนี้ ไม่น่าจะเป็นเหตุการณ์เลวร้ายขนาดชาติจะล่มจม แบบที่หลายๆ คนกำลังพะวงกันอยู่ เพราะอย่าลืมนะครับ แค่เมื่อสิบปีที่แล้วค่าเงินบาทก็เคยแข็งกว่านี้ตั้งเยอะ ไม่เห็นผู้ส่งออกสมัยนั้นจะออกมาตีโพย ตีพายว่า ค่าเงินบาทแข็งเกินไปเลย และระหว่างสิบปีที่ผ่านมา ผมไม่คิดว่าต้นทุนการผลิตสินค้าบ้านเราจะเพิ่มขึ้นเร็วกว่าประเทศ คู่แข่ง จนทำให้ค่าเงินที่อ่อนค่ากว่าตอนก่อนวิกฤตกว่า 20-30 เปอร์เซ็นต์ ในขณะนี้จะทำให้ผู้ส่งออกบ้านเราแข่งกับประเทศอื่นไม่ได้ (เมื่อเทียบกับตอนก่อนเกิดวิกฤต) แต่ผมเข้าใจว่า ผู้ผลิต ห่วงมากกว่า คือความมีเสถียรภาพของเงินบาท เพราะสินค้าส่งออกของไทยต้องพึ่งพาส่วนประกอบจากการนำเข้าไม่น้อย ถ้าผู้ผลิตต้องนำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศตอนค่าเงินบาทอ่อน แล้วส่งสินค้าออกตอนค่าเงินบาทแข็ง กำไรก็คงหดหาย หรืออาจจะขาดทุนได้ และแน่นอนครับ ผู้ส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มในประเทศเยอะๆ เช่น สินค้าเกษตร คงได้รับผลกระทบมากกว่า ผู้ผลิตสินค้าที่ใช้วัตถุดิบจากการนำเข้า แต่อย่าลืมนะครับ ว่าบาทแข็งก็มีคนได้ประโยชน์เหมือนกัน บริษัทที่มีหนี้เป็นเงินสกุลต่างประเทศคงได้เห็นหนี้ก้อนเล็กลงเมื่อแปลงเป็นเงินบาท หรือคนที่ใช้ของนำเข้าก็คงได้จ่ายน้อยลง ถ้าโชคดีเราคงได้เห็นราคาน้ำมันในประเทศปรับตัวลงในไม่ช้า (ถ้าเราจ่ายเงินคืนกองทุนน้ำมันหมด) หรือถ้าใครกำลังจะซื้อรถยนต์ ก็ฝากบอกบริษัทรถด้วยครับ ว่าลดราคาลงได้แล้ว บาทแข็งมาตั้งเยอะแล้ว (!) เรื่องค่าเงินแข็งนี้ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเฉพาะกับ ค่าเงินบาทเท่านั้นนะครับ มันเป็นแฟชั่นที่กำลังนิยมกันอยู่ในขณะนี้ และเป็นแฟชั่นที่ทำให้ผู้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจในหลายๆ ประเทศเกาหัวกันแกรกๆ ดังนั้นเวลาผมได้ยินหลายๆ คนพูดว่า เงินบาทแข็งที่สุดในโลก ผมเถียงครับว่าไม่จริงเด็ดขาด อย่างแรกคือบอกไม่ได้หรอกครับว่า "แข็ง" ที่สุดเนี่ย แปลว่าอะไร ถ้าเทียบกับระดับราคาในประเทศ ค่าที่แท้จริงของเงินบาทยังอ่อนกว่าชาวบ้านเขาอีกเยอะครับ จะบอกว่าแข็งค่าขึ้นเร็วที่สุด ก็ยังถูกแค่ครึ่งเดียว จริงอยู่เงินบาทเราอาจจะแข็งขึ้นเร็วที่สุดในภูมิภาค เมื่อเทียบกับค่าเงินเมื่อปีที่แล้ว ถ้าเทียบกันยาวกว่านั้น เราเทียบประเทศอื่นอย่างเกาหลีไม่ได้หรอกครับ เพราะตอนนี้เงินวอนของเกาหลีใต้เกือบจะกลับไปยืนที่ระดับก่อนวิกฤตแล้วครับ ทั้งๆ ที่ตอนหลังเกิดวิกฤต เงินวอนของเกาหลีใต้ ก็อ่อนตัวไปไกลกว่าเงินบาทของเราเสียอีกครับ หรือจะดูอย่างบราซิล ที่ค่าเงินอ่อนตัวลงไปถึงเกือบๆ 4 reals ต่อดอลลาร์ หลังวิกฤตปี 2002 แต่ตอนนี้เงินเขาแข็งไปจนเหลือไม่ถึง 2 reals ต่อดอลลาร์แล้ว แบบนี้น่าปวดหัวแทนไหมละครับ ถ้าถามว่าทำไมเงินบาทถึงแข็ง ถ้าตอบแบบเอากำปั้นนักเศรษฐศาสตร์ทุบดิน คงต้องบอกว่าเพราะดีมานด์เงินบาทมันเยอะกว่าซัพพลาย หรือตอบแบบฟังรู้เรื่องหน่อยก็คงต้องบอกว่า เพราะมีความต้องการซื้อเงินบาทมากกว่าความต้องการขายเงินบาท ถ้าจะวิเคราะห์กันลึกลงไปกว่านั้น ผมแนะนำให้ผู้สนใจลองแวะเข้าไปดูที่ดุลบัญชีชำระเงิน ในเว็บของแบงก์ชาติครับ ที่น่าสนใจคือแรงกดดันที่ทำให้เงินบาทแข็งมาตั้งแต่ปีที่แล้ว ไม่ได้มาจากเงินทุนไหลเข้าอย่างเดียว แต่ส่วนหนึ่งได้รับผลมาจากการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด (เพราะเราส่งออกมากกว่านำเข้า) โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ไตรมาสสุดท้ายของปีที่แล้วเป็นต้นมา เราเกินดุลบัญชีเดินสะพัดเดือนละกว่าพันล้านดอลลาร์เลยทีเดียว ในขณะที่ดุลบัญชีการเงินบวกบ้าง ลบบ้าง แล้วแต่อารมณ์ ที่เราเกินดุลบัญชีเดินสะพัดทั้งๆ ที่เงินบาทแข็ง เป็นเครื่องชี้ว่าความสามารถทางการแข่งขันของเรายังสู้เขาได้ (แต่ถ้าแข็งมากกว่านี้ก็ไม่แน่) และส่วนหนึ่งยังได้รับผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุนที่อ่อนปวกเปียก ตัวเลขเบื้องต้นของบัญชีรายได้ประชาชาติชี้ว่าการลงทุนในไตรมาสที่หนึ่งของปีนี้ติดลบเป็นครั้งแรกในรอบหลายปี ส่งผลให้การนำเข้าชะลอตัว (ทั้งๆ ที่ราคาสินค้านำเข้าถูกลงเพราะค่าเงินบาทที่แข็งขึ้น) ดูเหมือนว่าแรงกดดันต่อค่าเงินบาทดูเหมือนส่วนหนึ่งจะเป็นสาเหตุด้านโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ไม่ใช่แรงเก็งกำไรค่าเงินอย่างเดียว ดังนั้นการแทรกแซงค่าเงินคงทำไปไม่ได้ตลอดแน่ๆ ประเด็นหนึ่งที่ผมอยากเถียงแทนแบงก์ชาติ คือประเด็นที่ว่าแบงก์ชาติออกพันธบัตร ธปท. ออกมาปริมาณมากเพื่อดูดซับสภาพคล่อง จนทำให้แบงก์ชาติขาดทุนมหาศาล เพราะมีคนเข้าใจผิดกันเยอะ สาเหตุที่แบงก์ชาติขาดทุนไม่ใช่เพราะว่าแบงก์ชาติออกพันธบัตรนะครับ แต่เป็นเพราะค่าเงินบาทแข็งต่างหาก มันยังไงเหรอครับ เวลาแบงก์ชาติเข้าไปแทรกแซงค่าเงินบาท คือการเข้าซื้อดอลลาร์แล้วขายเงินบาท ในทางบัญชีคือแบงก์ชาติเพิ่มฝั่งสินทรัพย์ (คือเงินดอลลาร์) แล้วเพิ่มฝั่งหนี้สิน ซึ่งอาจจะเป็นในรูปเงินบาทที่หมุนเวียนในระบบ หรือเงินบาทในบัญชีของธนาคารพาณิชย์ที่ฝากไว้ที่แบงก์ชาติ การแทรกแซงค่าเงินของแบงก์ชาติจึงเป็นการเพิ่มปริมาณเงินในระบบ (หรือที่คนชอบพูดกันว่าเป็นการพิมพ์แบงก์นั่นแหละครับ) เพื่อไม่ให้ปริมาณเงินในระบบมีมากเกินไปจนทำให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ แบงก์ชาติจึงต้องดูดซับเงินบาทออกจากระบบบ้างเป็นครั้งคราว การดูดซับเงินบาทนี้ แบงก์ชาติก็สามารถทำได้ด้วยการขายสินทรัพย์ในประเทศ (เช่น พันธบัตรรัฐบาลที่แบงก์ชาติถือไว้) หรือการออกหนี้สินเพิ่ม (เช่น ออกพันธบัตร ธปท.) ถ้าแบงก์ชาติออกพันธบัตรก็เป็นการเปลี่ยน รูปแบบของหนี้สินของแบงก์ชาติ จากหนี้ที่ทุกคน รู้จักดีในชื่อ "ธนบัตร" (อย่าลืมนะครับว่า เงินทุกบาททุกสตางค์ที่เราใช้อยู่เนี่ย ถือเป็น "หนี้" ของธนาคารกลาง) หรือจากบัญชีของธนาคารพาณิชย์ มาเป็นพันธบัตร แต่สิ่งที่เปลี่ยนไปคือ ธนบัตรและบัญชีของธนาคารพาณิชย์ที่ฝากไว้กับแบงก์ชาติเนี่ย นับเป็นส่วนหนึ่งของปริมาณเงิน แต่พันธบัตรไม่นับครับ ปริมาณเงินในระบบจึงลดลง แต่มูลค่ารวมฝั่งหนี้สินของแบงก์ชาติไม่ได้เปลี่ยนไปเลย จากการดูดซับสภาพคล่องดังกล่าว แต่แบงก์ชาติเกิดขาดทุนก็ตอนที่ค่าเงินบาทแข็งขึ้น (หรือมูลค่าเงินสกุลต่างประเทศอ่อนตัวลง) เพราะฝั่งสินทรัพย์ของแบงก์ชาติอยู่ในรูปเงินสกุลต่างประเทศ แต่หนี้สินอยู่ในรูปเงินบาท นอกจากนี้ธนบัตรเป็นหนี้ที่แบงก์ชาติไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ย แต่แบงก์ชาติต้องจ่ายดอกเบี้ยพันธบัตร แต่ตราบใดที่ผลตอบแทนที่ได้จากเงินสำรองสกุลต่างประเทศมากกว่าต้นทุนของพันธบัตรที่ใช้ดูดสภาพคล่อง แบงก์ชาติก็ไม่ต้องห่วงเรื่องต้นทุนการดูดซับสภาพคล่อง แต่มันมีปัญหาตรงที่แบงก์ชาติต้องเข้าไปรับความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในอนาคต (เพราะพันธบัตรส่วนใหญ่มีระยะเวลาไถ่ถอนสั้น ต้อง rollover อยู่บ่อยๆ) ถ้าดอกเบี้ยในประเทศสูงขึ้น หรืออัตราดอกเบี้ยต่างประเทศลดลง บัญชีแบงก์ชาติอาจจะโผล่ตัวแดงมากกว่าที่ควรได้ครับ แม้ว่าการขาดทุนเหล่านี้จะเป็นการขาดทุนทางบัญชีไม่มีผลต่อความมั่นคงของแบงก์ชาติแต่อย่างใด (ในระยะสั้น) เพราะแบงก์ชาติเป็นคนพิมพ์ธนบัตรเอง ถ้าใครเอาพันธบัตรมาขอเงินคืน แบงก์ชาติก็มีธนบัตรพอใช้หนี้ได้ตามกฎหมายแน่นอนครับ แต่เรื่องบัญชีอาจจะกลายเป็นเรื่องใหญ่ได้ครับ ถ้าหนี้นี้พอกพูนขึ้นมากๆ จนไปสร้างความบิดเบือนในตลาดการเงิน หรือถ้าธนาคารกลางต้องออกหนี้ใหม่เพื่อจ่ายหนี้เก่าบ่อยๆ ก็อาจส่งผลต่อความเชื่อมั่นของธนาคารกลางได้ หรือถ้ารัฐบาล (ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของแบงก์ชาติ) เกิดหงุดหงิดเมื่อเริ่มรู้สึกว่าแบงก์ชาติขาดทุนบ่อย และไม่ส่งผลกำไรเข้าคลังสักที หรือถ้าแบงก์ชาติต้องบากหน้าไปขออนุญาตรัฐบาลเพิ่มทุนในกรณี ที่แบงก์ชาติขาดทุนจนส่วนทุนหดหาย แต่ในระยะสั้นปัญหาเรื่องแบงก์ชาติขาดทุน ไม่ได้อยู่ที่ว่าแบงก์ชาติออกพันธบัตรหรือเปล่า แต่อยู่ที่ว่าแบงก์ชาติควรเข้าไปแทรกแซงค่าเงินหรือเปล่า ถ้าแบงก์ชาติไม่แทรกแซงเลย ค่าเงินก็อาจจะแข็งแบบพรวดพราดมากกว่านี้ คนคงบ่นเยอะกว่านี้ และแบงก์ชาติก็คงขาดทุนเยอะกว่านี้ แต่ถ้าแบงก์ชาติเข้าไปแทรกแซงเต็มที่ แบงก์ชาติก็คงสะสมเงินสำรองได้มากกว่านี้ และในขณะเดียวกันก็คงต้องมีหนี้สินมากกว่านี้ แต่เงินบาทก็คงแข็งอยู่ดีแหละครับ เพราะสุดท้ายแล้ว แบงก์ชาติคงไม่สามารถฝืนแรงกดดันได้ทั้งหมด และแบงก์ชาติก็ต้องคงขาดทุนอยู่ดี ที่ร่ายยาวมาทั้งหมดนี้ ผมอยากจะชี้ให้เห็นว่า สถานการณ์แบบที่เรากำลังประสบอยู่ในปัจจุบัน ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับผู้กำหนดนโยบายเลยครับ ยิ่งถูกแรงกระหน่ำทั้งจากฝั่งดุลบัญชีเดินสะพัด และดุลบัญชีการเงินพร้อมๆ กัน ด้วยเครื่องมือการดำเนินนโยบายที่จำกัด และเป้าหมายการดำเนินนโยบายที่ค้ำคออยู่ (เป้าหมายการดำเนินนโยบายการเงินไม่ใช่รักษาค่าเงินนะครับ แต่คือการรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ) น่าเห็นใจคนเป็นธนาคารกลางของประเทศครับ (จริงๆ แล้วเรื่องทำให้เงินบาทอ่อนนี่ง่ายมากครับ แค่ทำตัวแบบไร้ระเบียบ แทรกแซงแบบไม่ต้องดูดซับสภาพคล่องไปเรื่อยๆ รับรองครับเงินบาทอ่อนแน่นอน แต่สิ่งที่จะเสียไปคือความเชื่อมั่นในธนาคารกลาง และอัตราเงินเฟ้ออาจจะพุ่งไม่หยุด ซึ่งผมว่ามันเลวร้ายกว่าค่าเงินบาทแข็งหลายเท่าครับ) แต่ผมว่ามีประเทศอื่นโชคร้ายกว่าเราอีกครับ บ้านเรายังสามารถลดดอกเบี้ยกล้อมแกล้มไปได้ เพราะเงินเฟ้อไม่สูงนัก และยังอยู่ในช่วงขาลง แต่บางประเทศที่มีปัญหาเงินเฟ้อแถมด้วยอย่าง Iceland หรือ New Zealand นี่สิครับ ดอกเบี้ย ก็ลดไม่ได้ เพราะจะทำให้เงินเฟ้อสูงขึ้น พอเห็นดอกเบี้ยสูง เงินต่างประเทศยิ่งวิ่งเข้าหา เงินก็ยิ่งแข็งขึ้นไปอีก แก้ยากครับแบบนี้ สิ่งหนึ่งที่ผมว่าน่าจะมีส่วนช่วยแก้ปัญหาเงินแข็งของเราในปัจจุบันได้ คือนโยบายการคลังน่าจะมีส่วนร่วมด้วยครับ อย่างน้อยก็ในช่วงที่การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว กระทรวงการคลังน่าจะเข้ามาเป็นผู้นำในการเพิ่มการลงทุนขนาดใหญ่ที่มีประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิต ใช้ประโยชน์ในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยในประเทศต่ำ ไม่ต้องไประดมทุนต่างประเทศให้เสี่ยงเปล่าๆ แม้ว่าอาจจะไม่ได้เห็นผลทันตา แต่ก็น่าจะช่วยทำให้เศรษฐกิจกระเตื้อง พร้อมๆ ค่าเงินที่น่าจะอ่อนตัวลงจากการนำเข้าที่สูงขึ้น แต่ทั้งนี้และทั้งนั้น เมื่อเราดำรงอยู่ในระบบการเงินโลกที่พลิกผันได้อย่างรวดเร็ว ก็อย่าชะล่าใจว่าเงินบาทจะแข็งตลอดไปแล้วกันครับ พรุ่งนี้สภาพคล่องในตลาดการเงินโลกอาจจะหดหาย และเงินบาทอาจจะอ่อนพรวดพราดก็ได้ใครจะรู้ บริหารความเสี่ยงกันให้ดีๆ ครับ[/quote]
โดย
toon
พุธ ส.ค. 15, 2007 12:49 am
0
0
แจก EPS16YEAR (งบดุล ย้อน 19 ปี,ราคา,Ratio,แบบเครดิตภาษี)
รบกวนพี่ครรชิคส่งให้ผมด้วยนะครับ
[email protected]
ขอบคุณมากนะครับ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 16, 2007 11:56 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 16, 2007 4:05 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 16, 2007 12:55 am
0
0
วันนี้อะไรเข้าสิงหุ้นกลุ่มเบอร์ล่าครับ
ยังถืออยู่ครบเหมือนเดิม
โดย
toon
ศุกร์ มิ.ย. 29, 2007 4:01 am
0
0
แจก EPS16YEAR (งบดุล ย้อน 19 ปี,ราคา,Ratio,แบบเครดิตภาษี)
รบกวนขอด้วญครับพี่
[email protected]
โดย
toon
อาทิตย์ ก.พ. 18, 2007 11:09 pm
0
0
ถ้าไม่สนใจปัจจัยการเมือง SATTEL น่าสนหรือเปล่าครับเนี่ย
ถ้าคมช.จะยึดดาวเทียมเล่นๆ ก็คงทำได้ครับ แต่ผมว่าปัจจัยเสี่ยงของ sattel ในเรื่องนี้ ไม่ได้มากไปกว่าเหมืองถ่านหินของบ้านปูเลย รัฐบาลไทยหรืออินโดนิเซีย อาจจจะตัดสินใจ ยึดเหมืองของบ้านปูดื้อๆ ก็ทำได้ ถ้าอยากทำ พี่ Eto แต่ถ้าผมจำไม่ผิดนะครับ บ้านปูมีการทำประกันที่เกิดจาก political risk ด้วยนะครับ
โดย
toon
พฤหัสฯ. ม.ค. 25, 2007 8:33 am
0
0
ถ้าไม่สนใจปัจจัยการเมือง SATTEL น่าสนหรือเปล่าครับเนี่ย
ขอร่วมแสดงความเห็นด้วยนะครับ ผมว่าถ้าดูที่งบการเงิน โดยเฉพาะ Cash flow แล้ว ถ้าผมจำไม่ผิดรู้สึกติดลบเกือบทุกปี แต่ถ้าดูในเรื่องเทคโนโลยี ต้องขอข้อมูลจากคนในวงการดีกว่า เพราะ เทคโนโลยี ipstar อาจจะสามารถเปลี่ยนวงจรรายได้ของ Sattel ไปเลยก็ได้
โดย
toon
พุธ ม.ค. 24, 2007 5:29 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ม.ค. 15, 2007 5:25 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ม.ค. 15, 2007 5:22 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ม.ค. 15, 2007 5:17 pm
0
0
บริษัทญี่ปุ่นส่วนมากจะกู้เงินจากใคร
ถ้าเป็นก่อนมาตราการใหม่ บริษัทญี่ปุ่น บางครั้งอาจจะกู้จากธนาคารญี่ปุ่นในประเทศญี่ปุ่นเลย เพราะดอกเบี้ยถูกกว่าเยอะมาก แล้วก็มาหาวิธีป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่หลัง แต่หลังจากที่มีมาตราการออกมา การเปลี่ยนแปลงยังไม่ค่อยชัดเจนเท่าไร
โดย
toon
ศุกร์ ม.ค. 12, 2007 12:42 pm
0
0
19/12 ทำให้ Bank ดีหรือเปล่า?
คิดเหมือนผมเลย แต่ผมว่าน่าจะเป็นเพราะนโยบายที่ออกมา น่าจะทำให้การกู้เงินจากต่างประเทศได้ยากขึ้น จึงต้องหันมากู้ภายในมากขึ้น
โดย
toon
พฤหัสฯ. ธ.ค. 21, 2006 8:28 am
0
0
แจก work sheet excel สำหรับ คำนวณเครดิตภาษีปันผล
[email protected]
ขอบคุณนะครับ
โดย
toon
อาทิตย์ ธ.ค. 03, 2006 12:46 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ย. 22, 2006 5:50 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ย. 22, 2006 5:47 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ย. 22, 2006 5:37 pm
0
0
UEC มาแล้ว
ที่ 16 / 2549 13 พฤศจิกายน 2549 เรื่อง จ่ายปันผลระหว่างกาลและแต่งตั้งกรรมการ เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ยูนิมิต เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 5/2549 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 ได้มีมติดังนี้ 1. อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลประจำปี 2549 ในอัตราหุ้นละ 0.50 บาท กำหนดจ่ายในวันที่ 8 ธันวาคม 2549 2. กำหนดวันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นเพื่อสิทธิในการรับเงินปันผล ตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน 2549 เวลา 12.00 น. 3. แต่งตั้ง นาย ยัง ไท่ หลู ( Mr. Young Tai Lu ) เป็นกรรมการแทนตำแหน่ง กรรมการที่ว่างลง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2549 จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
โดย
toon
จันทร์ พ.ย. 13, 2006 9:08 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ พ.ย. 13, 2006 8:52 am
0
0
ได้เงินบำรุงเวบ 23,000 บาทครับ
ขอบคุณนะครับ
โดย
toon
เสาร์ พ.ย. 11, 2006 2:46 pm
0
0
นักลงทุนที่เฉลียวฉลาด
ได้รับหนังสือเมื่อวาน ขอบคุณพี่ WEB กับ พี่มน มากๆนะครับ ผมได้รับพัสดุมา ตกใจมาก เพราะใส่กล่องอย่างดี แถมมีพลาสติกห่อข้างในอีก ผมเห็นแล้วรู้สึกขอบคุณมากครับ ดีกว่าไปซื้อที่ร้านเองซะอีก
โดย
toon
เสาร์ พ.ย. 11, 2006 2:41 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ย. 01, 2006 8:11 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
เสาร์ ต.ค. 28, 2006 11:10 am
0
0
Investing in Cylical Stocks
On The Cover/Top Stories Can You Spell Commodity? Bernard Condon 10.30.06 While the Dow Jones booms, commodities like oil and gas swoon. Jim Rogers, the man who called the raw materials rise years ago, is upping his bets. Economist Stephen Roach thinks that's nuts. In three months crude oil has fallen 20% to $60 a barrel. A price drop in natural gas severely wounded hedge fund Amaranth Advisors. Gold and sugar are in bear markets. In August the Goldman Sachs (nyse: GS - news - people ) Commodities Index fell, breaking four years of month-on-month increases. To Jim Rogers, the man who called the commodity boom seven years ago, those are mere blips. This is a great time to invest in commodities, and he's backed this up by investing more of his own money. Supply of things like base metals, oil and rubber is crimped after years of underinvestment in mines and oilfields and farms, he says, so prices are heading up. And they will go up, with some transitory hiccups, well into the next decade and perhaps even the one following. Copper, zinc and oil have all at least doubled in the past three years. You'll see more doublings in many more commodities. That's the Rogers view. And then there's economist Stephen Roach, the Morgan Stanley (nyse: MS - news - people ) bear every bull loves to gore. He thinks Rogers is dead wrong. Roach says commodity prices could fall another third from here, putting an end to silly notions of a so-called supercycle of commodity increases. The culprits: slowing growth in China, a voracious buyer of commodities, and a U.S. housing recession that, he says, will slash demand for building materials like copper and weigh down the global economy. If you've been distracted by whether the Dow Jones stock index will stay in record-setting territory, there's a less-noticed but raging debate about the future of commodities. This, by the way, is a debate that can get personal. Rogers says Roach "couldn't even spell 'commodities' two years ago." Roach wearily responds that, yes, he used to write "commodities" with one "m" before Rogers kindly set him straight. The sparring recalls a famous exchange a quarter-century ago, during another price runup, when the ever-optimistic economist Julian Simon bet doom-and-gloom environmentalist Paul Ehrlich $10,000 that metals would fall over the next decade, ending 1990. Simon won. He wasn't a pessimist in the manner of Roach. His theory was that technology would eventually find a solution to any raw material shortage. We ran out of whale oil but found petroleum. Copper is expensive, but optical fiber is replacing a lot of it. If the issue of resource scarcity is similar, the wagers today are a bit bigger. Hedge funds have put $70 billion into energy, double the level of two years ago, says the Energy Hedge Fund Center. Investment banks have beefed up their trading desks with commodities experts. Merrill Lynch (nyse: MER - news - people ) paid $800 million for an energy trading unit after unloading a similar business a few years earlier. Bond investors are watching closely, too. Increased commodity prices usually mean inflation is right around the corner. The peripatetic Rogers, 63, who once set a Guinness World Record by riding his motorcycle around the world, brings a lot of credibility to the bull case. A founder with George Soros of the legendary Quantum Fund, he started a commodities index in 1998 when investors were caught up in the dot-com frenzy. The Rogers International Commodities Index has since returned 16.9% annually versus 13.9% and 11.8% for rivals from Goldman Sachs and Dow Jones-AIG, respectively. This year the gap has widened. Rogers' is up 7% through August. Goldman's is down 0.4%, and Dow Jones-AIG's up 3%. Rogers, author of Hot Commodities, says his optimism comes right out of the history books. The shortest commodity boom, which began in 1966, was 15 years, he says. The longest: 23 years. The current one: 7 years (forget the slump we're in now). The long trend reflects this fact: Lots of commodities can't be produced quickly. By the time miners or drillers or farmers realize that demand has outstripped supply, it's too late. New sources need to be found underground and regulators need to sign off before a shovel can even hit the ground. Food inventories are the lowest since 1972, he notes. Acreage devoted to wheat, for instance, has been falling for three decades. Cotton could also take off, he says, as clothesmakers switch to natural fabrics to avoid the rising cost of oil used in synthetics. Rogers says "soft" commodities like grains, oilseeds and fabrics, which have generally not shared in the boom, are likely to outperform. Rogers is relatively bearish on zinc and copper, however; they could drop like an anvil after having more than doubled in a year. Then there's China. Sure, the country's economic growth could slow, but over the long term Rogers is an unabashed bull. So much so that he's taught his 3-year-old daughter Mandarin and, in preparation for moving to a "Chinese-speaking" city with her, has put his Manhattan manse up for sale for $15 million. Roach's response: China will be slowing, and that's a big problem. The country is responsible for half the growth in purchases of aluminum, copper and steel and more than 85% of the growth in tin and nickel. Roach says bank reserve requirements and rises in interest rates, combined with Beijing's recent "administrative edicts" to rein in investments, will throw cold water on the "China mania" gripping investors who blithely assume 11% growth every year. It could also kill off a few of the mania's side effects--like Mandarin lessons for kids and uprooting families to Asia--what Roach calls "Rogers' whole schtick." Roach says crude oil prices are more likely to head down than up; Rogers says they will approach $100 a barrel before the commodity boom ends. Roach says cheap Chinese imports create "headwinds" against inflation and that rising U.S. bond prices wisely reflect that. Rogers says inflation, far from retreating, is rampant, and he is shorting U.S. Treasury bonds. Roach says the influx of money into commodities means trading "technicals" with no relation to fundamentals can cause investors to "overshoot." Rogers notes that there are fewer than 50 mutual funds worldwide dedicated to commodities versus 70,000 for stocks and bonds, though he too fears man's tendency to overshoot. It's Roach's timing that's off, he says. "Call me in 2019," says Rogers, which he considers a more likely peak-price year than today. "I will say, 'Sell commodities.' And you will laugh and giggle and say, 'Commodities always go up. You are an old fool.'" Roach might be thinking something along those lines right now. He apparently sees opportunity in the coming real estate crash. He jokes that he put in a bid of $1.5 million for Rogers' house (eight bedrooms, five baths). Roach says, "He hasn't gotten back to me yet." [/code]
โดย
toon
เสาร์ ต.ค. 28, 2006 11:06 am
0
0
มีหุ้นตัวไหนที่น่าเติบโตได้สองหลัก ?
ถ้าดูแต่ยอดขายอย่างเดียวนะ ขอส่ง TCB เข้าประกวด
โดย
toon
เสาร์ ต.ค. 21, 2006 4:46 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
ศุกร์ ก.ค. 21, 2006 1:13 pm
0
0
6 เดือนแรกของปี ชาว VI เป็นไงมั่ง >> เกือบลืม
โดยรวม ยังบวกอยู่เมื่อเทียบกับต้นปี แต่หายไปเยอะเหมือนกันนะ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 10, 2006 6:20 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 10, 2006 6:17 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
จันทร์ ก.ค. 10, 2006 10:19 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พฤหัสฯ. มิ.ย. 08, 2006 8:32 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ค. 24, 2006 8:19 am
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ค. 17, 2006 5:42 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พุธ พ.ค. 17, 2006 5:39 pm
0
0
ไม่มีหัวข้อ
โดย
toon
พฤหัสฯ. เม.ย. 27, 2006 1:02 pm
0
0
138 โพสต์
of 3
ต่อไป
ชื่อล็อกอิน:
toon
ระดับ:
Verified User
กลุ่ม:
สมาชิก
ที่อยู่:
สุดเขตตะวันตก
ติดต่อสมาชิก
PM:
ส่งข้อความส่วนตัว
สถิติสมาชิก
ลงทะเบียนเมื่อ:
พฤหัสฯ. มี.ค. 18, 2004 11:50 pm
ใช้งานล่าสุด:
อาทิตย์ มิ.ย. 20, 2021 10:18 pm
โพสต์ทั้งหมด:
213 |
ค้นหาเจ้าของโพสต์
(0.01% จากโพสทั้งหมด / 0.03 ข้อความต่อวัน)
GO_TO_SEARCH_ADV
ไปที่
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้น
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้นต่างประเทศ
↳ ไอเดียหุ้นเด้ง
↳ หลักสูตรการลงทุนออนไลน์
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์ [กระทู้รับชมออนไลน์]
↳ ศาสตร์ของหุ้นเติบโต โดยอ.เบส ลงทุนศาสตร์
↳ ThaiVI GO Series
↳ คลังกระทู้คุณค่า
↳ Value Investing
↳ บทความ
↳ ความรู้งบการเงิน
↳ ร้อยคนร้อยเล่ม / Multimedia Forum
↳ mai Corner
↳ Alternative Investing
เรื่องทั่วไป
↳ นั่งเล่น / กีฬา / สุขภาพ
↳ Asking Staff
↳ CSR
×
บันทึกไม่สำเร็จ
กรุณาลองใหม่อีกครั้ง
×
บันทึกสำเร็จแล้ว